โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไอ ทะกะฮะชิ

ดัชนี ไอ ทะกะฮะชิ

อ ทะกะฮะชิ (เกิดวันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2529) คือ นักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นของค่ายเฮลโล! โปรเจกต์ (Hello! Project) อดีตสมาชิกของกลุ่มนักร้องย่อย "มินิโมนิ" ปัจจุบันเธอดำรงตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มของกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ".

87 ความสัมพันธ์: บัลเลต์ชาวญี่ปุ่นพ.ศ. 2529พ.ศ. 2542พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2554กลุ่มนักร้องผสมของเฮลโล! พรอเจกต์การ์ตูนการ์ตูนญี่ปุ่นภาพยนตร์มอร์นิงมุซุเมะซะกุระงุมิมอร์นิงมูซูเมะมะอิ คุระกิมะโกะโตะ โอะงะวะมาริ ยางูจิมิกิ ฟุจิโมะโตะมินิโมนิรหัสมอร์สรายชื่อผลงานของมอร์นิงมุซุเมะรายการโทรทัศน์ริซะ นีงะกิฤดูร้อนละครเพลงวันพฤหัสบดีวันศุกร์วันอาทิตย์วิดีโอสึงกุสึเมะทาอิอุมิ/สตาร์ทอินมายไลฟ์อะยะ มะสึอุระอะยุมิ ฮะมะซะกิอะซะมิ คนโนะฮิโตะมิ โยะชิซะวะจังหวัดบาหลีจังหวัดฟูกูอิจังหวัดภูเก็ตดิจิทัลซะไกประเทศประเทศญี่ปุ่นประเทศอินโดนีเซียประเทศไทยนักร้องนักแสดง...นัตสึมิ อาเบะแมวแผ่นซีดีเพลงเฮลโล! พรอเจกต์เฮลโลคิตตีเจป็อป1 มิถุนายน1 ธันวาคม1 เมษายน11 เมษายน12 เมษายน13 สิงหาคม14 กันยายน14 มีนาคม16 พฤษภาคม16 ธันวาคม17 ธันวาคม21 เมษายน23 กรกฎาคม23 เมษายน25 มิถุนายน26 มีนาคม26 ธันวาคม27 พฤษภาคม27 มกราคม27 ตุลาคม29 กรกฎาคม29 กันยายน3 มีนาคม4 เมษายน5 กรกฎาคม6 พฤษภาคม6 ธันวาคม7 ตุลาคม8 เมษายน9 ธันวาคม ขยายดัชนี (37 มากกว่า) »

บัลเลต์

Classical bell tutus in ''The Dance Class'' by Degas, 1874 บัลเลต์ บัลเลต์ (ballet) หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยการเต้น และ ดนตรีมีลักษณะเช่นเดียวกับอุปรากร เพียงแต่บัลเลต์เป็นการนำเสนอเนื้อเรื่อง โดยใช้การเต้นเป็นสื่อ มีกำเนิดขึ้นในระหว่างศตวรรษที่ 15 ที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ได้แพร่หลายเข้าไปในประเทศอิตาลี การพัฒนาในยุคนี้คือ นิยมให้ผู้หญิงเป็นผู้แสดงเอก เรียกว่า บัลเลรินา (Ballerina) ศตวรรษที่ 20 บัลเลต์ได้รับการพัฒนาให้มีรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โมเดิร์นแดนซ์ (Modern Dance) คือ การนำเอาหลักของบัลเลต์มาผสมผสานดัดแปลงให้เป็นการเต้น โดยไม่ต้องใส่รองเท้าบัลเลต์และไม่ต้องใช้ปลายเท้าในลักษณะของบัลเลต์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการประพันธ์เพลงบัลเลต์ ได้แก่ ไชคอฟสกี โปรโกเฟียฟ คอปแลนด์ และฟัล.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและบัลเลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวญี่ปุ่น

วญี่ปุ่น มีประมาณ 140-150 ล้านคนทั่วโลก เป็นกลุ่มคนที่อาศัยอยู่บนเกาะญี่ปุ่น"人類学的にはモンゴロイドの一。皮膚は黄色、虹彩は黒褐色、毛髪は黒色で直毛。言語は日本語。" และที่ต่างๆทั่วโลก เช่น ฮาวาย สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ภาษาที่ใช้คือภาษาญี่ปุ่น ศาสนาที่สำคัญคือศาสนาพุทธ และลัทธิชินโต กลุ่มชาวญี่ปุ่นในปัจจุบัน ประกอบขึ้นด้วยกลุ่มบุคคลในอดีตได้แก่ชาวยามาโตะและชาวรีวกีว.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและชาวญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนักร้องผสมของเฮลโล! พรอเจกต์

กลุ่มนักร้องผสมของเฮลโล! พรอเจกต์ (シャッフルユニット: Hello! Project shuffle units) คือ ประเพณีการตั้งกลุ่มนักร้องพิเศษในสังกัดเพลง "เฮลโล! พรอเจกต์" ของประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยจะตั้งปีละ 3 กลุ่ม เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา จนถึงปี พ.ศ. 2548 แนวคิดหลักในการก่อตั้งกลุ่มผสมนี้คือการนำเอาสมาชิกปัจจุบันที่อยู่ในสังกัดทั้งเดี่ยวและกลุ่ม (เช่น มอร์นิงมุซุเมะ, คันทรีมุซุเมะ, อายะ มัตสึอูระ, เมลอนคิเน็มบิ ฯลฯ) มาคละจำนวนกันและนำไปบรรจุไว้ในแต่ละกลุ่ม โดยสมาชิกทั้ง 3 กลุ่มนี้จะต้องทำงานร่วมกันเป็นเวลา 1 ฤดูกาล เพื่อแข่งขันกันว่ากลุ่มใดจะสามารถสร้างยอดขายตลอดทั้งฤดูกาลนั้นได้มากที่สุด ในแต่ละปีจะมีการตั้งหัวข้อหลักเอาไว้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างกลุ่มทั้ง 3 กลุ่ม เช่น ในปี..

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและกลุ่มนักร้องผสมของเฮลโล! พรอเจกต์ · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูน

ตัวอย่างการ์ตูน ตัวอย่างแอนิเมชัน การ์ตูน (cartoon) คือทัศนศิลป์สองมิติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งความหมายที่เฉพาะเจาะจงแปรเปลี่ยนไปตามเวลา ความหมายในสมัยใหม่โดยทั่วไปหมายถึง การวาดเส้นหรือจิตรกรรมแบบกึ่งสัจนิยมหรืออสัจนิยม (กึ่งเหมือนจริงหรือไม่เหมือนจริง) เพื่อการเสียดสี การล้อเลียน ความขบขัน หรือการแสดงออกซึ่งกระบวนแบบเชิงศิลปะ ศิลปินผู้วาดการ์ตูนเรียกว่านักเขียนการ์ตูน (cartoonist) ในยุคอดีต การ์ตูนหมายถึงภาพร่างหรือภาพวาดที่ใช้การเรียนการศึกษาแทนการใช้ภาพจริง ในปัจจุบันการ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบัน ที่มีการฉายทางโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ตูนใช้แทนรายการสำหรับเด็กที่มีการใช้สัตว์หรือสิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์ การ์ตูนปัจจุบันจะพบได้จากหนังสือ, หนังสือพิมพ์ (ซึ่งมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับข่าว การเมือง บันเทิง), โปสเตอร์, ภาพยนตร์ เป็นต้น นายแพทย์ ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึงการ์ตูนว่า "หน้าที่หนึ่งของการ์ตูน คือกระตุกความคิดของเยาวชน ไม่ต้องสอน".

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและการ์ตูนญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มอร์นิงมุซุเมะซะกุระงุมิ

มอร์นิงมุซุเมะซะกุระงุมิ (モーニング娘。 さくら組) (พ.ศ. 2546 – 2547) คือ กลุ่มนักร้องพิเศษที่แบ่งตัวมาจากกลุ่มนักร้องเจ-ป็อปหญิงญี่ปุ่นที่ชื่อ มอร์นิงมุซุเมะ โดยมีจุดประสงค์เพื่อที่จะสามารถเข้าไปแสดงคอนเสิร์ตในเมืองบางเมืองของประเทศญี่ปุ่นที่ไม่สามารถรองรับการแสดงคอนเสิร์ตของศิลปินกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ได้ ซึ่งสมาชิกที่อยู่ในกลุ่มนี้ก็คือสมาชิกของมอร์นิงมุซุเมะในขณะนั้นจำนวน 8 คนจากทั้งหมด 16 คนนั่นเอง กลุ่มนี้ได้สร้างงานเพลงซิงเกิลออกมาจำนวน 2 เพลงด้วยกัน ก่อนที่จะกลับไปรวมเข้ากับกลุ่ม มอร์นิงมุซุเมะ โอโตเมะกูมิ (ซึ่งเป็นกลุ่มอีกกลุ่มหนึ่งที่แบ่งตัวออกมาพร้อมกัน) ในปี พ.ศ. 2547 เพื่อที่จะกลับมาเป็นกลุ่มมอร์นิงมุซุเมะกลุ่มใหญ่เหมือนเดิม ในชื่อของกลุ่มนี้ คำว่า “ซากูระ” หมายถึงดอกซากูระ ส่วนคำว่า “กูมิ” หรือ “กุมิ” นั้น เป็นคำในภาษาญี่ปุ่นที่แปลว่า กลุ่ม ซึ่งเมื่อนำชื่อทั้งหมดมาแปลเป็นภาษาไทยแล้วจะมีความหมายว่า มอร์นิงมุซุเมะ กลุ่มดอกซากูร.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมอร์นิงมุซุเมะซะกุระงุมิ · ดูเพิ่มเติม »

มอร์นิงมูซูเมะ

มอร์นิงมูซูเมะ คือ กลุ่มนักร้องหญิงของประเทศญี่ปุ่น สังกัดค่ายเฮลโล! โปรเจกต์ ได้รับการก่อตั้งในนามของสึงกุ (หรือเทราดะ มิตสึโอะ โปรดิวเซอร์และผู้ประพันธ์คำร้องและทำนองประจำกลุ่ม) มีแนวเพลงประจำคือแนวเจ-ป็อปที่มีจังหวะสนุกสนาน ชื่อ "มอร์นิงมูซูเมะ" เกิดจากการรวมกันของคำว่า "มอร์นิง" (Morning) ซึ่งเป็นคำในภาษาอังกฤษแปลว่า "ยามเช้า" กับคำว่า "มูซูเมะ" (娘) ซึ่งเป็นคำในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า "บุตรสาว" หรือ "เด็กผู้หญิง" เมื่อรวมทั้งสองคำนี้เข้าด้วยกัน คำว่ามอร์นิงมูซูเมะจึงมีความหมายว่า "เหล่าสาวน้อยแห่งรุ่งอรุณ" (Morning Girls) หรือ "บุตรสาวแห่งรุ่งอรุณ" (Morning Daughter) Keith Cahoon.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมอร์นิงมูซูเมะ · ดูเพิ่มเติม »

มะอิ คุระกิ

มะอิ คุระกิ หรือชื่อจริง มะอิ อะโอะโนะ (เกิด 28 ตุลาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงแนวป็อป อาร์แอนด์บีร่วมสมัย และโปรดิวเซอร์ ชาวญี่ปุ่น จากเมืองฟุนะบะชิ จังหวัดชิบะ มะอิเปิดตัวครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

มะโกะโตะ โอะงะวะ

มาโกโตะ โองาวะ (ญี่ปุ่น: 小川麻琴 / อังกฤษและโรมะจิ: Ogawa Makoto) (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2530) คือสมาชิกรุ่นที่ห้าแห่งกลุ่มนักร้องหญิง มอร์นิงมุซุเม.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมะโกะโตะ โอะงะวะ · ดูเพิ่มเติม »

มาริ ยางูจิ

มาริ ยางูจิ (ญี่ปุ่น: 矢口真里/อังกฤษและโรมะจิ: Yaguchi Mari) (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2526) เป็นนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น สังกัดค่ายเฮลโล! โปรเจกต์ เธอคืออดีตสมาชิกของกลุ่มนักร้องหญิงญี่ปุ่น มอร์นิงมูซูเมะ, กลุ่มนักร้องย่อย ทัมโปโปะ (กลุ่มย่อยกลุ่มแรกของมอร์นิงมูซูเมะ), กลุ่มนักร้องย่อย มินิโมนิ รุ่นก่อตั้ง, กลุ่มนักร้องย่อย ซิกซ์, และกลุ่มนักร้อง โรแมนซ์ นอกจากกลุ่มทั้งหมด เธอยังเคยเป็นหัวหน้ากลุ่มของกลุ่มย่อย มอร์นิงมูซูเมะ ซากูระกูมิ (กลุ่มย่อยที่เกิดขึ้นเมื่อมอร์นิงมูซูเมะถูกแยกออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อความสะดวกในการตระเวนแสดงคอนเสิร์ตทั่วประเทศญี่ปุ่น) หลังจากที่นัตสึมิ อาเบะได้ ‘สำเร็จการศึกษา’ ออกไป.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมาริ ยางูจิ · ดูเพิ่มเติม »

มิกิ ฟุจิโมะโตะ

มิกิ ฟุจิโมะโตะ (ญี่ปุ่น: 藤本美貴/อังกฤษและโรมะจิ: Fujimoto Miki) (เกิดวันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1985) คือ นักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดค่ายเฮลโล! โปรเจกต์ อดีตนักร้องเดี่ยวและหัวหน้ากลุ่มของกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ" ปัจจุบัน เธอคือสมาชิกของกลุ่มนักร้องสองคนที่ชื่อ "แกม".

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมิกิ ฟุจิโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

มินิโมนิ

มินิโมนิ (ญี่ปุ่น: ミニモニ。 / อังกฤษและโรมะจิ: MiniMoni) คือ อดีตกลุ่มนักร้องย่อยของกลุ่มนักร้องเจ-ป็อปหญิงที่ชื่อมอร์นิงมุซุเมะ (モーニング娘。) สมาชิกทุกคนของกลุ่มนี้ต้องมีความสูงมากที่สุดไม่เกิน 150 เซนติเมตร ในช่วงเวลาที่มินิโมนิยังปฏิบัติงานอยู่ กลุ่มนักร้องกลุ่มนี้ถือเป็นหนึ่งในกลุ่มย่อยของมอร์นิงมุซุเมะที่มีชื่อเสียงมากที่สุด สาเหตุเกิดจากการผสมผสานระหว่างมิวสิกวิดีโอและการแสดงสดที่แปลกตา รูปแบบการร้องเสียงผสาน และแนวเพลงที่หลากหลายอย่างมาก เข้าด้วยกัน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและมินิโมนิ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสมอร์ส

แผนผังอักษรและตัวเลขรหัสมอร์ส รหัสมอร์ส (Morse code) เป็นวิธีการส่งผ่านสารสนเทศข้อความเป็นชุดสัญญาณเสียง ไฟหรือเสียงเคาะ (click) เปิด-ปิดซึ่งผู้ฟังหรือผู้สังเกตที่มีทักษะสามารถเข้าใจได้โดยตรงโดยไม่มีอุปกรณ์พิเศษ รหัสมอร์สระหว่างประเทศเข้ารหัสพยัญชนะละตินพื้นฐานของไอเอสโอ อักษรละตินเพิ่มอีกบ้าง ตัวเลขอารบิกกระบวนคำสั่งเป็นลำดับสัญญาณสั้นและยาวซึ่งจัดทำไว้เป็นมาตรฐาน เรียก "ดอต" และ "แดช" มีการขยายพยัญชนะมอร์สสำหรับภาษาธรรมชาตินอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เพราะหลายภาษาดังกล่าวใช้มากกว่าอักษรโรมัน 26 ตัว.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและรหัสมอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของมอร์นิงมุซุเมะ

หน้าปกซีดีซิงเกิล "มอร์นิงคอฟฟี" ผลงานอย่างเป็นทางการซิ้นแรกของมอร์นิงมุซุเมะ ที่จุดประกายชื่อเสียงและความโด่งดังอย่างกว้างขวางให้แก่กลุ่มจนมาถึงปัจจุบัน ผลงานของมอร์นิงมุซุเมะ ในบทความนี้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลงานที่ได้รับการจัดจำหน่ายอย่างเป็นทางการแทบทั้งหมดของกลุ่มนักร้องญี่ปุ่น มอร์นิงมุซุเมะ ผลงานเหล่านี้ได้รับการจัดจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นโดยบริษัท เซติมะ เรคคอร์ด และจัดจำหน่ายในไต้หวัน (ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2550) โดยบริษัทฟอรเวิร์ดมิวสิก.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและรายชื่อผลงานของมอร์นิงมุซุเมะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการโทรทัศน์

รายการทอล์กโชว์ The Oprah Winfrey Show โดย โอปราห์ วินฟรีย์ รายการโทรทัศน์ เป็นส่วนต่าง ๆ ของการออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ การออกอากาศรายการโทรทัศน์ มีขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1936 ในกรุงลอนดอน รายการโทรทัศน์ อาจออกอากาศเพียงแค่ครั้งเดียว หรือมีตอนต่อ ที่เรียกว่า ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ (TV series) ส่วนมากมักเป็นรายการประเภทละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์มักแบ่งเป็นภาค ๆ โดยในหนึ่งภาค ในสหรัฐอเมริกาจะเรียกว่า ฤดูกาล (season) แต่ในสหราชอาณาจักรจะเรียกว่า ชุด (series) แต่ละฤดูกาลหรือชุดจะมีความยาวประมาณ 6-26 ตอน รายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศเป็นพิเศษเพียงครั้งเดียว จะเรียกว่า รายการพิเศษ (special program) และสถานีวิทยุโทรทัศน์บางสถานี ยังมี ภาพยนตร์โทรทัศน์ (TV movies) ที่สร้างขึ้นเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์โดยเฉพาะ ไม่ได้ออกฉายทางโรงภาพยนตร์ หรือบันทึกลงในวิดีโอ วีซีดี ดีวีดี หรือสื่ออื่น ๆ ทุกวันนี้ การออกอากาศ ภาพยนตร์โฆษณา (commercial advertisement) ถือเป็นส่วนสำคัญของรายการโทรทัศน์ โดยมีข้อปฏิบัติเป็นเกณฑ์ว่า ในการออกอากาศรายการโทรทัศน์ 1 ชั่วโมง จะมีภาพยนตร์โฆษณาได้ไม่เกิน 15 นาที เหมือนในโรงภาพยนตร.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและรายการโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ริซะ นีงะกิ

ริซะ นีงะกิ (ญี่ปุ่น: 新垣里沙; โรมะจิ: Niigaki Risa) (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2531) คือ นักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น หนึ่งในสมาชิกรุ่นที่ 5 และปัจจุบันเป็นรองหัวหน้ากลุ่มของกลุ่มนักร้อง "มอร์นิงมุซุเมะ" (モーニング娘。).

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและริซะ นีงะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูร้อน

ูร้อนในประเทศเบลเยี่ยม ฤดูร้อน (Summer) เป็นฤดูที่มีอากาศร้อนที่สุดในปี ฤดูร้อนในเขตอบอุ่นและเขตหนาวของซีกโลกเหนืออยู่ระหว่างฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง โดยทั่วไปคือตั้งแต่ 21 มิถุนายน (วันครีษมายัน) ถึง 21 กันยายน (วันศารทวิษุวัต) ในฤดูร้อนกลางวันจะยาวกว่ากลางคืน โดยความยาวของวันจะเริ่มลดลงเมื่อสิ้นฤดูร้อน ในวันวิษุวัต วันที่เริ่มต้นของฤดูร้อนในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ตามสภาพแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ในทางโหราศาสตร์จีน ฤดูร้อนจะเริ่มต้นตั้งแต่ประมาณวันที่ 5 พฤษภาคม คือเมื่อ jiéqì (ปฏิทินโหราศาตร์จีน) เข้าสู่สภาวะ lìxià (立夏) และจบลงราววันที่ 6 สิงหาคม.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ละครเพลง

ละครเพลง (Musical theatre) เป็นรูปแบบของละครที่นำดนตรี เพลง คำพูด และการเต้นรำ รวมเข้าด้วยกัน การแสดงอารมณ์ ความสงสาร ความรัก ความโกรธ รวมไปถึงเรื่องราวที่บอกเล่าผ่านละคร ผ่านคำพูด ดนตรี การเคลื่อนไหว เทคนิคต่าง ๆ ให้เกิดความบันเทิงโดยรวม ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 การแสดงละครเพลงบนเวทีจะเรียกว่าง่าย ๆ ว่า มิวสิคัล (musicals) ละครเพลงมีการแสดงทั่วไป ทั่วโลก อาจจะแสดงในงานใหญ่ ๆ ที่มีทุนสร้างสูงอย่าง เวสต์เอนด์ และ ละครบรอดเวย์ ในลอนดอนและนิวยอร์กซิตี หรือโรงละครฟรินจ์ที่เล็กลงมา, ออฟ-บรอดเวย์ หรือ การแสดงท้องถิ่น, ทัวร์ละครเพลง หรือการแสดงสมัครเล่นในโรงเรียน มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ในอังกฤษและอเมริกาเหนือ ละครเพลงมีความโดดเด่นในหลายประเทศในยุโรป ละตินอเมริกา และเอเชีย ละครเพลงที่มีชื่อเสียงเช่น Show Boat, Oklahoma!, West Side Story, The Fantasticks, Hair, A Chorus Line, Les Misérables, The Phantom of the Opera, Rent และ The Producers หมวดหมู่:ละครเวที.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและละครเพลง · ดูเพิ่มเติม »

วันพฤหัสบดี

วันพฤหัสบดี เป็นวันลำดับที่ 5 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพุธกับวันศุกร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 4 ของสัปดาห.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและวันพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

วันศุกร์

วันศุกร์ เป็นวันลำดับที่ 6 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพฤหัสบดีกับวันเสาร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 5 ของสัปดาห์ วันศุกร์เป็นวันสำคัญทางศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมจะไปชุมนุมที่มัสยิดเพื่อนมาซวันศุกร์เวลาเที่ยงพร้อมกัน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและวันศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

วันอาทิตย์

วันอาทิตย์ เป็นวันในสัปดาห์ที่อยู่ระหว่างวันเสาร์กับวันจันทร์ ตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของจูเดโอ-คริสเตียน วันอาทิตย์ถือเป็นวันแรกของสัปดาห์ แต่ต่อมาในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็มีการนับให้วันอาทิตย์เป็นวันที่ 7 ของสัปดาห์ (และให้วันจันทร์เป็นวันที่หนึ่งแทน) ตามที่ระบุไว้ใน ISO 8601 อย่างไรก็ตามในบางวัฒนธรรมยังกำหนดให้วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์อยู.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและวันอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิดีโอ

ระบบวิดีโอแบบที่นิยมทั่วโลก สีเขียวแสดงถึงประเทศที่ใช้ระบบ NTSC สีเหลือง PAL และสีส้ม SECAM วิดีโอ (video) หรือ วีดิทัศน์ หรือมักสะกดผิดว่า วีดีโอ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความบันเทิงในบ้าน ใช้ต่อพ่วงกับโทรทัศน์ มีระบบหลักๆ คือ NTSC PAL และ SECAM.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

สึงกุ

ึงกุ (ญี่ปุ่น: つんく / อังกฤษและโรมะจิ: Tsunku) หรือ มิสึโอะ เทราดะ (ญี่ปุ่น: 寺田 光男 / อังกฤษและโรมะจิ: Terada Mitsuo) (เกิดวันอังคารที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2511) คือ โปรดิวเซอร์ดนตรี นักประพันธ์เพลง และนักร้องชายชาวญี่ปุ่น ปัจจุบัน สสึงกุทำหน้าที่เป็นนักร้องนำของวงดนตรี "ชารัม คิว" เป็นผู้ผลิตและประพันธ์เพลงหลักให้กับศิลปินในสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ และเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทด้านการบันเทิงที่ชื่อ "ทีเอ็นเอ็กซ์".

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและสึงกุ · ดูเพิ่มเติม »

สึเมะทาอิอุมิ/สตาร์ทอินมายไลฟ์

ลงสึเมะทาอิอุมิ/สตาร์ทอินมายไลฟ์ เป็นซิงเกิ้ลที่ 7 ของไม คุรากิ และเป็นซิงเกิ้ลแรกที่เป็นแบบดับเบิ้ล-เอ ไซด์(มีเพลงหลัก 2 เพลง)ถูกใช้ในอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและสึเมะทาอิอุมิ/สตาร์ทอินมายไลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะยะ มะสึอุระ

อะยะ มะสึอุระ (ชื่อเล่นว่า Ayaya เกิด 25 มิถุนายน 2529) เป็นนักร้องแนวเจ-ป็อปของสังกัด "เฮลโล! โปรเจกต์" และนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและอะยะ มะสึอุระ · ดูเพิ่มเติม »

อะยุมิ ฮะมะซะกิ

อะยุมิ ฮะมะซะกิ เป็นนักร้อง นักประพันธ์เพลง ชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1978 ด้วยบทเพลงอันอ่อนหวานและเรียบง่ายของเธอ อันบรรยายถึงความรักและชีวิต จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็นเจ้าหญิงในแนวเจ-ป็อป อัลบั้ม A song for ×× อันเป็นอัลบั้มแรกของเธอสามารถขึ้นชาร์ตอันดับที่ 1 นานกว่า 5 สัปดาห์ในญี่ปุ่น และอัลบั้มต่อมา คืออัลบั้ม LOVEppears มียอดจำหน่ายกว่า 2 ล้านชุดในสิงคโปร์ และเป็นอัลบั้มที่มีการพูดถึงมากที่สุดในสถานีวิทยุนานาชาติ ทั้งสองอัลบัมของเธอติดอันดับ Top -3 ในเดือนกันยายน ซึ่งเป็นหนึ่งในศิลปินที่นับว่าหาได้ยาก อะยุมิเริ่มฟังเพลงร็อกคลาสิก เช่น Led eppelin และ Deep purple โดยการชักนำของพี่ชายของเธอ ทำให้เธอเพลิดเพลินกับแนวอาร์แอนด์บีที่ฝังอยู่ในสายเลือ.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและอะยุมิ ฮะมะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

อะซะมิ คนโนะ

อะซะมิ คนโนะ (เกิดวันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) คือนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น ผู้เป็นอดีตสมาชิกรุ่นที่ห้าแห่งกลุ่มนักร้อง มอร์นิงมุซุเม.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและอะซะมิ คนโนะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโตะมิ โยะชิซะวะ

ตะมิ โยะชิซะวะ (() เกิดวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2528 เธอคือนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น อดีตหัวหน้ากลุ่มนักร้องหญิงมอร์นิงมุซุเมะ ปัจจุบัน เธอทำหน้าที่เป็นศิลปินเดี่ยวประจำสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ และหัวหน้าทีมฟุตซอลประจำสังกัดที่ชื่อ Gatas Brilhantes H.P.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและฮิโตะมิ โยะชิซะวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาหลี

หลี (Bali) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดินปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและจังหวัดบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟูกูอิ

จังหวัดฟูกูอิ ตั้งอยู่บริเวณภาคจูบุของญี่ปุ่น มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองฟูกูอิ ฟูกูอิ.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและจังหวัดฟูกูอิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิทัล

ทัล (digital), เฉพาะชื่อเฉพาะอาจสะกดเป็น ดิจิทอล หรือ ดิจิตอล) หรือในศัพท์บัญญัติว่า เชิงเลข ในทฤษฎีข้อมูลหรือระบบข้อมูล เป็นวิธีแทนความหมายของข้อมูลหรือชิ้นงานต่างๆในรูปแบบของตัวเลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างจากระบบแอนะล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณแอนะล็อกซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของข้อมูลโดยการใช้ฟังชั่นที่ต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า การแทนความหมายเป็นดิจิทัลจะไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลที่ถูกแปลความหมายนั้นสามารถเป็นได้ทั้งไม่ต่อเนื่อง (เช่นตัวเลขหรือตัวหนังสือ) หรือต่อเนื่อง (เช่นเสียง,ภาพและการวัดอื่นๆ) คำว่าดิจิทัลที่มาจากแหล่งเดียวกันกับคำว่า digit และ digitus (ภาษาละตินแปลว่านิ้ว) เพราะนิ้วมือมักจะใช้สำหรับการนับที่ไม่ต่อเนื่อง นักคณิตศาสตร์ จอร์จ CStibitz ของห้องปฏิบัติการโทรศัพท์เบลล์ ใช้คำว่าดิจิทัลในการอ้างอิงถึงพัลส์ไฟฟ้าเร็วที่ปล่อยออกมาจากอุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อเล็งและยิงปืนต่อต้านอากาศยานในปี 1942 มันเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในการระบบคำนวณและระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริงจะถูกแปลงเป็นรูปแบบตัวเลขฐานสองเช่นในเสียงออดิโอดิจิทัลและการถ่ายภาพดิจิทัล.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

ซะไก

ซะไก เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดโอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น ในอดีตซะไกเคยเป็นเมืองท่าที่ใหญ่และสำคัญที่สุดของญี่ปุ่นตั้งแต่ยุคกลาง ซะไกในปัจจุบันก่อตั้งขึ้นในวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและซะไก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศ

แผนที่แสดงประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ประเทศ เป็นบริเวณที่ระบุเป็นเอนทิตีต่างหากในภูมิศาสตร์การเมือง ประเทศอาจเป็นรัฐเอกราชหรือรัฐที่ถูกรัฐอื่นยึดครอง เป็นรัฐซึ่งไร้เอกราชหรืออดีตเขตปกครองทางการเมืองเอกราช หรือพื้นที่ภูมิศาสตร์ซึ่งเป็นที่ตั้งของประชาชนที่เดิมไม่ขึ้นต่อกันหรือมีความสัมพันธ์ต่างกันซึ่งมีลักษณะทางการเมืองเป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและนักร้อง · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

นัตสึมิ อาเบะ

นัตสึมิ อาเบะ (ญี่ปุ่น: 安倍なつみ; โรมะจิ: Abe Natsumi; 10 สิงหาคม พ.ศ. 2524 —) เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัด "เฮลโล! โปรเจกต์" อดีตสมาชิกกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ".

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและนัตสึมิ อาเบะ · ดูเพิ่มเติม »

แมว

แมว เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในตระกูล Felidae ต้นตระกูลมาจากเสือไซบีเรีย (Felis tigris altaica) ซึ่งมีช่วงลำตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลำตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัดอยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อ มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ สืบสายเลือดมาจากแมวป่าที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งลักษณะบางอย่างของแมวยังคงพบเห็นได้ในแมวบ้านปัจจุบัน แมวเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เมื่อประมาณ 9,500 ปีก่อน ซึ่งจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของแมวคือการทำมัมมี่แมวที่พบในสมัยอียิปต์โบราณ หรือในพิพิธภัณฑ์อังกฤษในลอนดอน มีการแสดงสมบัติที่นำออกมาจากพีระมิดโบราณแห่งอียิปต์ ซึ่งรวมถึงมัมมี่แมวหลายตัว ซึ่งเมื่อนำเอาผ้าพันมัมมี่ออกก็พบว่า แมวในสมัยโบราณทุกตัวมีลักษณะใกล้เคียงกัน คือเป็นแมวที่มีรูปร่างเล็ก ขนสั้นมีแต้มสีน้ำตาล มีความคล้ายคลึงกับพันธุ์ในปัจจุบัน ที่เรียกว่าแมวอะบิสซิเนี.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและแมว · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นซีดี

แผ่นซีดี แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นจานแสง หรือดิสก์แสงเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตราฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและแผ่นซีดี · ดูเพิ่มเติม »

เพลง

นักร้องและนักแต่งเพลงแจ๊สชาวอเมริกัน บิลลี ฮอลิเดย์ในนครนิวยอร์กในปี ค.ศ. 1947 เพลง หมายถึง ถ้อยคำที่นักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้น ซึ่งประกอบด้วย เนื้อร้อง ทำนอง จังหวะ ทำให้เกิดความไพเราะสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟัง มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ทั้งด้านการเลือกสรรคำที่ใช้ในการแต่ง การเรียบเรียงประโยค และการใช้โวหาร เพลงนั้นอาจให้ข้อคิดแก่ผู้ฟังในการดำเนินชีวิตด้วยสำเนียงขับร้อง ทำนองดนตรี กระบวนวิธีรำระบำ โดยเพลงสร้างสรรค์จากเครื่องดนตรีหรือการขับร้อง.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและเพลง · ดูเพิ่มเติม »

เฮลโล! พรอเจกต์

ตราสัญลักษณ์ของค่ายเฮลโล! พรอเจกต์ เฮลโล! พรอเจกต์ (อังกฤษ: Hello! Project หรือตัวย่อ H!P/ญี่ปุ่น: ハロー!プロジェクト/โรมะจิ: Harō! Purojekuto) คือ สังกัดเพลงย่อยสัญชาติญี่ปุ่นที่มีสังกัดแม่เป็นกลุ่มบริษัท อัป-ฟร้อนต์ ศิลปินในสังกัดนี้เป็นศิลปินสุภาพสตรีล้วน โดยมีโปรดิวเซอร์ประจำสังกัดคือ สึงกุ หรือเทราดะ มิตสึโอะ (นักร้องนำของวงชารัม คิว) ส่วนกลุ่มนักร้องที่เป็นกลุ่มหลักประจำสังกัดนี้ คือกลุ่ม "มอร์นิงมุซุเมะ" ซึ่งศิลปินเดี่ยวที่ยังอยู่ในสังกัดนี้ ส่วนใหญ่เคยเป็นสมาชิกของมอร์นิงมุซุเมะมาก่อน นอกจากนี้มอร์นิงมุซุเมะและศิลปินเดี่ยวที่เป็นอดีตสมาชิกของมอร์นิงมุซุเมะแล้ว เฮลโล! พรอเจกต์ ยังมีกลุ่มนักร้องและศิลปินเดี่ยวอยู่อีกจำนวนหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เบอร์รีซ์โคโบ แกม บิยูเด็ง และ °คิวต์ เป็นต้น เฮลโล! พรอเจกต์ จะมีประเพณีการสร้าง "กลุ่มนักร้องผสม" (shuffle units) ขึ้นมาปีละ 3 กลุ่ม โดยจะจัดเอาสมาชิกในสังกัดทุกคนเข้าไปอยู่ในแต่ละกลุ่ม และแต่ละกลุ่มจะต้องสร้างผลงานให้อยู่ในจุดสูงสุดของตารางจัดอันดับเพลงในญี่ปุ่นให้ได้ ซึ่งกลุ่มนักร้องผสมที่ถือว่าดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่สังกัดเคยมีมาคือกลุ่ม "เอ.พี.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและเฮลโล! พรอเจกต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮลโลคิตตี

ลโลคิตตี (ชื่อเต็ม: คิตตีไวท์) คือตัวละครที่สร้างโดยบริษัทซานริโอ้ ประเทศญี่ปุ่น ออกแบบครั้งแรกโดยคุณยูโกะ ชิมิซุ โดยเธอวาดออกมาเป็นภาพแมวญี่ปุ่นหางสั้น เพศเมีย สีขาว ที่ติดโบว์สีแดง เฮลโลคิตตีปรากฏตัวครั้งแรกในรายการ “A vinyl coin purse” เป็นที่รู้จักในประเทศญี่ปุ่นในปี 1974 และนำถูกนำไปออกอากาศที่สหรัฐอเมริกาในปี 1976 โดยมีบุคลิกที่แสดงออกถึงความน่ารักของวัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของญี่ปุ่น ในปี 2010 ที่เฮลโลคิตตีที่มีอายุครบ 36 ปี บริษัทซานริโอได้สร้างให้ตัวละครนี้เป็นปรากฏการณ์การตลาดระดับโลกที่มีมูลค่าถึง ห้าพันล้านดอลล่าร์ และต่อมาในปี 2014 เมื่อเฮลโลคิตตีมีอายุ 40 ปี ก็สามารถสร้างมูลค่าตลาดได้ถึงเจ็ดพันล้านดอลลาร์ โดยไม่ต้องมีการโฆษณาใด ๆ จากเป้าหมายเดิมที่มุ่งเน้นลูกค้าในกลุ่มก่อนวัยรุ่น ตลาดของเฮลโลคิตตี ได้ขยายไปสู่ผู้บริโภคที่เป็นผู้ใหญ่ เราสามารถพบผลิตภัณฑ์ของเฮลโลคิตตีได้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตั้งแต่อุปกรณ์การเรียน เครื่องประดับแฟชั่น จนถึงสินค้าราคาแพง ๆ และคิตตีถูกสร้างเป็น ละครทีวีเฮลโลคิตตี สำหรับเด็กอีกหลายตอน นอกจากนั้นยังเป็น ตัวละครหลักของสวนสนุกซานริโอ้ 2 แห่งในญี่ปุ่น ได้แก่ ฮาร์โมนีแลนด์ และสวนสนุกในร่ม ซานริโอ้ พูโรแลนด์ อีกด้ว.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและเฮลโลคิตตี · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ12 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤษภาคม

วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ16 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ21 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ23 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ25 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ26 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 ธันวาคม

วันที่ 26 ธันวาคม เป็นวันที่ 360 ของปี (วันที่ 361 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 5 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ26 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มกราคม

วันที่ 27 มกราคม เป็นวันที่ 27 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 338 วันในปีนั้น (339 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ27 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ27 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ6 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไอ ทะกะฮะชิและ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ai TakahashiTakahashi Aiทะกะฮะชิ ไอทากาฮาชิ ไอไอ ทากาฮาชิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »