โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ATC รหัส N02

ดัชนี ATC รหัส N02

วนของ ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System) N ระบบประสาท (Nervous system).

17 ความสัมพันธ์: ATC รหัส Nบิวพรีนอร์ฟีนพาราเซตามอลมอร์ฟีนระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ออกซิโคโดนทรามาดอลโรคไมเกรนโอปิออยด์โอปิแอตโคดีอีนไฮโดรมอร์โฟนไดไฮโดรโคดีอีนเฟนทานิลเพทิดีนเฮโรอีนเซโรโทนิน

ATC รหัส N

กลุ่ม ATC รหัส N ระบบประสาท (Nervous system) ของระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System).

ใหม่!!: ATC รหัส N02และATC รหัส N · ดูเพิ่มเติม »

บิวพรีนอร์ฟีน

วพรีนอร์ฟีน หรือ bupe (Buprenorphine) เป็นยาในกลุ่ม โอปิออยด์ ที่มีฤทธิ์เป็นตัวทำการ ย่อย(agonist) และปฏิปักษ์ (antagonist) บิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์นำออกทำตลาดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1980 โดยเรคกิตต์และโคลแมน (ปัจจุบันคือเรคกิตต์เบนค์กิเซอร์ (Reckitt Benckiser)) เป็นยาบรรเทาปวด ครั้งแรกใช้รักษาการติดยาในกลุ่มโอปิออยด์ จัดเป็นยาประเภท Schedule III โดยอนุสัญญาว่าด้วยสารที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท (Convention on Psychotropic Substances).

ใหม่!!: ATC รหัส N02และบิวพรีนอร์ฟีน · ดูเพิ่มเติม »

พาราเซตามอล

ราเซตามอล (Paracetamol (INN)) หรือ อะเซตามีโนเฟน (acetaminophen (USAN)) ทั้งหมดย่อมาจาก para-acetylaminophenol เป็นยาที่สามารถจำหน่ายได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ (OTC) มีฤทธิ์แก้ปวดและลดไข้ ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่มักใช้เพื่อบรรเทาไข้ อาการปวดศีรษะ และอาการปวดเมื่อย และรักษาให้หายจากโรคหวัดและไข้หวัด พาราเซตามอลประกอบด้วยยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (NSAIDs) และโอปิออยด์ พาราเซตามอลมักใช้รักษาอาการปวดพื้นฐานถึงการปวดอย่างซับซ้อน โดยทั่วไปพาราเซตามอลจะปลอดภัยต่อมนุษย์หากได้รับในปริมาณที่เหมาะสม แต่หากได้รับปริมาณมากเกินไป (เกิน 1000 มิลลิกรัมต่อโดส หรือ 4,000 มิลลิกรัมต่อวันในผู้ใหญ่ หรือเกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวันสำหรับผู้ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์) จะทำให้เกิดความเสียหายต่อการทำงานของตับได้ แต่ผู้ป่วยบางรายที่รับประทานในปริมาณปกติก็สามารถส่งผลต่อตับได้เช่นเดียวกับผู้ที่รับในปริมาณมากเกินไปเช่นกัน แต่หากกรณีดังกล่าวพบได้น้อยมาก อันตรายจากการใช้ยานี้จะมากขึ้นในผู้ดื่มแอลกอฮอล์ พิษของพาราเซตามอลสามารถทำให้แกิดภาวะตับล้มเหลวซึ่งมีการพบแล้วในโลกตะวันตก อาทิในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และนิวซีแลน.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และพาราเซตามอล · ดูเพิ่มเติม »

มอร์ฟีน

มอร์ฟีน (Morphine) ที่ขายภายใต้ชื่อการค้าหลายชื่อ เป็นยาระงับปวดชนิดยาเข้าฝิ่น ออกฤทธิ์โดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลางเพื่อลดความรู้สึกปวด ใช้ได้ทั้งกับอาการปวดเฉียบพลันและปวดเรื้อรัง มอร์ฟีนยังมักใช้กับอาการปวดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดและระหว่างการคลอด สามารถให้ทางปาก โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ฉีดใต้ผิวหนัง เข้าหลอดเลือดดำ เข้าช่องว่างระหว่างไขสันหลัง หรือทางทวารหนัก ฤทธิ์สูงสุดอยู่ประมาณ 20 นาทีเมื่อให้เข้าหลอดเลือดดำ และ 60 นาทีเมื่อให้ทางปาก ส่วนระยะออกฤทธิ์อยู่ระหว่าง 3 ถึง 7 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีสูตรออกฤทธิ์ยาว ผลข้างเคียงรุนแรงที่อาจเกิดได้มีความพยายามหายใจลดและความดันเลือดต่ำ มอร์ฟีนมีศักยะสูงสำหรับการติดยาและการใช้เป็นสารเสพติด หากลดขนาดหลังการใช้ระยะยาว อาจเกิดอาการถอนได้ ผลข้างเคียงทั่วไปมีซึม อาเจียนและท้องผูก แนะนำให้ระวังเมื่อใช้ระหว่างตั้งครรภ์หรือเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพราะมอร์ฟีนจะมีผลต่อทารก ฟรีดริช แซร์ทัวร์เนอร์เป็นผู้แรกที่แยกมอร์ฟีนระหว่าง..

ใหม่!!: ATC รหัส N02และมอร์ฟีน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์

ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System; ATC) เป็นระบบการจัดกลุ่มยา ซึ่งควบคุมโดย องค์การอนามัยโลก Collaborating Centre for Drug Statistics Methodology พิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1976 ระบบจำแนกนี้แบ่งยาออกเป็นกลุ่มต่างๆ ตามอวัยวะหรือระบบอวัยวะที่ยาออกฤทธิ์ และ/หรือตามลักษณะเฉพาะทางการรักษาหรือทางเคมี.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิโคโดน

ออกซิโคโดน (oxycodone) เป็นสารสังเคราะห์ โอปิออยด์ ที่ทำให้ติดยาสูงมากมันเป็นยาบรรเทาปวด ที่สังเคราะห์ได้จาก ทีบาอีน (thebaine) มันเป็นยาใช้รับประทานที่มีประสิทธิภาพสูงมาก และมักทำตลาดเป็นสูตรผสม เช่น กับแอสไพรินหรือพาราเซตามอล Tylox ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวด และทำออกมาในรูปควบคุมการปลดปล่อย (sustained-release form) ให้ยาออกฤทธิ์ได้ยาวนานผู้ผลิตคือ Purdue Pharma และชื่อการค้าคือ OxyContin และประเภทออกฤทธิ์ทันที (instant-release forms) มีชื่อทางการค้าว่า OxyIR OxyNorm และ rcolone OxyContin มีในรูปยาเม็ดขนาด 10, 20, 40 และ 80 มก. และด้วยกลไกการปลดปล่อยนี้ทำให้ยาออกฤทธิ์ได้นาน 8-12 ชั่วโมง.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และออกซิโคโดน · ดูเพิ่มเติม »

ทรามาดอล

ทรามาดอล (Tramadol) เป็นยาในกลุ่มโอปิออยด์ ใช้เป็นยาบรรเทาปวดสำหรับรักษาอาการปวดระดับปานกลางถึงระดับรุนแรง เป็นสารสังเคราะห์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับโอปิออยด์อื่น และออกฤทธิ์ที่ระบบ GABAergic, noradrenergic และ serotonergic ทรามาดอลถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัทยาของ ประเทศเยอรมนี ชื่อ "Grünenthal GmbH" และทำตลาดภายใต้ชื่อการค้าว่า "ทรามัล" ® (Tramal) Grünenthal มีสิทธิบัตรยาไขว้กับหลายบริษัท ยาตัวนี้จึงมีชื่อการค้าหลายชื่อ ทรามาดอลมีทั้งรูปยาฉีดเข้าเส้น เข้ากล้ามเนื้อ และตำรับยารับประทาน ทรามาดอลในท้องตลาดจะอยู่ในรูปเกลือไฮโดรคลอไรด์ คือ "ทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์" (tramadol hydrochloride).

ใหม่!!: ATC รหัส N02และทรามาดอล · ดูเพิ่มเติม »

โรคไมเกรน

รคไมเกรนหรือโรคปวดหัวข้างเดียว (migraine) เป็นความผิดปกติทางประสาทเรื้อรังอย่างหนึ่ง ลักษณะเด่นคือปวดศีรษะปานกลางถึงรุนแรงเป็นซ้ำ มักสัมพันธ์กับอาการทางระบบประสาทอิสระจำนวนหนึ่ง ตรงแบบ อาการปวดศีรษะมีผลต่อศีรษะครึ่งซีก มีสภาพปวดตามจังหวะ (หัวใจเต้น) และกินเวลาตั้งแต่ 2 ถึง 72 ชั่วโมง อาการที่สัมพันธ์อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน และไวต่อแสง เสียงหรือกลิ่น โดยทั่วไปความเจ็บปวดรุนแรงขึ้นจากกิจกรรมทางกาย ผู้ป่วยไมเกรนถึงหนึ่งในสามมีสัญญาณบอกเหตุ (aura) คือ การรบกวนภาพ การรับความรู้สึก ภาษาหรือการสั่งการร่างกายซึ่งบ่งบอกว่าจะเกิดปวดศีรษะในไม่ช้า บางครั้งสัญญาณบอกเหตุเกิดได้โดยมีการปวดศีรษะตามมาน้อยหรือไม่ปวดเลย เชื่อว่า ไมเกรนมีสาเหตุจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมผสมกัน ผู้ป่วยประมาณสองในสามเป็นในครอบครัว การเปลี่ยนระดับฮอร์โมนผสมกัน เพราะไมเกรนมีผลต่อเด็กชายมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อยก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ แต่ในผู้ใหญ่ หญิงเป็นมากกว่าชายประมาณสองถึงสามเท่า ความเสี่ยงของไมเกรนปกติลดลงระหว่างการตั้งครรภ์ ยังไม่ทราบกลไกที่แน่ชัดของไมเกรน แต่เชื่อว่าเป็นความผิดปกติของประสาทควบคุมหลอดเลือด ทฤษฎีหลักสัมพันธ์กับการเร้าได้ (excitability) ที่เพิ่มขึ้นของเปลือกสมองและการควบคุมผิดปกติของเซลล์ประสาทรับความเจ็บปวดในนิวเคลียสของประสาทไทรเจมินัลในก้านสมอง เริ่มต้น การรักษาแนะนำ คือ ยาระงับปวดธรรมดา เช่น ไอบูโปรเฟนและพาราเซตามอล (หรืออะเซตามิโนเฟน) สำหรับปวดศีรษะ ยาแก้อาเจียนสำหรับคลื่นไส้ และการเลี่ยงตัวกระตุ้น อาจใช้สารเฉพาะเช่น ทริพแทนหรือเออร์โกทามีนในผู้ที่ยาระงับปวดธรรมดาใช้ไม่ได้ผล 15% ของประชากรทั่วโลกเคยเป็นไมเกรนครั้งหนึ่งในชีวิต.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และโรคไมเกรน · ดูเพิ่มเติม »

โอปิออยด์

อปิออยด์ (opioid) เป็นสารที่เชื่อมกับโอปิออยด์ รีเซพเตอร์ (opioid receptor) พบในระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) และ ระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal tract) โอปิออยด์มี 4 กลุ่มคือ.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และโอปิออยด์ · ดูเพิ่มเติม »

โอปิแอต

อปิแอต(อัวกฤษ:opiate) เป็นอัลคะลอยด์ที่พบในฝิ่น (opium) โดยการสกัดจากเมล็ดของต้นฝิ่น (opium poppy-Papaver somniferum L.) มันยังหมายถึงสารที่ได้จากธรรมชาติ และเป็นอนุพันธ์กึ่งสังเคราะห์ของมอร์ฟีน ยาทุกตัวที่มีฤทธ์ทางเภสัชวิทยาเหมือนฝิ่นและมอร์ฟีนจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มโอปิออยด์ (opioid)หมายถึงเหมือนฝิ่น โอปิแอตหลักๆ จากฝิ่นคือ.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และโอปิแอต · ดูเพิ่มเติม »

โคดีอีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และโคดีอีน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรมอร์โฟน

รมอร์โฟน (Hydromorphone) เป็นยาที่ใช้รักษาอาการปวดระดับปานกลางถึงขั้นรุนแรง ไฮโดรมอร์โฟนมีชื่อทางการค้าว่า Dilaudid® และ Palladone® มันจัดอยู่ในกลุ่มของยาตัวทำการโอปิออยด์ โดยทั่วไปมักใช้ในคนไข้หลังผ่าตัด หรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บสาหัส ช่องทางการให้ยาคือ ฉีดเข้าเส้น ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เหน็บทางทวารหนัก หรือรับประทาน.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และไฮโดรมอร์โฟน · ดูเพิ่มเติม »

ไดไฮโดรโคดีอีน

รโคดีอีน (Dihydrocodeine; ชื่อย่อ: DHC หรือ DF-118) เป็นยาบรรเทาปวดสังเคราะห์กลุ่มโอปิออยด์ ใช้แก้ปวดหลังการผ่าตัด อาการหายใจลำบาก หรือเป็นยาแก้ไอ ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: ATC รหัส N02และไดไฮโดรโคดีอีน · ดูเพิ่มเติม »

เฟนทานิล

ฟนทานิล (Fentanyl) เป็นยาบรรเทาปวด ในกลุ่มโอปิออยด์ สังคราะห์ได้ครั้งแรกในประเทศเบลเยียม ประมาณปลายปี 1950 มีฤทธิ์บรรเทาปวดมากกว่า มอร์ฟีน 80 เท่า ถูกนำมาใช้ทาง การแพทย์ ในปี 1960 โดยใช้ฉีดเข้าเส้นเป็น ยาระงับความรู้สึก มีชื่อทางการค้าว่า Sublimaze เฟนทานิลมีค่า LD50 เท่ากับ 3.1 มก/กก ในหนู LD50 ในมนุษย์ยังไม่ทราบ เฟนทานิลเป็นยาควบคุมประเภท Schedule II.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

เพทิดีน

เพทิดีน (Pethidine ชื่อโดย INN) หรือ meperidine (USAN) (มีชื่ออื่น ๆ อีกดังนี้: isonipecaine; lidol; operidine; pethanol; piridosal; Algil®; Alodan®; Centralgin®; Demerol®; Dispadol®; Dolantin®; Dolestine®; Dolosal®; Dolsin®; Mefedina®) เป็นยาในกลุ่มโอปิออยด์ที่ออกฤทธิ์เร็ว มีฤทธิ์เป็นยาบรรเทาปวดด้วย ในสหรัฐอเมริการู้จักกันทั่วไปในชื่อ เมเพอริดีน โดยมีชื่อการค้าว่า ดีเมอรอล (Demerol) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:โอปิออยด์ หมวดหมู่:ยาบรรเทาปวด หมวดหมู่:ยาเสพติด.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และเพทิดีน · ดูเพิ่มเติม »

เฮโรอีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และเฮโรอีน · ดูเพิ่มเติม »

เซโรโทนิน

ซโรโทนิน (serotonin) (5-hydroxytryptamine, or 5-HT) เป็นสารสื่อประสาทที่มีโครงสร้างทางเคมีเป็นโมโนอะมีน (monoamine neurotransmitter) พบมากในระบบทางเดินอาหารของสัตว์ (gastrointestinal tract of animals) และประมาณ 80-90% ของปริมาณเซโรโทนินรวมในร่างกายมนุษย์พบใน enterochromaffin cells ซึ่งเป็นเซลล์ในทางเดินอาหาร (gut) ซึ่งมันทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร ส่วนเซโรโทนินในร่างกายอีก 10-20% นั้น ถูกสังเคราะห์ในระบบประสาทส่วนกลางจากเซลล์ประสาทที่สามารถสร้างเซโรโทนินได้ (serotonergic neurons) ซึ่งทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาท ซึ่งมีบทบาทหลายหน้าที่เช่น การควบคุมความหิว อารมณ์ และความโกรธ เซโรโทนินยังพบในเห็ดและพืชผักผลไม้ต่างๆอีกด้ว.

ใหม่!!: ATC รหัส N02และเซโรโทนิน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »