โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิด vs. พฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิด (Cognitive emotional behavioral therapy ตัวย่อ CEBT) เป็นการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) แบบยาวมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยบุคคลให้ประเมินเหตุของความทุกข์ทางอารมณ์ของตน และดังนั้นช่วยลดการรับมือปัญหาแบบใช้ไม่ได้ (dysfunctional coping) รวมทั้งพฤติกรรมการรับประทานแบบกินดะ กินแล้วอาเจียน การจำกัดอาหาร และการใช้สารเสพติด การแทรกแซงโดยจิตบำบัดวิธีนี้สืบมาจากแบบจำลองและเทคนิคต่าง ๆ มากมายรวมทั้งพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี (DBT) การเจริญสติ (mindfulness meditation) และการบำบัดด้วยการยอมรับและการให้สัญญา (ACT) และการฝึกประสบการณ์แบบต่าง ๆ CEBT ใช้โดยหลักกับบุคคลที่ผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder) โดยให้เป็นการบำบัดทางเลือกเมื่อ CBT ธรรมดาไม่ประสบผลในการทุเลาอาการ ผลงานวิจัยแสดงว่า CEBT อาจช่วยลดการรับประทานตามอารมณ์ ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และช่วยเพิ่มความนับถือตน/ความภูมิใจในตน (self-esteem) เป็นวิธีการที่นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ ดร. ติกรรมบำบัดวิภาษวิธี (Dialectical behavior therapy ตัวย่อ DBT) เป็นจิตบำบัดที่ออกแบบเพื่อช่วยให้เปลี่ยนรูปแบบพฤติกรรมที่ไร้ประโยชน์ เช่น การทำร้ายตัวเอง การคิดถึงการฆ่าตัวตาย และการติดสารเสพติด วิธีนี้ช่วยให้ควบคุมอารมณ์และความคิดของตนได้มากขึ้นโดยเรียนรู้เกี่ยวกับชนวนที่จุดปฏิกิริยา และช่วยประเมินว่า จะใช้ทักษะเช่นไรในการรับมือกับลำดับเหตุการณ์ ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ DBT สมมุติว่าทุกคนพยายามทำดีที่สุด แต่ว่าไม่ขาดทักษะก็ได้การเสริมแรง (reinforcement) ไม่ทางลบก็ทางบวก ที่รบกวนการดำเนินชีวิตที่ดี DBT เป็นรูปแบบดัดแปลงของการบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) ที่นักจิตวิท.ดร.มาชา ไลน์แฮน ที่มหาวิทยาลัยวอชิงตันได้พัฒนาขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่อรักษาความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (BPD) และความคิดฆ่าตัวตายเรื้อรัง แม้ว่าผลงานวิจัยที่แสดงประสิทธิผลในการรักษาโรคอื่น ๆ จะจำกัดมาก แต่ DBT ปัจจุบันใช้รักษาโรคจิตต่าง ๆ รวมทั้งการบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (TBI) ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder) และความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) (The California Psychologist, 34) มีผลงานวิจัยเล็กน้อยที่แสดงว่า DBT อาจมีผลต่อคนไข้ที่มีอาการและพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับความผิดปกติทางอารมณ์เป็นสเปกตรัม (spectrum mood disorders) รวมทั้งการทำร้ายตัวเอง ส่วนงานศึกษาปี 2551 แสดงว่ามีประสิทธิผลต่อเหยื่อทารุณกรรมทางเพศ (sexual abuse) และงานปี 2542 พบผลต่อการติดสารเสพติด DBT รวมเทคนิคของ CBT ในการควบคุมอารมณ์และการตรวจสอบความจริง บวกกับการอดทนต่อความทุกข์ การยอมรับ การสำนึกรู้อย่างมีสติ โดยสืบมาจากการเจริญสติในพุทธศาสนา DBT เป็นการบำบัดแรกที่มีหลักฐานการทดลองที่แสดงว่ามีผลในการบำบัด BPD การทดลองทางคลินิกแบบสุ่มแรกของ DBT พบผลคือ ทีท่าจะฆ่าตัวตาย (suicidal gesture) การเข้าโรงพยาบาลเหตุจิตเวช และการเลิกการรักษาเอง (drop-out) ในอัตราที่ลดลง งานวิเคราะห์อภิมานงานหนึ่งพบว่า DBT มีผลปานกลาง (moderate) ในคนไข้ BPD.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พฤติกรรมการบําบัดทางความคิดและพฤติกรรมการรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญารูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบอารมณ์

พฤติกรรม

ติกรรม หมายความถึง การแสดงและกิริยาท่าทางซึ่งสิ่งมีชีวิต ระบบหรืออัตลักษณ์ประดิษฐ์ ที่เกิดร่วมกันกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมระบบอื่นหรือสิ่งมีชีวิตโดยรวมเช่นเดียวกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ พฤติกรรมเป็นการตอบสนองของระบบหรือสิ่งมีชีวิตต่อสิ่งเร้าหรือการรับเข้าทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอก มีสติหรือไม่มีสติระลึก ชัดเจนหรือแอบแฝง และโดยตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใ.

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรม · พฤติกรรมและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี · ดูเพิ่มเติม »

การบําบัดทางความคิดและพฤติกรรม

การบําบัดทางความคิดและพฤติกรรม (Cognitive behavioral therapy ตัวย่อ CBT) เป็นรูปแบบหนึ่งของจิตบำบัด (psychotherapy) ซึ่งดั้งเดิมออกแบบเพื่อรักษาโรคซึมเศร้า แต่ปัจจุบันใช้รักษาความผิดปกติทางจิตอย่างอื่น ๆ ด้วย ซึ่งมีประสิทธิผลโดยแก้ปัญหาปัจจุบันและเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมที่ไร้ประโยชน์ ชื่อของวิธีบำบัดอ้างอิงถึงการบำบัดชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการบำบัดพฤติกรรม (behavior therapy) การบำบัดความคิด (cognitive therapy) และการบำบัดที่รวมหลักต่าง ๆ ในการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและจิตวิทยาประชาน ผู้บำบัดคนไข้ที่มีปัญหาเรื่องโรควิตกกังวลและโรคซึมเศร้า จะใช้วิธีที่รวมการบัดบัดทั้งทางพฤติกรรมและทางความคิด เป็นเทคนิคที่ยอมรับความจริงว่า อาจมีพฤติกรรมที่ไม่สามารถควบคุมได้โดยความคิดที่สมเหตุผล เพราะเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการปรับสภาวะ (conditioning) ในอดีตต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งเร้าทั้งภายในภายนอก เป็นเทคนิคที่เพ่งความสนใจไปที่ปัญหาโดยเฉพาะ ๆ และช่วยคนไข้ให้เลือกกลยุทธ์ในการรับมือปัญหาเหล่านั้น ซึ่งต่างจากวิธีการรักษาแบบจิตวิเคราะห์ ที่ผู้รักษาจะสืบหาความหมายใต้สำนึกของพฤติกรรมของคนไข้เพื่อจะวินิจฉัยปัญหา คือ ในการบำบัดแบบพฤติกรรม ผู้รักษาเชื่อว่า ความผิดปกติที่มี เช่นความซึมเศร้า เกิดเนื่องมาจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่กลัวกับการตอบสนองแบบหลีกเลี่ยง ซึ่งมีผลเป็นความกลัวที่มีเงื่อนไข เหมือนดังในการปรับสภาวะแบบดั้งเดิม (Classical Conditioning) และในการบำบัดความคิด ผู้รักษาเชื่อว่า ตัวความคิดเอง จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล ดังนั้น การบำบัดสองอย่างหลังนี้จึงรวมกันเป็น CBT CBT มีประสิทธิผลต่อความผิดปกติหลายอย่างรวมทั้งความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) โรควิตกกังวล ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ ความผิดปกติของการรับประทาน (Eating disorder) การติดสิ่งต่าง ๆ (addiction) การใช้สารเสพติด (substance dependence) ความผิดปกติที่มีอาการกล้ามเนื้อกระตุก (Tic disorder) และ psychotic disorder (รวมทั้งโรคจิตเภทและโรคหลงผิด) โปรแกรมการบำบัดแบบ CBT ได้รับประเมินสัมพันธ์กับการวินิจฉัยอาการ และปรากฏว่า มีผลดีกว่าวิธีการอื่น ๆ เช่น การบำบัดแบบ psychodynamic แต่ว่าก็มีนักวิจัยที่ตั้งความสงสัยในความสมเหตุสมผลของข้ออ้างว่ามีผลดีกว่าวิธีการอื่น ๆ การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมมีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ยุคที่เน้นการปรับพฤติกรรมเป็นหลัก ผู้ที่ถือเป็นบิดาแห่งการบำบัดในรูปแบบที่เข้าใจและนิยมใช้ที่สุดในปัจจุบันคือ.

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและการบําบัดทางความคิดและพฤติกรรม · การบําบัดทางความคิดและพฤติกรรมและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี · ดูเพิ่มเติม »

การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา

การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา (Acceptance and commitment therapy ตัวย่อ ACT) เป็นรูปแบบจิตบำบัดแบบหนึ่งของ การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavior therapy) หรือ clinical behavior analysis (CBA) เป็นการแทรกแซงทางจิตวิทยาที่มีหลักฐานเชิงประสบการณ์ ด้วยวิธีให้ยอมรับ (acceptance) และมีสติ โดยผสมกันต่างจากวิธีอื่น ๆ บวกกับการให้คำมั่นสัญญาและกลยุทธ์การเปลี่ยนพฤติกรรมอื่น ๆ เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นทางใจได้ วิธีนี้ในเบื้องต้นเคยเรียกว่า "comprehensive distancing" เริ่มในปี 1982 (โดย ศ. ดร. สตีเวน ซี. เฮย์ส) ตรวจสอบในปี 1985 (โดย Robert Zettle) แล้วจึงพัฒนาเป็นรูปแบบปัจจุบันในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 มีโพรโทคอลหลายอย่างสำหรับ ACT ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมหรือสถานการณ์ที่ต้องการเปลี่ยน ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องสุขภาพทางพฤติกรรม จะมีรูปแบบสั้น ๆ ที่เรียกว่า focused acceptance and commitment therapy (FACT) จุดมุ่งหมายของ ACT ไม่ใช่เพื่อกำจัดความรู้สึกที่ไม่ดี แต่ว่า ให้อยู่ได้กับสิ่งที่ตนประสบ และ "ดำเนินไปในพฤติกรรมที่มีค่า" ACT ให้คนเปิดใจต่อความรู้สึกที่ไม่ดี แล้วศึกษาเพื่อที่จะไม่มีปฏิกิริยาต่อพวกมันเกินควร และไม่หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่พวกมันเกิดขึ้น ผลการรักษาเป็นแบบเวียนก้นหอยเชิงบวก ที่ความรู้สึกที่ดีขึ้นนำไปสู่การเข้าใจความจริงที่ดีขึ้น.

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและการรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา · การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญาและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · พฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธีและรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · ดูเพิ่มเติม »

อารมณ์

ตัวอย่างอารมณ์พื้นฐาน ในทางจิตวิทยา ปรัชญา และสาขาย่อยอื่น ๆ อารมณ์ หมายถึงประสบการณ์ในความรู้สำนึกและอัตวิสัยที่ถูกกำหนดลักษณะเฉพาะโดยการแสดงออกทางจิตสรีรวิทยา ปฏิกิริยาทางชีววิทยา และสภาพจิตใจ อารมณ์มักจะเกี่ยวข้องและถูกจัดว่ามีอิทธิพลซึ่งกันและกันกับพื้นอารมณ์ พื้นอารมณ์แต่กำเนิด บุคลิกภาพ นิสัย และแรงจูงใจ เช่นเดียวกับที่ได้รับอิทธิพลจากฮอร์โมนและสารสื่อประสาท อาทิ โดพามีน นอราดรีนาลีน เซโรโทนิน ออกซิโทซิน และคอร์ซิทอล อารมณ์มักเป็นพลังขับดันเบื้องหลังพฤติกรรมไม่ว่าเชิงบวกหรือเชิงลบ Gaulin, Steven J. C. and Donald H. McBurney.

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและอารมณ์ · พฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธีและอารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี

การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิด มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ พฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 12.20% = 5 / (10 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การบำบัดพฤติกรรม อารมณ์ และความคิดและพฤติกรรมบำบัดวิภาษวิธี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »