โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และวงจรเชิงผสม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และวงจรเชิงผสม

ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์ vs. วงจรเชิงผสม

ั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์ (Quine-McCluskey algorithm) เป็นหนึ่งในขั้นตอนวิธีที่ใช้สำหรับการลดรูปนิพจน์ตรรกศาสตร์ให้อยู่ในรูปอย่างง่ายที่มีประสิทธิภาพสูง พัฒนาโดย ดับเบิลยู.วี. ควิน (W.V.Quine) และเอ็ดเวิด เจ. แมกคลัสกีย์ (Edward J. McCluskey) ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์เป็นขั้นตอนวิธีที่ช่วยในการลดรูปนิพจน์ตรรกะได้เมื่อข้อมูลขาเข้าที่มีปริมาณตัวแปรจำนวนมาก แต่ในการทำงานยังมีข้อจำกัดในเรื่องของเวลาอยู่ จึงควรดูขนาดของข้อมูลขาเข้า ว่ามีขนาดเท่าไหร่ และสมควรที่จะใช้วิธีการนี้หรือไม่ หากไม่สมควรควรจะเลือกใช้วิธีการอื่นที่สามารถลดนิพจน์ตรรกะได้ เช่น วิธีการเอกเพรซโซ่ ซึ่งเป็นวิธีการที่จะใช้ผ่านโปรแกรม. วงจรเชิงผสม วงจรเชิงผสม(Combinational Curcuit) หรือวงจรไร้ความจำ เกิดจากการต่อลอจิกเกตเข้าด้วยกันโดยไม่มีการต่อกลับ (feed back) ของสาย ทำให้สำหรับทุกๆอินพุตชุดใดชุดหนึ่ง จะมีเอาต์พุตเพียงชุดเดียวเท่านั้น ในระบบวงจรดิจิตอลนั้นโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว วงจรเชิงผสมมักใช้ทำ หน่วยคำนวณและตรรกะ เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ ฯลฯ หรือใช้ในการออกแบบเป็นส่วนหนึ่งของวงจรเชิงลำดับ หรือ ส่วนข้อมูล(Data Path) ตัวอย่างวงจรเชิงผสม จะเห็นว่าไม่มีการต่อกลับของ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และวงจรเชิงผสม

ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และวงจรเชิงผสม มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พีชคณิตแบบบูลตารางค่าความจริง

พีชคณิตแบบบูล

ในคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ พีชคณิตแบบบูล, พีชคณิตบูลีน หรือ แลตทิซแบบบูล (Boolean algebra) คือโครงสร้างเชิงพีชคณิตซึ่งเป็นการรวบรวมแก่นความหมายของการดำเนินการทางตรรกศาสตร์และทฤษฎีเซต โดยชื่อพีชคณิตแบบบูลนั้นตั้งตามจอร์จ บูล ผู้พัฒนาพีชคณิตแบบนี้.

ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และพีชคณิตแบบบูล · พีชคณิตแบบบูลและวงจรเชิงผสม · ดูเพิ่มเติม »

ตารางค่าความจริง

ตารางค่าความจริง (truth table) เป็นตารางที่ใช้แสดงสถานะตรรกทางเอาต์พุตที่เกิดขึ้นจากวิธีการจัดหมู่ของสถานะตรรกที่ได้จากตัวแปรทางอินพุต โดยทั่วไปมักจะพบว่าวงจรตรรกส่วนใหญ่มีจำนวนอินพุตมากกว่า 1 อินพุต และทางอินพุต จะมีเพียง เอาต์พุตเดียวเท่านั้น ตัวอย่างของตารางค่าความจริงจะเห็นได้จากคุณสมบัติของ AND NOT ซึ่งถ้าเราให้ฟังก์ชันเป็น F ค่าของตัวแปร A และ B จะมีสถานะ ดังตารางค่าความจริงด้านล่างนี้.

ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และตารางค่าความจริง · ตารางค่าความจริงและวงจรเชิงผสม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และวงจรเชิงผสม

ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์ มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ วงจรเชิงผสม มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 12.50% = 2 / (7 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ขั้นตอนวิธีของควิน-แม็กคลัสกีย์และวงจรเชิงผสม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »