โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐยะไข่

ดัชนี รัฐยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.

19 ความสัมพันธ์: ชาวชินพรรคสหสามัคคีและการพัฒนาภาษาพม่าภาษายะไข่ยะไข่รัฐชินรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูอาณาจักรมเยาะอูอ่าวเบงกอลซิตตเวประเทศบังกลาเทศประเทศพม่าโรฮีนจาเถรวาทเขตพะโคเขตมะเกวเขตอิรวดี

ชาวชิน

น (ခ္ယင္‌လူမ္ယုိး; MLCTS: hkyang lu. myui) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า โดยในชาวชินจำนวนนี้สามารถจำแยกได้เป็น 32 กลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มก็จะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไป และจะมีพิธีการสักบนใบหน้าของหญิงสาวซึ่งแต่ละกลุ่มจะใช้สีที่ต่างกัน เช่น สีดำ สีกรมท่า หรือรูปนกบนหน้าผาก จะเป็นลายเฉพาะกลุ่มซึ่งในกลุ่มเดียวกันก็จะมีลวดลายเดียวกัน โดยการสักบนใบหน้าของหญิงชาวชินจะสักบนใบหน้าเพื่ออำพรางความงามของตน เพราะคนโบราณเล่าต่อกันมาว่า ในอดีตหญิงสาวชาวชินมีความสวยต้องตาต้องใจคนต่างถิ่นเป็นอย่างมาก ไม่เว้นแม้กระทั่งเจ้าเมืองกษัตริย์พม่าที่มักจะจับตัวสาวชาวชินไปเป็นภรรยาและทาสรับใช้ ผู้นำชนเผ่าจึงสั่งให้หญิงสาวชินสักใบหน้าเพื่ออำพรางความงามตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่นช่วงอายุประมาณ 12-13 ปี ซึ่งต้องให้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นผู้สักให้ โดยจะสักต่อเนื่องไปเรื่อยจนเสร็จ ปกติแล้วใช้เวลาถึง 2 วัน จะพักแค่ตอนรับประทาน อาหารเท่านั้น เด็กสาวแทบทุกคนนอนร้องไห้ด้วยความเจ็บปวดตลอดการสัก กินอะไรไม่ได้และลืมตาไม่ได้เพราะมีอาการบวม บางคนที่รอยสักจางหรือลายไม่ขึ้นต้องมาสักซ้ำอีกครั้งสองครั้ง หรือจนกว่าสีจะเข้ม แต่ปัจจุบัน วัฒนธรรมการสักใบหน้าหลงเหลืออยู่แค่ในหมู่บ้านชนบทในป่าเขาห่างไกลเพียงไม่กี่แห่ง ส่วนพื้นที่อื่นไม่นิยมสักกันแล้ว เนื่องจากไม่มีใครมาจับตัวหญิงชาวชินไปเหมือนแต่ก่อน จึงไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป โดยเฉพาะหมอสักใบหน้าที่มีฝีมือต่างล้มหายตายจากกันไปเกือบหมด อย่างในละแวกนี้ถ้าใครอยากสักก็ไม่มีคนสักให้ เพราะหมอสักเสียชีวิตกันไปหมดแล้ว นอกจากนี้ ครั้งหนึ่งรัฐบาลทหารพม่าได้สั่งห้ามหญิงชาวชินสักใบหน้าเพราะเห็นเป็นเรื่องป่าเถื่อน ชาวบ้านก็เลยไม่กล้าสัก แต่อย่างไรก็ตามรัฐบาลพม่าในปัจจุบันเองก็ต้องการให้หญิงชาวชินที่สักใบหน้ากลุ่มดังกล่าวเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวมายังพม.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และชาวชิน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา

งพรรคสหสามัคคีและการพัฒนา พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา (ပြည်ထောင်စုကြံ့ခိုင်ရေးနှင့်ဖွံ့ဖြိုးရေးပါတီ; Union Solidarity and Development Party: USDP) หรือ พรรคยูเอสดีพี เป็นพรรคการเมืองในพม่า ก่อตั้งโดยพลเอกเตง เส่ง ได้รับการรับรองโดยคณะกรรมการการเลือกตั้งพม่า เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: รัฐยะไข่และพรรคสหสามัคคีและการพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายะไข่

ษายะไข่ (Rakhine) หรือภาษาอาระกัน มีผู้พูดทั้งหมด 765,000 คน พบในพม่า 730,000 คน (พ.ศ. 2544) ในรัฐยะไข่ พบในบังกลาเทศ 35,000 คน (พ.ศ. 2550) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า เป็นภาษาที่ยังคงลักษณะของภาษาพม่าดั้งเดิมไว้ คือยังคงเสียง /ร/ ไว้ได้ ในขณะที่ภาษาพม่าสำเนียงอื่นๆ ออกเสียงเป็น /ย/ ภาษายะไข่มีเสียงสระเปิด มาก ตัวอย่างเช่นคำว่าเงินเดือน ภาษาพม่ามาตรฐานออกเสียงว่า ส่วนภาษายะไข่ออกเสียงว่า ต่อไปนี้เป็นเสียงพยัญชนะ สระที่แตกต่างไปในภาษายะไข่.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และภาษายะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชิน

รัฐชิน (ချင်းပြည်နယ်) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และรัฐชิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมเยาะอู

อาณาจักรมเยาะอู (Kingdom of Mrauk-U) เป็นอาณาจักรที่มีเมืองหลวงที่เมืองมเยาะอู ใกล้กับชายฝั่งตะวันออกของอ่าวเบงกอล ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบังกลาเทศและรัฐยะไข่ในประเทศพม่า ปกครองตนเองเป็นอิสระระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐยะไข่และอาณาจักรมเยาะอู · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวเบงกอล

แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งอ่าวเบงกอล เรือประมงในอ่าวเบงกอล เกาะเซนต์มาร์ติน อ่าวเบงกอล ชายหาดมารีนา เจนไน อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) เป็นอ่าวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย มีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยมล้อมรอบด้วยประเทศอินเดียและศรีลังกาทางด้านตะวันตก บังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดียทางด้านเหนือ (ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ) และประเทศพม่า ภาคใต้ของประเทศไทย หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ทางด้านตะวันออก อาณาเขตด้านใต้แผ่ถึงเส้นเขตจินตนาการที่ลากจากดอนดราเฮดตอนใต้ของศรีลังกาไปถึงปลายด้านเหนือของเกาะสุมาตรา อ่าวเบงกอลมีเนื้อที่ 2,172,000 กม² มีแม่น้ำสำคัญหลายสายไหลมาลงทะเล เช่น แม่น้ำคงคา แม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำอิรวดี แม่น้ำโคทาวรี แม่น้ำมหานที แม่น้ำกฤษณา และแม่น้ำกาเวรี เมืองท่าสำคัญของอ่าวเบงกอล ได้แก่ กัททะลูร์ เจนไน กากีนาทะ มะจิลีปัตนัม วิศาขปัตนัม พาราทิพ โกลกาตา จิตตะกอง และย่างกุ้ง.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และอ่าวเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

ซิตตเว

ซิตตเว (စစ်တွေမြို့) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลางชะวากทะเลของปากแม่น้ำกะลาดาน มายู และเล-มโย โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่อ่าวเบงกอลซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557) เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือชาวยะไข่ รองลงมาคือชาวพม่าซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ฮินดู และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาวโรฮีนจาซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: รัฐยะไข่และซิตตเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: รัฐยะไข่และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

โรฮีนจา

รฮีนจา (ရိုဟင်ဂျာ โรฮีนจา; โรฮีนจา: Ruáingga รูไอง์กา; রোহিঙ্গা, Rohingga) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ (อาระกัน) ทางตะวันตกของประเทศพม่า และพูดภาษาโรฮีนจา ชาวโรฮีนจาและนักวิชาการบางส่วนกล่าวว่า โรฮีนจาเป็นชนพื้นเมืองในพื้นที่รัฐยะไข่ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์บางส่วนอ้างว่า พวกเขาอพยพเข้าพม่าจากเบงกอลในสมัยการปกครองของสหราชอาณาจักรเป็นหลัก และนักประวัติศาสตร์ส่วนน้อยกล่าวว่า พวกเขาอพยพมาหลังจากพม่าได้รับเอกราชในปี 2491 และหลังจากบังกลาเทศทำสงครามประกาศเอกราชในปี 2514 ชาวมุสลิมตั้งถิ่นฐานในรัฐยะไข่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ไม่สามารถประมาณจำนวนผู้ตั้งถิ่นฐานชาวมุสลิมก่อนการปกครองของสหราชอาณาจักรได้อย่างแม่นยำ หลังสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่งในปี 2369 สหราชอาณาจักรผนวกรัฐยะไข่และสนับสนุนให้มีการย้ายถิ่นจากเบงกอลเพื่อทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานในไร่นา ประชากรมุสลิมอาจมีจำนวนถึงร้อยละ 5 ของประชากรรัฐยะไข่แล้วเมื่อถึงปี 2412 แต่จากการประเมินของปีก่อนหน้าก็พบว่ามีจำนวนสูงกว่านี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ความรุนแรงระหว่างชุมชนก็ปะทุขึ้นระหว่างชาวยะไข่ซึ่งนับถือศาสนาพุทธกับหน่วยกำลังวี (V-Force) ชาวโรฮีนจาที่สหราชอาณาจักรติดอาวุธให้ และการแบ่งขั้วก็รุนแรงมากขึ้นในพื้นที่ ในปี 2525 รัฐบาลพลเอกเนวีนตรากฎหมายความเป็นพลเมืองซึ่งปฏิเสธความเป็นพลเมืองของชาวโรฮีนจา ในปี 2556 มีชาวโรฮีนจาประมาณ 735,000 คนอาศัยอยู่ในประเทศพม่า ส่วนใหญ่อยู่ในเมืองทางเหนือของรัฐยะไข่ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 80–98 ของประชากร สื่อระหว่างประเทศและองค์การสิทธิมนุษยชนกล่าวว่าชาวโรฮีนจาเป็นชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงที่สุดกลุ่มหนึ่งในโลก ชาวโรฮีนจาจำนวนมากหนีไปอยู่ในย่านชนกลุ่มน้อยและค่ายผู้ลี้ภัยในประเทศเพื่อนบ้านอย่างบังกลาเทศ รวมทั้งพื้นที่ตามชายแดนไทย–พม่า ชาวโรฮีนจากว่า 100,000 คนยังอาศัยอยู่ในค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในประเทศซึ่งทางการไม่อนุญาตให้ออกมา ชาวโรฮีนจาได้รับความสนใจจากนานาชาติในห้วงเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: รัฐยะไข่และเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ใหม่!!: รัฐยะไข่และเขตพะโค · ดูเพิ่มเติม »

เขตมะเกว

ตมาเกว (မကွေးတိုင်းဒေသကြီး) คือเขตการปกครองแห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศพม่า มีเนื้อที่ 17,306 ตารางไมล์ (44,820 ตารางกิโลเมตร).

ใหม่!!: รัฐยะไข่และเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิรวดี

ตอิรวดี (ဧရာဝတီတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำของแม่น้ำอิรวดี ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 15° 40' ถึง 18° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 15' ถึง 96° 15' ตะวันออก มีเนื้อที่ 13,566 ตารางไมล์ (35,140 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรมากกว่า 6.5 ล้านคน ทำให้เขตอิรวดีมีประชากรมากที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐหรือเขตอื่นของพม่า ความหนาแน่นของประชากรเป็น 466 คนต่อตารางไมล์ (180 คนต่อตารางกิโลเมตร) มีเมืองหลวงชื่อพะสิม (Pathein) เขตอิรวดีมีภูเขายะไข่ (ทิวเขาอะระกัน) กระหนาบข้างในพื้นที่ทางทิศตะวันตก และพื้นที่ส่วนใหญ่ถูกแผ้วถางสำหรับการเพาะปลูกข้าว ทำให้มีชื่อเสียงในเรื่องแหล่งผลิตข้าวหลักของประเทศในศตวรรษที่ 21 เขตอิรวดีก็มีทะเลสาบจำนวนหนึ่ง ในบรรดาลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำอิรวดี แม่น้ำที่มีชื่อเสียงได้แก่ แม่น้ำงะวูน (Ngawun) แม่น้ำพะสิม และแม่น้ำโต (Toe).

ใหม่!!: รัฐยะไข่และเขตอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ArakanRahkuing pranynaiRakhine Stateระขิ่นระขึน ปรัญนัยระขึนปรัญนัยรัฐระกันรัฐระกินรัฐระขิงรัฐระขินรัฐระขิ่งรัฐระขิ่นรัฐระคีนรัฐระเกียนรัฐอะระกันรัฐอาระกันရခုိင္‌ပ္ရည္‌နယ္‌

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »