โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนสนามไชย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนสนามไชย

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช vs. ถนนสนามไชย

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม.. นนสนามไชย ถนนสนามไชย (Thanon Sanam Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น กระทรวงกลาโหม, กรมอัยการสูงสุด, พระบรมมหาราชวัง, พระราชวังสราญรมย์, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ถนนสนามไชย มีจุดเริ่มต้นที่ถนนหน้าพระลานตัดกับถนนราชดำเนินใน ที่บริเวณแยกป้อมเผด็จ สิ้นสุดลงที่ถนนราชินี บริเวณปากคลองตลาด มีความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร เดิมเป็นถนนที่มีชื่อเรียกว่า "ถนนหน้าจักรวรรดิวังหลวง" เป็นลักษณะเป็นลานกว้าง ๆ มีความสำคัญตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์เนื่องด้วยเป็นเส้นทางที่ใช้สำหรับพระราชพิธีหรือกระบวนแห่ต่าง ๆ โดยชื่อ "สนามไชย" มาจากท้องสนามไชย ซึ่งเป็นลานอยู่ข้างท้องสนามหลวง เป็นสถานที่ ๆ ให้ข้าราชบริพารตลอดจนประชาชนใช้สำหรับเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในแต่ละรัชกาล ครั้นทรงเสด็จออก ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เนื่องในวโรกาสสำคัญต่าง ๆ โดยชื่อถนนสนามไชย เป็นชื่อพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนสนามไชย

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนสนามไชย มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบรมมหาราชวังพระมหากษัตริย์ไทยกรุงเทพมหานครวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ถนนหน้าพระลานท้องสนามหลวง

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระบรมมหาราชวัง · ถนนสนามไชยและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระมหากษัตริย์ไทย · ถนนสนามไชยและพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · กรุงเทพมหานครและถนนสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ถนนสนามไชยและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)และถนนสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหน้าพระลาน

ถนนหน้าพระลาน(ช่วงที่ผ่านมหาวิทยาลัยศิลปากร) ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระลาน (Thanon Na Phra Lan) เป็นถนนในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งต้นจากปลายถนนราชดำเนินในต่อถนนสนามไชยที่มุมป้อมเผด็จดัสกร ไปตามกำแพงพระบรมมหาราชวัง ตัดกับถนนมหาราช ไปสุดที่ท่าช้างวังหลวง ถนนหน้าพระลานเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยขยายจากถนนเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่เป็นถนนนูนดินสูง เหตุที่ชื่อถนนหน้าพระลานเพราะเป็นถนนที่อยู่หน้าพระลานพระบรมมหาราชวัง ỒỒ หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนหน้าพระลาน · ถนนสนามไชยและถนนหน้าพระลาน · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและท้องสนามหลวง · ถนนสนามไชยและท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนสนามไชย

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มี 128 ความสัมพันธ์ขณะที่ ถนนสนามไชย มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 4.67% = 7 / (128 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและถนนสนามไชย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »