โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2555

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2555

22 พฤษภาคม vs. พ.ศ. 2555

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น. ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2555

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2555 มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2455พ.ศ. 2472พ.ศ. 2473พ.ศ. 2521พ.ศ. 2557ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรปฏิทินเกรโกเรียนนักบินอวกาศโตเกียวสกายทรี13 กุมภาพันธ์20 ธันวาคม6 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2455 · พ.ศ. 2455และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2472 · พ.ศ. 2472และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2473 · พ.ศ. 2473และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2521 · พ.ศ. 2521และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2557 · พ.ศ. 2555และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

22 พฤษภาคมและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · พ.ศ. 2555และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

22 พฤษภาคมและปฏิทินเกรโกเรียน · ปฏิทินเกรโกเรียนและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

22 พฤษภาคมและนักบินอวกาศ · นักบินอวกาศและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวสกายทรี

ตเกียวสกายทรี (Tokyo Skytree) หรือเรียก โตเกียวทาวเวอร์แห่งใหม่ (New Tokyo Tower) เป็นหอกระจายคลื่นตั้งอยู่ที่เขตซุมิดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น และ ได้กลายเป็นหอคอยที่สูงที่สุดในโลก ที่ความสูง 634 เมตร ที่มาของการกำหนดความสูงไว้ที่ 634 เมตร เนื่องจากในยุคเอโดะ พื้นที่กรุงโตเกียว จังหวัดคะนะกะวะและจังหวัดไซตะมะในปัจจุบันเรียกว่า มุซะชิ (武蔵-634-Musashi) มุ (六) แทนเลขหก (6) ซะ (三) แทนเลขสาม ชิ (四) แทนเลขสี่ ในปัจจุบัน โตเกียวทาวเวอร์ (สูง 333 เมตร) มีความสูงไม่พอที่จะส่งสัญญาณคลื่นโทรทัศน์แบบดิจิตอลให้ครอบคลุม เนื่องจากมีอาคารและตึกสูงจำนวนมากสร้างขึ้นบังสัญญาณบริเวณใจกลางเมือง จึงมีโครงการก่อสร้างโตเกียวสกายทรีขึ้น นำโดยบริษัท โทบุเรลเวย์ จำกัด ซึ่งเริ่มก่อสร้างในวันที่ 14 กรกฎาคม..

22 พฤษภาคมและโตเกียวสกายทรี · พ.ศ. 2555และโตเกียวสกายทรี · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

13 กุมภาพันธ์และ22 พฤษภาคม · 13 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

20 ธันวาคมและ22 พฤษภาคม · 20 ธันวาคมและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

22 พฤษภาคมและ6 กุมภาพันธ์ · 6 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2555

22 พฤษภาคม มี 106 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2555 มี 339 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 2.70% = 12 / (106 + 339)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2555 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »