โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การแผ่รังสีซิงโครตรอนและดาราจักรวิทยุ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การแผ่รังสีซิงโครตรอนและดาราจักรวิทยุ

การแผ่รังสีซิงโครตรอน vs. ดาราจักรวิทยุ

ลำพลังงานจากดาราจักร M87 (ภาพจากกล้องฮับเบิล) แสงสีน้ำเงินของลำพลังงานแผ่ออกมาจากแกนกลางดาราจักรกัมมันต์พุ่งไปทางด้านล่างขวา เป็นผลจากการแผ่รังสีซิงโครตรอน การแผ่รังสีซิงโครตรอน (synchrotron radiation) คือการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่คล้ายคลึงกับการแผ่รังสีไซโคลตรอน แต่มีกำเนิดมาจากอนุภาคประจุที่เร่งขึ้นอย่างยิ่งยวด (เช่นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง) ผ่านสนามแม่เหล็ก สามารถสร้างขึ้นได้ในอุโมงค์ซิงโครตรอน ส่วนในธรรมชาติจะพบได้จากอิเล็กตรอนความเร็วสูงเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กในอวกาศ รังสีที่เกิดขึ้นอาจแผ่ครอบคลุมสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าหลายย่าน ตั้งแต่ช่วงคลื่นวิทยุไปจนถึงแสงอินฟราเรด แสงที่ตามองเห็น อัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา สามารถแบ่งประเภทได้ตามลักษณะการเกิดโพลาไรเซชั่นและสเปกตรัม. ราจักรวิทยุ (Radio galaxy) รวมถึงสิ่งอื่นที่สัมพันธ์กัน เช่น เควซาร์วิทยุ และ เบลซาร์ เป็นดาราจักรกัมมันต์ประเภทหนึ่งที่ส่องสว่างมากในช่วงความยาวคลื่นของคลื่นวิทยุ (สูงถึง 1039 W ระหว่าง 10 MHz and 100 GHz) การแผ่รังสีคลื่นวิทยุเกิดจากกระบวนการซิงโครตรอน โครงสร้างของรังสีคลื่นวิทยุที่สังเกตได้มีลักษณะเป็นปฏิกิริยาระหว่างลำแสงคู่แฝดกับตัวกลางภายนอก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากผลของลำอนุภาคที่เกี่ยวข้อง ดาราจักรวิทยุต้นกำเนิดส่วนมากจะเป็นดาราจักรชนิดรีขนาดใหญ่ สิ่งที่น่าสนใจสำหรับดาราจักรกัมมันต์ต้นกำเนิดคลื่นวิทยุมิใช่เพียงลักษณะของตัวมันเอง แต่เพราะมันถูกตรวจพบอยู่ในระยะที่ไกลมากๆ แสดงว่ามันมีอายุอยู่ในช่วงแรกเริ่มของการกำเนิดเอกภพ จึงเป็นเครื่องมือที่มีคุณค่าอย่างสูงต่อการศึกษาจักรวาลวิท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การแผ่รังสีซิงโครตรอนและดาราจักรวิทยุ

การแผ่รังสีซิงโครตรอนและดาราจักรวิทยุ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คลื่นวิทยุ

คลื่นวิทยุ

ลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้นสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ใช้ในการสื่อสารมี 2 ระบบคือ A.M. และ F.M. ความถี่ของคลื่น หมายถึง จำนวนรอบของการเปลี่ยนแปลงของคลื่น ในเวลา 1 วินาที คลื่นเสียงมีความถี่ช่วงที่หูของคนรับฟังได้ คือ ตั้งแต่เริ่มมีเพศสัมพัน คลื่นวิทยุแต่ละช่วงความถี่จะถูกกำหนดให้ใช้งานด้านต่างๆ ตามความเหมาะสม ส่วนประกอบของคลื่น 1.

การแผ่รังสีซิงโครตรอนและคลื่นวิทยุ · คลื่นวิทยุและดาราจักรวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การแผ่รังสีซิงโครตรอนและดาราจักรวิทยุ

การแผ่รังสีซิงโครตรอน มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ ดาราจักรวิทยุ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.17% = 1 / (13 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การแผ่รังสีซิงโครตรอนและดาราจักรวิทยุ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »