โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา

ดัชนี สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา

ผู้แทนราษฎร (សភាតំណាងរាស្ត្រ สภาตํณางราสฺตฺร; Parliament) ชื่อเต็มว่า สภาผู้แทนราษฎรในพระราชาณาจักรกัมพูชา (សភាតំណាងរាស្ត្រនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា สภาตํณางราสฺตฺรไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศกัมพูชา ใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วยสภาย่อย 2 สภา คือ.

7 ความสัมพันธ์: พฤฒสภากัมพูชาระบบสองสภารัฐสภากัมพูชาสภาล่างสภาสูงสภานิติบัญญัติประเทศกัมพูชา

พฤฒสภากัมพูชา

(ព្រឹទ្ធសភា พฺรึทฺธสภา; Senate) ชื่อเต็มว่า พฤฒสภาในพระราชาณาจักรกัมพูชา (ព្រឹទ្ធសភានៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺรึทฺธสภาไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภาสูงในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา คู่กับรัฐสภาซึ่งเป็นสภาล่าง พฤฒสภามีสภาชิก 61 คน 57 คนสภาท้องถิ่น (commune council) เลือกมาทุก 6 ปี ทีเหลือ 4 คน 2 คนพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง อีก 2 คนรัฐสภาแต่งตั้ง เพื่อทำหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายกำหนด พฤฒสภามีผู้บริหาร คือ ประธาน 1 คน และรองประธาน 2 คน พฤฒสภาประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและพฤฒสภากัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสองสภา

ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและระบบสองสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภากัมพูชา

รัฐสภา (រដ្ឋសភា รฎฺฐสภา; National Assembly) ชื่อเต็มว่า รัฐสภาในพระราชาณาจักรกัมพูชา (រដ្ឋសភានៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា รฎฺฐสภาไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภาล่างในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา คู่กับสภาสูง คือ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและรัฐสภากัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สภาล่าง

ล่าง (อังกฤษ: lower house) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสองสภา อีกสภาหนึ่งได้แก่ สภาสูง ในแต่ละประเทศ สภาล่างจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างสภาล่าง เช่น สภาผู้แทนราษฎร ถึงแม้ว่าตำแหน่งทางทฤษฎีจะอยู่ "ข้างล่าง" ของสภาสูง แต่ในความเป็นจริง "สภาล่าง" เกือบทุกประเทศในโลกกลับมีอำนาจมากกว่า "สภาสูง" ความเหนือชั้นกว่าของสภาล่างเกิดจากข้อจำกัดพิเศษที่บังคับใช้กับสภาสูง (ไม่ว่าจะเป็นไปตามกฎหมายหรือเห็นได้โดยชัดแจ้งในระเบียบวิธีการประชุม) ที่สามารถทำได้เพียงการชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง แต่ไม่อาจใช้อำนาจยับยั้งการออกกฎหมาย (veto)ได้ หรืออาจไม่มีอำนาจควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับการเงิน ภายใต้ระบบรัฐสภาถือเป็นเรื่องปกติที่สภาล่างเท่านั้นที่มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดตัวหัวหน้ารัฐบาล หรือนายกรัฐมนตรี และยังสามารถถอดถอนผ่านการออกเสียงไม่ไว้วางใจได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่บ้าง เช่น นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ซึ่งเลือกจากการสนับสนุนของทั้งสองสภาไดเอต การร่างกฎหมายที่ทำได้โดยสภาเดียวเรียกว่า "ระบบสภาเดียว".

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและสภาล่าง · ดูเพิ่มเติม »

สภาสูง

"สภาสูง" (อังกฤษ: upper house) เป็นชื่อเรียกสภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง บางประเทศอาจมีสภานิติบัญญัติสองสภาประกอบกันเป็นรัฐสภา อีกสภาหนึ่งเรียก "สภาล่าง" ซึ่งบางประเทศอาจมีแต่สภาล่างทำหน้าที่สภานิติบัญญัติ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการกำหนดขององค์อธิปัตย์ในประเทศนั้น ๆ สำหรับประเทศไทยมีสองสภา สภาสูงเรียก วุฒิสภา สภาล่างเรียก สภาผู้แทนราษฎร ทั้งสองสภารวมกันเรียกว่า รั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและสภาสูง · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและสภานิติบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Parliament of Cambodia

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »