โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กล็อบสเตอร์และแคดโบโรซอรัส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กล็อบสเตอร์และแคดโบโรซอรัส

กล็อบสเตอร์ vs. แคดโบโรซอรัส

ซากซึ่งถูกซัดเกยฝั่งใกล้เมืองเซนต์ออกุสติน ฟลอริด้า ในปี ค.ศ. 1896 กล็อบสเตอร์ (Globster) หรือ บล็อบ (Blos) เป็นซากอินทรีย์วัตถุซึ่งถูกซัดขึ้นมาตามชายฝั่งของมหาสมุทรหรือแหล่งน้ำอื่น ลักษณะของกล็อบสเตอร์ก็คือต้องเป็นซากที่ยากจะระบุประเภทได้ว่าเป็นของสัตว์ชนิดใด คำนี้ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดยอีวาน ที. ภาพถ่ายของแคดโบโรซอรัส เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1937 แคดโบโรซอรัส หรือ แคดโบโรซอรัส วิลซี่ (Cadborosaurus, Cadborosaurus willsi; キャディ) เป็นชื่อเรียกของสิ่งที่เชื่อว่าเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่คล้ายงูทะเลที่อาศัยอยู่ในทะเลแถบแวนคูเวอร์และคาบสมุทรโอลิมปิกในแคนาดา และมีรายงานพบที่บริเวณใกล้เคียงกับออริกอนและอะแลสกา โดยมีรายงานแรกเกี่ยวกับแคดโบโรซอรัส เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1734 ระหว่างเดินทางไปเกาะกรีนแลนด์ของมิชชันนารีชาวนอร์เวย์ ฮานส์ เอดจ์ บันทึกว่า เขาได้พบเห็นงูทะเลที่น่ากลัวขนาดใหญ่ ชูคอขึ้นเหนือน้ำ จะงอยปากของมันแหลมยาว มันว่ายน้ำในวงกว้างและรายกายของมันก็ปกคลุมด้วยรอยเหี่ยวย่น เมื่อดำลงไปใต้น้ำมันก็ยกหางขึ้น โดยมีความยาวของลำตัวประมาณเท่ากับเรือที่เขาโดยสาร นับตั้งแต่นั้นมา ก็มีรายงานการพบเห็นสิ่งมีชีวิตลึกลับคล้ายคลึงกันนี้อย่างต่อเนื่อง ในปี ค.ศ. 1937 กัปตันฮักลันด์และลูกเรือได้ผ่าท้องของวาฬสเปิร์มขนาดใหญ่ และพบซากของสิ่งที่คล้ายกับ แคดโบโรซอรัส เขาได้ถ่ายรูปไว้ทั้งหมด 38 ภาพ และทำรายงานส่งไปยังพิพิธภัณฑ์ แต่ที่พิพิธภัณฑ์ ได้จำแนกว่ามันเป็นซากตัวอ่อนของวาฬบาลีน อย่างไรก็ตามมีการตั้งข้อสงสัยว่า ซากจริง ๆ อาจสูญหายไปก่อนการทำการตรวจสอบ โดยสงสัยว่าซากที่แท้จริงอาจถูกส่งไปที่แห่งใดสักแห่ง เพื่อปกปิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่างไรก็ตาม นักชีววิทยาและศาสตราจารย์ทางด้านสมุทรศาสตร์ เอ็ดเวิร์ด แอล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กล็อบสเตอร์และแคดโบโรซอรัส

กล็อบสเตอร์และแคดโบโรซอรัส มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วาฬสเปิร์ม

วาฬสเปิร์ม

วาฬสเปิร์ม หรือ วาฬหัวทุย (Sperm whale) เป็นวาฬขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นวาฬมีฟัน (Odontoceti) ชนิดที่ใหญ่ที่สุด วาฬสเปิร์มมีลักษณะเด่น คือ มีส่วนหัวใหญ่และยาวมากเกือบร้อยละ 40 ของลำตัว ลำตัวสีเทาดำผิวหนังเป็นรอยย่นตลอดลำตัว ส่วนหน้าผากตั้งฉากตรงขึ้นจากปลายปากบน และเป็นแนวหักลาดไปทางส่วนหลัง ท่อหายใจรูเดียว อยู่ส่วนบนเยื้องไปด้านซ้ายของหัวครีบหลัง มีลักษณะเป็นสันนูนขึ้นมาตั้งอยู่ค่อนไปทางท้ายลำตัว และมีสันเป็นลอน ๆ ไปจนเกือบถึงโคนหาง ครีบข้างค่อนข้างเล็กปลายมนเหมือนใบพาย ไม่มีครีบหลัง ขากรรไกรล่างแคบยาวและเล็กมากเมื่อเทียบกับส่วนหัว ฟันเป็นเขี้ยวจำนวน 16-30 คู่ บนขากรรไกรล่าง ขากรรไกรบนไม่มีฟัน แต่จะมีช่องสำหรับรองรับฟันล่างเวลาหุบปากเท่านั้น อย่างไรก็ตามอาจพบฟัน 10-16 คู่ ในกระดูกขากรรไกรบนของวาฬที่มีอายุมาก ๆ นอกจากนี้แล้วบริเวณรอบ ๆ ปากจะเป็นสีขาว ซึ่งเชื่อกันว่าในที่ ๆ น้ำลึกสีขาวนี้จะเรืองแสงในความมืด ใช้เป็นเครื่องล่อเหยื่อต่าง ๆ ของวาฬสเปิร์ม มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 15-20 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 3.5-4.5 เมตร แม่วาฬใช้เวลาตั้งท้องนาน 16-17 เดือน ลูกจะอาศัยอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 13 เดือนจึงแยกออกหากินอิสระ ขนาดโตเต็มที่ยาว 12-18 เมตร น้ำหนักมากถึง 28 ตัน วาฬสเปิร์ม เป็นวาฬที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และเป็นวาฬชนิดที่ดำน้ำได้ลึกที่สุด มีรายงานว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 1,000 เมตร โดยใช้เวลาประมาณ 40 นาที มีรายงานจากการติดตามวาฬที่ติดเครื่องหมายด้วยระบบโซน่า พบว่าสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 2,800-3,000 เมตร โดยใช้เวลากว่า 1 ชั่วโมง จากการสูดหายใจเพียงครั้งเดียวที่ผิวน้ำที่มีแรงกดดันเท่ากับที่มนุษย์หายใจ ซึ่งในระดับความลึกกว่า 1,000 เมตร แรงกดของอากาศมากกว่าที่ผิวน้ำ 100 เท่า บีบอัดปอดของวาฬให้เหลือเพียงร้อยละ 1 ของปริมาตรทั้งหมด แต่ขณะที่ยังเป็นวาฬวัยอ่อนอยู่ จะยังไม่สามารถดำน้ำลึกได้เหมือนตัวที่โตเต็มวัย นอกจากนี้แล้ววาฬสเปิร์มยังเป็นวาฬชนิดที่ชอบกินหมึกเป็นอาหารมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งหมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีความยาวได้ถึง 14 เมตร ในระดับความลึกระดับ 1,000 เมตร หรือหมึกกล้วยยักษ์ (Architeuthis dux) ที่มีขนาดรองลงมา โดยอาจยาวได้ถึง 12 เมตร โดยมีการพบซากจะงอยปากของหมึกในกระเพาะของวาฬสเปิร์ม ซึ่งวาฬบางตัวจะมีผิวหนังที่เป็นรอยแผลจากปุ่มดูดของหนวดหมึกปรากฏอยู่ รอยแผลเป็นบนผิวหนังวาฬสเปิร์มจากปุ่มดูดของหมึกมหึมา วาฬสเปิร์ม เป็นวาฬที่พบได้ในทะเลและมหาสมุทรทั่วโลก ในน่านน้ำไทยพบรายงานเพียง 3 จังหวัด คือ พังงา, ภูเก็ต และสตูล และถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมาย วาฬสเปิร์ม นับเป็นวาฬอีกชนิดหนึ่งที่ถูกล่าจากมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยการนำเขี้ยวและฟันมาเป็นทำเครื่องประดับ ไขมันในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เนื้อสำหรับรับประทาน นอกจากนี้แล้วอาเจียนหรือมูลของวาฬสเปิร์มยังมีลักษณะแข็งเหมือนอำพัน และมีกลิ่นหอมเป็นลักษณะพิเศษ เป็นของหายาก ราคาแพง ใช้เป็นส่วนสำคัญในการผลิตหัวน้ำหอมและยาไทยได้ด้วย เรียกว่า "อำพันขี้ปลา" หรือ "อำพันทะเล" หรือ "ขี้ปลาวาฬ" และที่ส่วนหัวยังมีสารพิเศษคล้ายไขมันหรือขี้ผึ้ง เรียกว่า "ไขปลาวาฬ" ซึ่งใช้ในการผลิตโลชั่น และเวชภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ซึ่งวาฬสเปิร์มได้ถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงระดับโลก คือ "โมบิดิก" ของเฮอร์มัน เมลวิลล์ ในปี ค.ศ. 1855 ที่เป็นเรื่องราวของการล่าวาฬสเปิร์มเผือกตัวหนึ่งที่มีนิสัยดุร้าย ชื่อ โมบิดิก หรือในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง "พินอคคิโอ" ที่ตอนท้ายเรื่องพินอคคิโอผจญภัยเข้าไปอยู่ในท้องของวาฬ ซึ่งก็คือ วาฬสเปิร์ม เป็นต้น ในปัจจุบัน มีผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์พบว่า วาฬสเปิร์มรวมถึงวาฬชนิดอื่น ๆ มีขนาดลำตัวที่เล็กลงจากอดีต บ่งบอกว่าเป็นสัตว์ที่อยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ โดยเฉพาะวาฬสเปิร์มนั้นในปี..

กล็อบสเตอร์และวาฬสเปิร์ม · วาฬสเปิร์มและแคดโบโรซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กล็อบสเตอร์และแคดโบโรซอรัส

กล็อบสเตอร์ มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ แคดโบโรซอรัส มี 40 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.96% = 1 / (11 + 40)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กล็อบสเตอร์และแคดโบโรซอรัส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »