โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไคเซ็ง

ดัชนี ไคเซ็ง

ซ็ง เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ดีขึ้น หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ไคเซ็งโดยความหมายทั่วๆไปแล้วจะหมายความว่า สภาพสิ่งที่ไม่ดีปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรมการผลิตไคเซ็งที่ใช้ในโรงงานผู้ปฏิบัติงานจะเป็นแกนกลางในการปฏิบัติในกิจกรรมนี้ (Bottom up).

7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2523สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์อุตสาหกรรมการผลิตโพกะโยเกโรงงานโตโยต้า5ส

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไคเซ็งและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ไคเซ็งและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

อุตสาหกรรมการผลิต

อรมัน, circa 1975). อุตสาหกรรมการผลิต (manufacturing) คือ การผลิตสินค้า เพื่อการใช้หรือขายโดยมี เครื่องจักร อุปกรณ์ การดำเนินการทางเคมีและชีวะ และ คนงาน เป็นส่วนร่วมในการผลิต อุตสาหกรรมการผลิต สามารถหมายถึง การประกอบกิจกรรมของมนุษย์ ตั้งแต่ หัตถกรรม ไปจนถึง เทคโนโลยีขั้นสูง โดยปกติจะใช้กับการผลิตแบบอุตสาหกรรม ซึ่ง วัตถุดิบ นั้นถูกเปลี่ยนไปเป็น ผลิตภัณฑ์ ในระดับอุตสาหกรรม โดยผลิตภัณฑ์เหล่านั้น อาจจะถูกใช้สำหรับการผลิตของสิ่งของอย่างอื่นที่มีความซับซ้อนมากกว่า เช่น อากาศยาน ของใช้ในครัวเรือน รถยนต์ หรือ ขายให้กับ ผู้ขายส่ง ผู้ที่จะขายให้กับ ผู้ค้าปลีก ซึ่งจะขายต่อให้กับผู้ใช้ หรือ ผู้บริโภค การผลิต นั้นเกิดขึ้นในทุกๆระบบเศรษฐกิจ ปกติแล้วในเศรษฐกิจตลาดเสรีนั้น การผลิตจะมุ่งไปในการ การผลิตมวลรวม ของ ผลิตผล เพื่อขายสู่ ผู้บริโภค ในราคาที่มีกำไร ใน ระบบเศรษฐกิจแบบระบบรวมอำนาจการผลิต นั้น ส่วนใหญ่แล้วการผลิตได้ถูกนำโดยรัฐเพื่อจัดหา ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง ใน เศรษฐกิจแบบผสม นั้น การผลิตส่วนหนึ่งนั้นเกิดขึ้นภายใต้กฎข้อบังคับกฎข้อบังคับ ของรัฐบาล.

ใหม่!!: ไคเซ็งและอุตสาหกรรมการผลิต · ดูเพิ่มเติม »

โพกะโยเก

โพะกะโยะเกะ เป็นระบบหรืออุปกรณ์ที่ถูกตั้งขึ้นเพื่อป้องกันการผิดพลาดของการทำงานในสายการผลิต ของโรงงานเป็นต้น ในเรื่องของอุปกรณ์ รากศัพท์ของคำว่า "โพะกะโยะเกะ" มาจากหมากล้อม,หมากรุกญี่ปุ่น ที่นำมาใช้เป็นคำศัพท์นี้ โดยปกติมีความหมายว่าเดินหมากพลาดโดยที่คิดไม่ถึง Poka เราจึง Yokeru มึความหมายแปลว่าหลีกเลี่ยง ในโรงงานจะใช้คนทำงานเสียส่วนใหญ่ ซึ่งความผิดพลาดของแต่ละคนในการทำงานก็มีมากเช่นเดียวกัน ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นก็คือของเสียเป็นต้นจะเกี่ยวเนื่องกับปัญหาเรื่องคุณภาพตามมาเสียส่วนใหญ่ หรือเมื่อความผิดพลาดที่เกิดขึ้นกลายเป็นผลิตภัณฑ์แล้วการค้นหาและการเลือกของเสียออกจากของดี ก็จะใช้เวลามากรวมถึงค่าใช้จ่ายก็จะตามมา หรือการค้นหาของไม่ดีที่เกิดขึ้นก็ยากและอาจจะหลุดลอดไปสู่ตลาดหรือลูกค้าได้ง่าย ซึ่ง ณ จุดตรงนี้ เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงการผิดพลาดของการผลิตในขบวนการสายการผลิตไม่ให้หลุดลอดออกจากขบวนการ ในขบวนการผลิตจึงได้นำหรือติดตั้ง โพะกะโยะเกะ ในสายงานของตนเอง ได้ถูกนับเป็นหนึ่งในระบบการผลิตแบบโตโยต้าซึ่งระบบการผลิตแบบโตโยต้านั้นมีความคิดที่เป็นพื้นฐานก็คือ "ขบวนการถัดไปก็คือลูกค้า" ของตนเอง ซึ่งจะหมายความว่าขบวนการของตนเองเมื่อทำเสร็จแล้วกล่าวคือ ไม่ส่งของที่ไม่ดีให้กับขบวนการถัดไป ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงของที่ไม่ดีเกิดขึ้นแล้ว ต้องรับประกันคุณภาพของในขบวนการตนเองด้วย แนวคิดพื้นฐานของโพะกะโยะเกะถูกนำเสนอและนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบโตโยต้าโดยวิศวกรชาวญี่ปุ่นชื่อ Shigeo Shingo (新郷重雄 しんごう しげお ค.ศ.1909-1990)แต่เดิมแนวคิดนี้ถูกเรียกว่า บะกะโยเกะ ซึ่งแปลตรงตัวว่า หลีกเลี่ยงความโง่ ต่อมาจึงมีการเปลี่ยนเป็น โพะกะโยะเกะ เพื่อให้ความหมายดูซอฟท์ขึ้น เมื่อเวลาที่วงการอุตสาหกรรมญี่ปุ่นได้ก้าวสู่หรือขยายไปในต่างประเทศนั้น ในต่างประเทศก็ได้มีการค้นคว้าวงการอุตสาหกรรมญี่ปุ่นเช่นกัน และคำนี้ก็ได้ขยายวงกว้างไปสู่ต่างประเทศผลที่ได้ก็คือโพะกะโยะเกะเป็นคำที่สามารถสือสารกันได้ทั่วไปในวงการผลิต หมวดหมู่:การผลิต.

ใหม่!!: ไคเซ็งและโพกะโยเก · ดูเพิ่มเติม »

โรงงาน

รงงานของโฟล์คสวาเกนใน ว็อลฟส์บูร์ก, ประเทศเยอรมนี โรงงาน เป็นสถานอุตสาหกรรม ปกติประกอบด้วยอาคารและเครื่องจักร หรือที่พบมากกว่า เป็นกลุ่มอาคารซึ่งคนงานผลิตสินค้าหรือดำเนินการเครื่องจักรเพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่ง ในช่วงปลายศตวรรษที่18 โรงงานต่างๆจะใช้เครื่อแรงงานคนและสัตว์เป็นหลักจนกระทั่งเกิด การปฏิวัติอุตสาหกรรม โรงงานต่างๆก็เริ่มมีการใช้เครื่องจักรแทน.

ใหม่!!: ไคเซ็งและโรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า

ตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน เป็นบริษัทผลิตรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองโทะโยะตะ จังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น ในเดือนมีนาคม 2557 โตโยต้ามีพนักงานในเครือบริษัททั่วโลกรวมแล้วกว่า 338,875 คน และในเดือนพฤศจิกายน 2557 ได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 12 บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลกวัดตามรายได้ และตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา โตโยต้ายังเป็นบริษัทผลิตรถยนต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (วัดตามจำนวนคันผลิต) แซงหน้า โฟล์กสวาเกน กรุ๊ป และ เจเนรัลมอเตอร์ ซึ่งในปีนั้นโตโยต้ารายงานว่าได้ผลิตรถยนต์คันที่ 200 ล้าน นับแต่ก่อตั้งบริษัท นอกจากนี้ โตโยต้ายังเป็นบริษัทแรกของโลกที่มีกำลังการผลิตรถยนต์เกิน 10 ล้านคันต่อปี และโตโยต้า ยังเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดทุนญี่ปุ่นที่ใหญ่และมีรายได้มากที่สุดของญี่ปุ่น ห่างจากอันดับสองคือ SoftBank กว่าสามเท่าตัว โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน ได้รับการก่อตั้งโดย คิอิชิโร โทะโยะดะ ใน..

ใหม่!!: ไคเซ็งและโตโยต้า · ดูเพิ่มเติม »

5ส

5ส คือ แนวทางที่ใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในที่ทำงานให้ดีขึ้นในวงการการผลิตและวงการงานบริการเป็นต้น โดยการปฏิบัติตามหลัก 5ส ที่แปลมาจากภาษาญี่ปุ่น โดยในญี่ปุ่นเรียกกันว่า 5S ซึ่งได้แก.

ใหม่!!: ไคเซ็งและ5ส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Kaizenไคเซงไคเซ็น

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »