โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

10 ไฮเจียและความส่องสว่างปรากฏ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 10 ไฮเจียและความส่องสว่างปรากฏ

10 ไฮเจีย vs. ความส่องสว่างปรากฏ

10 ไฮเจีย (‘Υγιεία; Hygiea) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวรีประมาณ 350 - 500 กิโลเมตร และมีมวลคิดเป็นประมาณ 2.9% ของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์น้อยในแถบหลัก ถือเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นลำดับที่สี่ทั้งโดยปริมาตรและมวล รวมถึงเป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดสำหรับกลุ่มดาวเคราะห์น้อยมืด (คือ ดาวเคราะห์น้อยประเภท C) ซึ่งมีส่วนประกอบคาร์บอนอยู่บนพื้นผิวค่อนข้างมาก แม้ไฮเจียจะเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่มาก แต่ด้วยพื้นผิวที่ค่อนข้างมืดและยังอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มาก จึงปรากฏให้โลกเห็นเพียงริบหรี่ ดาวเคราะห์น้อยอื่นที่มีขนาดเล็กกว่าจึงถูกค้นพบก่อนที่ แอนนาเบล เดอ แกสปารีส จะค้นพบไฮเจียเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1849 ไฮเจียมีค่าความส่องสว่างปรากฏต่ำกว่าเวสต้าถึง 4 เท่า และต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาด 100 มม. วามส่องสว่างปรากฏ (apparent magnitude, m) เป็นหน่วยวัดความสว่างของดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ หรือวัตถุท้องฟ้าอื่นในจักรวาล กล่าวอีกนัยหนึ่งคือปริมาณแสดงที่ได้รับจากวัตถุนั้น นิยามให้ความส่องสว่างปรากฏมีค่าเพิ่มขึ้น 5 หน่วยเมื่อความสว่างลดลงเหลือ 1 ใน 100 (นั่นคือเมื่อวัตถุเดียวกันแต่อยู่ไกลขึ้นเป็น 10 เท่า) หรือค่าความส่องสว่างปรากฏเพิ่มขึ้น 1 หน่วยเมื่อความสว่างลดลง 2.512 เท่า โดยที่ 2.512 คือรากที่ห้าของ 100 (1000.2) ปริมาณแสงที่รับได้ จริง ๆ แล้วจะขึ้นอยู่กับความหนาของชั้นบรรยากาศในทิศทางการมองวัตถุ ดังนั้นความส่องสว่างปรากฏจึงปรับค่าให้ได้ความสว่างเมื่อผู้สังเกตอยู่นอกชั้นบรรยากาศ ยิ่งวัตถุมีแสงจางเท่าไหร่ค่าความส่องสว่างปรากฏก็ยิ่งมีค่ามากเท่านั้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 10 ไฮเจียและความส่องสว่างปรากฏ

10 ไฮเจียและความส่องสว่างปรากฏ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ดวงอาทิตย์

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

10 ไฮเจียและดวงอาทิตย์ · ความส่องสว่างปรากฏและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 10 ไฮเจียและความส่องสว่างปรากฏ

10 ไฮเจีย มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ ความส่องสว่างปรากฏ มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.03% = 1 / (18 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 10 ไฮเจียและความส่องสว่างปรากฏ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »