โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ

กลุ่มภาษาเตอร์กิก vs. กลุ่มภาษาโอคุซ

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม. ตแพร่กระจายของกลุ่มภาษาโอคุซ กลุ่มภาษาโอคุซ (Oghuz languages) เป็นสาขาหลักของกลุ่มภาษาเตอร์กิกมีผู้พูดมากกว่า 110 ล้านคน แพร่กระจายตั้งแต่คาบสมุทรบอลข่านถึงประเทศจีน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษากากาอุซภาษาอัฟซาร์ภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาควาซไควภาษาคาลาซภาษาตาตาร์ไครเมียภาษาตุรกีภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่านภาษาตุรกีออตโตมันภาษาซาลาร์ภาษาซาฮาภาษาเติร์กโคราซานีภาษาเติร์กเมนภาษาเปเชเนกประเทศจีน

ภาษากากาอุซ

ษากากาอุซ (Gagauz dili) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาวกากาอุซ เป็นภาษาราชการของกากาอุเซีย ในสาธารณรัฐมอลโดวา มีผู้พูดราว 150,000 คน เริ่มแรกเขียนด้วยอักษรกรีก เปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกใน..

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษากากาอุซ · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษากากาอุซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัฟซาร์

ษาอัฟซาร์ (Afshar or Afshari) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน บางครั้งถูกจัดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาอาเซอรี ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาดารีมาก และเปลี่ยนเสียง /a/ เป็น /ɒ/ เช่นเดียวกับในภาษาอุซเบก ในหลายกรณี เสียงสระในภาษาอัฟซาร์ เป็นสระปากไม่ห่อในขณะที่ในภาษาอาเซอรีเป็นสระปากห่อ เช่น jiz (100) เป็น jyz ในภาษาอาเซอรีมาตรฐาน.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอัฟซาร์ · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาอัฟซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอาเซอร์ไบจาน · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาควาซไคว

ษาควาซไคว (Qashqai อาจสะกดเป็น Ghashghai, Qashqa'i, Qashqay, และ Kashkai) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดโดยชาวควาซไควที่เป็นชนกลุ่มน้อนในเขตฟาร์ของอิหร่าน มีผู้พูดประมาณ 500,000 คน ใกล้เคียงกับภาษาอาเซอรี เขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลงแบบเปอร์เซีย ผู้พูดส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเปอร์เซียได้ด้ว.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาควาซไคว · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาควาซไคว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาลาซ

ษาคาลาซ เป็นภาษาที่ใช้พูดในอัฟกานิสถานและอิหร่าน อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 42,000 เมื่อ..

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคาลาซ · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาคาลาซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์ไครเมีย

ษาตาตาร์ ไครเมีย หรือภาษาไครเมีย ภาษาตุรกีไครเมีย เป็นภาษาของชาวตาตาร์ไครเมีย ใช้พูดในไครเมีย เอเชียกลาง โดยเฉพาะในอุซเบกิสถาน และผู้อพยพชาวตาตาร์ ไครเมียในตุรกี โรมาเนีย บัลแกเรีย เป็นคนละภาษากับภาษากวาซัน ตาตาร.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตาตาร์ไครเมีย · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาตาตาร์ไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตุรกี · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน

ษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน (Balkan Gagauz Turkish) หรือภาษาตุรกีบอลข่าน เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในตุรกี กรีซ และสาธารณรัฐมาซิโดเนีย เป็นภาษาที่ต่างจากภาษากากาอุซและภาษาตุรกี.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตุรกีออตโตมัน · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาลาร์

ษาซาลาร์เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวซาลาร์ที่อยู่ในมณฑลชิงไห่ และกานซูในประเทศจีน มีอยู่ในเมืองกุลจา (Ghulja) ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ด้วย ชาวซาลาร์มีประมาณ 90,000 คน โดยพูดภาษาซาลาร์ 70,000 คน ที่เหลือพูดภาษาจีน ชาวซาลาร์อพยพเข้ามาอยู่ในบริเวณที่อยู่ปัจจุบันเมื่อราว..

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาซาลาร์ · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาซาลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาฮา

ษาซาฮาหรือภาษายากุต เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 363,000 คน ในสาธารณรัฐซาฮาของรัสเซีย การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยาวิเศษณ์-กรรม-กริยา คำแสดงความเป็นเจ้าของมาก่อนคำที่เป็นเจ้าของ คำขยายตามหลังนามที่ถูกขยาย คำนามมีรุปเอกพจน์กับพหูพจน์ ไม่แบ่งเพศของนาม แต่มีการแยกสรรพนามบุรุษที่ 3 ระหว่างนามที่มีกับไม่มีชีวิต.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาซาฮา · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาซาฮา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กโคราซานี

ษาเติร์กโคราซานี (تركي خراساني / Turki Khorasani) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มเตอร์กิกใช้พูดทางตอนเหนือของโคราซาน ผู้พูดภาษานี้พูดภาษาเปอร์เซียได้ด้ว.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเติร์กโคราซานี · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาเติร์กโคราซานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กเมน

ษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเติร์กเมน · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปเชเนก

ภาษาเปเชเนก (Pecheneg language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดโดยชาวเปเชเนกในยุโรปตะวันออก มีลักษณะคล้ายกับภาษากลุ่มโอคุซที่เป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเตอร์กิก แต่มีหลักฐานหลงเหลืออยู่น้อย นักภาษาศาสตร์จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโปรโต-คัสเปียนซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเคียปชัก ปแชเนก.

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเปเชเนก · กลุ่มภาษาโอคุซและภาษาเปเชเนก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

กลุ่มภาษาเตอร์กิกและประเทศจีน · กลุ่มภาษาโอคุซและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ

กลุ่มภาษาเตอร์กิก มี 63 ความสัมพันธ์ขณะที่ กลุ่มภาษาโอคุซ มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 18.07% = 15 / (63 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »