โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กษัตริยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

กษัตริยา vs. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

กษัตริยา เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์นำแสดงในบทพระวิสุทธิกษัตรีย์ มีความยาวในการออกอากาศถึง 260 ตอน โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค "กษัตริยา" เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระสุพรรณกัลยา และภาค "อธิราชา" หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเป็นละครที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ จากโครงเรื่องของทมยันตี ผลิตโดย กันตนา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยเป็นละครโทรทัศน์เรื่องแรกที่ใช้โรงถ่าย กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ด้วยงบประมาณการสร้างละครถึง 300 ล้านบาท เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้นำละครเรื่องนี้มาออกอากาศซ้ำ ทางสถานีโทรทัศน์เคเบิลและดาวเทียม มิราเคิล ของกันตน. มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

กษัตริยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2546พระมณีรัตนาพระวิสุทธิกษัตรีย์พระสุพรรณกัลยาพระสุริโยทัยพระเจ้าบุเรงนองสมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระเอกาทศรถสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกอาณาจักรอยุธยาจังหวัดเชียงใหม่

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

กษัตริยาและพ.ศ. 2546 · พ.ศ. 2546และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระมณีรัตนา

ระมณีรัตนา เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งอาณาจักรอยุธยา เริ่มรับราชการฝ่ายในตั้งแต่พระราชสวามีปราบดาภิเษก และให้ประสูติกาลพระราชบุตรอย่างน้อยหนึ่งพระอง.

กษัตริยาและพระมณีรัตนา · พระมณีรัตนาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิกษัตรีย์

ระวิสุทธิกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระบรมเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระสวัสดิราชธิดา เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติแต่พระสุริโยทัย ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และเป็นพระราชชนนีในพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศร.

กษัตริยาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ · พระวิสุทธิกษัตรีย์และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

กษัตริยาและพระสุพรรณกัลยา · พระสุพรรณกัลยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091 พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัยเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าวรายละเอียดใดมากกว่านี้ ไทยยกย่องว่าเป็นวีรสตรีจากวีรกรรมยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปรในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

กษัตริยาและพระสุริโยทัย · พระสุริโยทัยและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

กษัตริยาและพระเจ้าบุเรงนอง · พระเจ้าบุเรงนองและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

กษัตริยาและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหินทราธิราช

มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.

กษัตริยาและสมเด็จพระมหินทราธิราช · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

กษัตริยาและสมเด็จพระเอกาทศรถ · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

กษัตริยาและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

กษัตริยาและอาณาจักรอยุธยา · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

กษัตริยาและจังหวัดเชียงใหม่ · จังหวัดเชียงใหม่และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

กษัตริยา มี 84 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มี 90 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 7.47% = 13 / (84 + 90)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »