โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไกสอน พมวิหาน

ดัชนี ไกสอน พมวิหาน

กสอน พมวิหาน (ໄກສອນ ພົມວິຫານ; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535) เลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคปฏิวัติประชาชนลาวคนแรก และนายกรัฐมนตรีคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ได้เป็นประธานประเทศจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2535 ปัจจุบันมีอนุสรณ์สถานของไกสอน พมวิหาน อยู่ทุกแขวงทุกเมืองทั่วประเทศ และมีรูปของเขาปรากฏบนธนบัตรสกุลเงินกีบของลาวด้ว.

37 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2518พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนพรรคประชาชนปฏิวัติลาวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพูมี วงวิจิดกีบ (สกุลเงิน)ภาษาฝรั่งเศสภาษาลาวภาษาเวียดนามรายนามประธานาธิบดีลาวรายนามนายกรัฐมนตรีลาวลาวอิสระศาสนาพุทธสหรัฐสะพานมิตรภาพไทย–ลาวหนูฮัก พูมสะหวันฮานอยจังหวัดหนองคายคำไต สีพันดอนประเทศลาวประเทศไทยประเทศเวียดนามแขวงสุวรรณเขตแคนแนวลาวส้างซาดไกสอน พมวิหาน (เมือง)เวียดมินห์เวียงจันทน์เจ้าสุภานุวงศ์เจ้าสุวรรณภูมาเถรวาทเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์15 สิงหาคม21 พฤศจิกายน8 ธันวาคม

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน

รรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (Communist Party of Indochina; Đông Dương Cộng sản Đảng) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์หนึ่งในสามพรรคที่เป็นต้นกำเนิดของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม โดยอีกสองพรรคคือ พรรคคอมมิวนิสต์อันนัม และพันธมิตรคอมมิวนิสต์อินโดจีน ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปฏิวัติลาว

งานเฉลิมฉลองวันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ครบรอบ 30 ปี วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (ພັກປະຊາຊົນປະຕິວັດລາວ, พักปะซาซนปะติวัดลาว; Lao People’s Revolutionary Party) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่จัดตั้งรัฐบาลในลาว มีกำเนิดจากพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนที่เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2473 จนสลายตัวไปใน พ.ศ. 2494 เพื่อเป็นเงื่อนไขให้ 3 ประเทศอินโดจีนมีพรรคเป็นของตนเอง พรรคได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2498 ใช้ชื่อว่า "พรรคประชาชนลาว" โดยเป็นองค์กรแกนนำของแนวลาวฮักซาดและขบวนการปะเทดลาว พรรคประชาชนลาวได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคประชาชนปฏิวัติลาวในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2515 หลังจากประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 แล้ว เลขาธิการพรรคท่านแรกคือท่านไกสอน พมวิหาน ที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2498 จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2535 กองประชุมพรรคจึงได้เลือกท่านคำไต สีพันดอน เป็นประธานพรรค ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2535 - 2549 และกองประชุมใหญ่ครั้งที่ 8 ของพรรค ได้เลือกตั้งท่าน จูมมะลี ไซยะสอน เป็นเลขาธิการคณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว และเป็นประธานประเทศคนปัจจุบัน จนถึงวันที่ 22 มกราคม..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพรรคประชาชนปฏิวัติลาว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พูมี วงวิจิด

ูมี วงวิจิด (ພູມີ ວົງວິຈິດ, เอกสารไทยบางแห่งทับศัพท์เป็น "ภูมี วงศ์วิจิตร"; 6 เมษายน พ.ศ. 2452 - 7 มกราคม พ.ศ. 2537) เป็นรักษาการประธานประเทศลาว และรัฐบุรุษอาวุโสของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พูมี วงวิจิด เกิดเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2452 ที่แขวงเชียงขวาง ราชอาณาจักรลาว เป็นบุตรของข้าราชการพลเรือนสามัญ เขาเข้ารับการศึกษาที่เวียงจันทน์ หลังจากจบการศึกษา เขาก็ได้เข้ารับตำแหน่งเจ้าเมืองเชียงขวาง และเขาได้เข้าร่วมกับแนวลาวอิสระ จนกระทั่งลาวเป็นเอกราชจากฝรั่งเศส หลังจากที่ล้มล้างราชอาณาจักรลาวแล้ว เจ้าสุภานุวงศ์ได้ขึ้นเป็นประธานประเทศลาว พูมีได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาและการกีฬาของประเทศลาว เมื่อเจ้าสุภานุวงศ์ถูกบีบบังคับให้สละตำแหน่ง พูมีจึงได้ขึ้นเป็นรักษาการประธานประเทศลาว และได้ลาออกจากตำแหน่งเพื่อให้ไกสอน พมวิหานดำรงตำแหน่งประธานประเทศลาวแทน.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและพูมี วงวิจิด · ดูเพิ่มเติม »

กีบ (สกุลเงิน)

กีบ (ກີບ) เป็นหน่วยเงินของประเทศลาว (รหัสสากลตาม ISO 4217 อักษรย่อ LAK) หนึ่งกีบมี 100 อัด (ອັດ) ในปี พ.ศ. 2522 เกิดการปฏิรูปค่าเงินขึ้น โดยเปลี่ยน 100 กีบแบบเก่าให้เท่ากับ 1 กีบในปัจจุบัน อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2548 คือ 1 ยูโร เท่ากับ 13,636 กีบ และ 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 10,500 กีบ ธนาคารแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นผู้รับผิดชอบพิมพ์เงินตราออกใช้ หมวดหมู่:สกุลเงินเอเชีย หมวดหมู่:ประเทศลาว หมวดหมู่:เศรษฐกิจของประเทศลาว.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและกีบ (สกุลเงิน) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีลาว

ำว่า "ประธานประเทศ" ในภาษาลาวหมายถึงตำแหน่งประธานาธิบดีซึ่งใช้โดยทั่วไป ซึ่งประเทศลาวเริ่มมีประมุขดำรงตำแหน่งดังกล่าวนับตั้งแต่ พ.ศ. 2518 เป็นต้นมา ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 6 มาตรา 65 บัญญัติไว้ว่า "ประธานประเทศเป็นประมุขรัฐแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นผู้ต่างหน้า (ผู้แทน) ให้ประชาชนลาวบรรดาเผ่าทั้งอยู่ภายในและต่างประเทศ".

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและรายนามประธานาธิบดีลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีลาว

นายกรัฐมนตรีลาว เป็นตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศลาว เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2483 โดยมีเจ้าเพชรราช รัตนวงศาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศในสมัยที่ประเทศลาวถูกปกครองโดยญี่ปุ่น โดยปัจจุบันมี ทองลุน สีสุลิด ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและรายนามนายกรัฐมนตรีลาว · ดูเพิ่มเติม »

ลาวอิสระ

้าเพชรราช (ฉลองพระองค์สีขาว) ผู้ก่อตั้งลาวอิสระ ขณะเสด็จเยือนฐานที่มั่นของแนวลาวรักชาติ แขวงหัวพัน และเยี่ยมเจ้าสุภานุวงศ์ (ทางขวาของเจ้าเพชรราช)ภาพจากนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 26 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2548 ลาวอิสระ (Lao Issara) เป็นขบวนการต่อต้านฝรั่งเศส เน้นชาตินิยมและไม่นิยมคอมมิวนิสต์ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและลาวอิสระ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมิตรภาพไทย–ลาว

นมิตรภาพไทย-ลาว อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและสะพานมิตรภาพไทย–ลาว · ดูเพิ่มเติม »

หนูฮัก พูมสะหวัน

หนูฮัก พูมสะหวัน (ໜູຮັກ ພູມສະຫວັນ; 9 เมษายน พ.ศ. 2453 - 9 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตประธานประเทศลาว และอดีตหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาชนปฏิวัติลาว.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและหนูฮัก พูมสะหวัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2519 และก่อนหน้านั้นเคยเป็นเมืองหลวงของพื้นที่เวียดนามในปัจจุบันเป็นครั้งคราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึง..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและฮานอย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองคาย

หนองคาย เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นจังหวัดชายแดนและเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ น่าอยู่และน่าท่องเที่ยว มีพื้นที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแต่ยาว มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษ.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและจังหวัดหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

คำไต สีพันดอน

ำไต สีพันดอน (ຄຳໄຕ ສີພັນດອນ; เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2467 ที่แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว) เป็นประธานประเทศลาว ปัจจุบัน สมรสแล้ว มีบุตร 5 คน (ลูกชาย 2 คน ลูกสาว 3 คน).

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและคำไต สีพันดอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสุวรรณเขต

หวันนะเขต เชื่อมโยงมาที่นี่ สำหรับความหมายอื่นของสุวรรณเขต ดูที่ สุวรรณเขต (แก้ความกำกวม) สุวรรณเขต หรือ สะหวันนะเขต (ສະຫວັນນະເຂດ สะกด สะหวันนะเขด) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงคำม่วน ทิศใต้ติดกับแขวงสาละวัน เป็นแขวงที่มีเนื้อที่ใหญ่อันดับที่ 2 รองจากแขวงเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและแขวงสุวรรณเขต · ดูเพิ่มเติม »

แคน

แคน แคน เป็นเครื่องเป่าหรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาคอีสานในประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีของชาวลาวหรือ สปป.ลาว และถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของชนชาติลาวอีกด้วย โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้จะใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลำไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควรและแคนมีหลายขนาด ถือเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ให้เสียงไพเราะ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างเสียงประสานได้ในตัวเอง บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชาวลุ่มแม่น้ำโขงได้เป็นอย่างดี ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่เรียกว่า "แคน" เป็น คนแรก และทำไมจึงเรียกว่า "แคน" นั้น ยังไม่มีหลักฐานที่แน่นอนยืนยันได้.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและแคน · ดูเพิ่มเติม »

แนวลาวส้างซาด

ตึกของ LFNC ที่ ซำเหนือ แนวลาวสร้างซาด (Lao Front for National Construction; LFNC; ແນວລາວສ້າງຊາດ) เป็นแนวร่วมของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและแนวลาวส้างซาด · ดูเพิ่มเติม »

ไกสอน พมวิหาน (เมือง)

นครไกสอน พมวิหาน หรือ สุวรรณเขต (ໄກສອນ ພົມວິຫານ) เป็นนครเอกของแขวงสุวรรณเขต ประเทศลาว เดิมชื่อเมือง คันธบุรี (ຄັນທະບູລີ, คันทะบูลี) ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นเมืองไกสอน พมวิหาน เพื่อเป็นเกียรติแก่อดีตประธานประเทศ ไกสอน พมวิหาน ซึ่งเป็นชาวสุวรรณเขต เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ซึ่งตรงกับวันเกิดปีที่ 85 ของไกสอน พมวิหาน และต่อมามีการยกฐานะขึ้นเป็น นครไกสอน พมวิหาน เมื่อเดือนเมษายน..2561 และมีการพิธีประกาศยกฐานะอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..2561 ที่ผ่านม.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและไกสอน พมวิหาน (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

เวียดมินห์

งเวียดมินห์ กองทัพประชาชนเวียดนาม หรือ เหวียดมิงห์ หรือ เวียดมินห์ (Việt Nam Độc Lập Đồng Minh Hội หรือ Việt Minh) หรือบางแหล่งก็เรียก สันนิบาตเพื่อเอกราชเวียดนาม คือ ขบวนการทางการเมือง โดยมีจุดประสงค์เพื่อปลดปล่อยเวียดนามออกจากการปกครองของฝรั่งเศส จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดยมีโฮจิมินห์เป็นผู้นำ และมีนายพลหวอ เงวียน ซ้าป เป็นผู้บัญชาการกองทัพคนแรก.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและเวียดมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุภานุวงศ์

้าชายอุดทอง สุภานุวงศ์ หรือ เจ้าสุภานุวงศ์ หรือ ประธานสุภานุวงศ์ (ສຸພານຸວົງ) เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ที่เมืองหลวงพระบาง เป็นเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ล้านช้างหลวงพระบาง เป็นประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คนแรกหลังจากลาวเปลี่ยนแปลงการปกครองจากราชอาณาจักรมาเป็นสาธารณรัฐเมื่อปี พ.ศ. 2518 ทั่วโลกรู้จักในสมญานาม "เจ้าชายแดง" หรือ "The Red Prince".

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและเจ้าสุภานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุวรรณภูมา

้าสุวรรณภูมา (ສຸວັນນະພູມາ สุวันนะพูมา; 7 ตุลาคม 1901 — 10 มกราคม 1984) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรลาวหลายสมัย 1951 - 1954, 1956 - 1958, 1960 และ 1962 - 1975 และเป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายของราชอาณาจักรลาว.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและเจ้าสุวรรณภูมา · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ (Knight and Dame of the Most Auspicious Order of the Rajamitrabhorn) เรียกโดยย่อว่า "ร.ม.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2505 โดยเหตุที่ว่าได้มีการผูกสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น จึงสมควรที่จะมีเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ประมุขแห่งรัฐต่างประเทศราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๗๙, ตอน ๕๒ ก, ๑๒ มิถุนายน..

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤศจิกายน

วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและ21 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไกสอน พมวิหานและ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อนุสรณ์สถานไกรสร พรหมวิหารไกรสร พรหมวิหารไกรสอน พรหมวิหารไกสอน พมวิหาร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »