โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฉิ่นโยเมี๊ยะ

ดัชนี ฉิ่นโยเมี๊ยะ

ฉิ่นโยเมี๊ยะ (ရှင်မျိုးမြတ်,; ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1490 – ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1520) พระนมของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ แห่ง ราชวงศ์ตองอู และเป็นพระราชมารดาของ พระเจ้าบุเรงนอง ใน..

17 ความสัมพันธ์: พระนางอตุลสิริมหาราชเทวีพระนางธัมมเทวีแห่งตองอูพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าสีหตูพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พุกามราชวงศ์ราชวงศ์ตองอูอาณาจักรพุกามอาณาจักรปีนยะตองอูตะโดธรรมราชาที่ 2แปรเมาะตะมะเมงเยสีหตูเมงเยสีตูแห่งเมาตะมะเถรวาท

พระนางอตุลสิริมหาราชเทวี

ระนางอตุลสิริมหาราชเทวี (အတုလသီရိ မဟာရာဇ ဒေဝီ; ประมาณ 1518 – 15 มิถุนายน 1568) พระอัครมเหสีองค์แรกใน พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ตองอูจาก..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและพระนางอตุลสิริมหาราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางธัมมเทวีแห่งตองอู

ระนางธรรมเทวีแห่งตองอู (ဓမ္မဒေဝီ) หนึ่งในสามอัครมเหสีของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ กษัตริย์พม่าแห่ง ราชวงศ์ตองอู เป็นธิดาของ เมงเยสีหตู พระอาจารย์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้รวมถึงเป็นพระเชษฐภคินี (พี่สาว) ของ พระเจ้าบุเรงนอง เมื่อเจ้าชายรัชทายาทขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจาก พระเจ้าเมงจีโย พระราชบิดาเป็นพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ใน..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและพระนางธัมมเทวีแห่งตองอู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสีหตู

ระเจ้าสีหตู (သီဟသူ,; 1265–1325) ผู้ร่วมสถาปนา อาณาจักรมยินซาง และปฐมกษัตริย์แห่ง อาณาจักรปีนยะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตพม่าตอนกลาง พระเจ้าสีหตูเป็นพระอนุชาองค์เล็กที่โดดเด่นที่สุดในบรรดาเจ้าชายสามพระองค์ซึ่งประสบความสำเร็จจากการป้องกันพม่าตอนกลางให้รอดพ้นจากการรุกรานของ จักรวรรดิมองโกล เมื่อ..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและพระเจ้าสีหตู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ · ดูเพิ่มเติม »

พุกาม

กาม (Bagan, ပုဂံ) เมืองในประเทศพม่า เคยเป็นที่ตั้งอาณาจักรพุกาม (พ.ศ. 1587 - พ.ศ. 1830) อาณาจักรแห่งแรกของชาวพม่า พุกามเป็นเมืองที่ยังไม่ได้รับการรับรองจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก เนื่องด้วยความกังวลจากการบูรณะที่อาจผิดวิธี แต่ได้มีอยู่ในบัญชีรายชื่อเบื้องต้นเพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตUnesco 1996Tourtellot 2004 ปัจจุบันรัฐบาลทหารพม่ากำลังพยายามเร่งเสนอชื่อและเตรียมความพร้อมให้เป็นมรดกโลกทางศิลปวัฒนธรรมแห่งต่อไป เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและพุกาม · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพุกาม

อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและอาณาจักรพุกาม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปีนยะ

อาณาจักรปีนยะ (Pinya Kingdom; ပင်းယခေတ်) อาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและอาณาจักรปีนยะ · ดูเพิ่มเติม »

ตองอู

ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ตะโดธรรมราชาที่ 2

ระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 2 (သတိုးဓမ္မရာဇာ,; Thado Dhamma Yaza II of Prome, ประมาณ 1520s – 1588) เริ่มรับราชการทหารในรัชสมัยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้แห่งราชวงศ์ตองอู กระทั่งได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าแปรในฐานะกษัตริย์เมืองออกของพระเจ้าบุเรงนองผู้เป็นพระเชษฐาและพระเจ้านันทบุเรงพระนัดดาระหว่าง..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและตะโดธรรมราชาที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

แปร

แปร หรือ ปยี (ပြည်) หรือ โปรม (Prome; ပြန်, ปรอน) เป็นเมืองในเขตหงสาวดีของประเทศพม่า ตั้งอยู่ที่ราบลุ่มปากแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 260 กิโลเมตร ในอดีต เมืองแปรเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีเกษตรของชนเผ่าปยูมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นศูนย์กลางการค้าเพราะอยู่เดินทางออกสู่ทะเลได้สะดวก.

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและแปร · ดูเพิ่มเติม »

เมาะตะมะ

เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและเมาะตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เมงเยสีหตู

เมงเยสีหตู (မင်းရဲ သီဟသူ); หรือ มินจีสเว่ (မင်းကြီးဆွေ); ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1490 – 1549) ขุนนางคนสำคัญของพม่าระหว่างรัชสมัย พระเจ้าเมงจีโย ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์ตองอู และ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ รวมถึงเป็นพระบิดาของ พระนางธัมมเทวี และ พระเจ้าบุเรงนอง เมื่อพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้สถาปนา กรุงหงสาวดี เป็นเมืองหลวงของพม่าแทน เมืองตองอู พร้อมย้ายไปประทับที่กรุงหงสาวดีใน ค.ศ. 1540 ทำให้ตำแหน่งพระเจ้าตองอูว่างลงพระองค์จึงแต่งตั้งเมงเยสีหตูผู้เป็นพระสัสสุระ (พ่อตา) เป็นพระเจ้าตองอูกระทั่งสิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1549 หมวดหมู่:ราชวงศ์ตองอู.

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและเมงเยสีหตู · ดูเพิ่มเติม »

เมงเยสีตูแห่งเมาตะมะ

มงเยสีตูแห่งเมาะตะมะ (မင်းရဲစည်သူ,; ประมาณ 1520–1556) เจ้าเมืองเมาตะมะในช่วงรัชสมัย พระเจ้าบุเรงนอง ระหว่าง..

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและเมงเยสีตูแห่งเมาตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ฉิ่นโยเมี๊ยะและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Shin Myo Myat

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »