โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

ดัชนี โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

รงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ (Benjamarachanusorn School) อักษรย่อว่า ".." เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยความสำนึกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2521 โดยในระยะแรกได้แยกตัวมาจาก โรงเรียนเบญจมราชาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนสตรีล้วน โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนเบญจมราชาลัย 2 ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 42/3 หมู่ที่ 1 ถนนประชานิเวศน์ 3 (แยกถนนสามัคคี) ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี บนเนื้อที่จำนวน 20 ไร่ 3 งาน 91 ตารางวา มีอาคาร 8 หลัง เปิดสอนในช่วงชั้นการศึกษาที่ 3 และ 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 36 ห้อง(แบ่งเป็น โครงการความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ม.ต้น และห้องเรียนทั่วไป) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 30 ห้อง แบ่งเป็นแผนการเรียนดังนี้ ห้องเรียนทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 3 ห้อง (แบ่งเป็น วิทย์-คณิต โครงการพิเศษ 1 ห้อง วิทย์-คณิตทั่วไป 2 ห้อง)ห้องเรียนศิลปศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ศิลป์-คำนวณ) 2 ห้อง, ห้องเรียนศิลปศาสตร์-ภาษาศาสตร์(ศิลป์-ภาษา) (แบ่งเป็น วิชาเอก ภาษาฝรั่งเศส 1 ห้อง, ภาษาญี่ปุ่น 1 ห้อง และภาษาจีน 2 ห้อง) และ ศิลปศาสตร์-สังคมศาสตร์ (ศิลป์-ทั่วไป 1 ห้อง) รวมทั้งสิ้น 66 ห้องเรียน (ไม่รวมห้องเรียนรวม) มีนักเรียนประมาณ 3500 คน (ข้อมูล ปีการศึกษา 2554).

47 ความสัมพันธ์: บุญเลื่อน เครือตราชูพ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2539พ.ศ. 2554พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเกี้ยวกรมสามัญศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กลุ่มภาษาจีนการเคหะแห่งชาติภาษาญี่ปุ่นภาษาฝรั่งเศสภาษาศาสตร์วิทยาศาสตร์ศิลปศาสตร์สมอลล์รูมสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสังคมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7อำเภอเมืองนนทบุรีจังหวัดนนทบุรีธัญนันท์ มหาพิรุณธิญาดา พรรณบัวธนกฤต พานิชวิทย์ถนนสามัคคีทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7ทัศนาวลัย จักรพงษ์ทีมชาติไทยคณิตศาสตร์น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์โรงเรียนโรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคมโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาไอริณ ศรีแกล้วเฟื่องฟ้าเดอะริชแมนทอย1 มิถุนายน20 สิงหาคม20 ธันวาคม4 เมษายน5 กันยายน9 พฤศจิกายน

บุญเลื่อน เครือตราชู

ณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ก่อตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ และ โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และบุญเลื่อน เครือตราชู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเกี้ยว

ระราชลัญจกรพระจุลมงกุฎ ประจำรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงสวมพระเกี้ยวยอดในพระราชพิธีโสกันต์ พระเกี้ยวจำลอง ณ หอประวัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ เป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ และเป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เพราะ พระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น คือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับพระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นั่นคือ "มงกุฎ" อีกทั้ง พระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีหมายความว่า "พระจอมเกล้าน้อย" อีกด้วย เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและพระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความหมายว่าพระเกี้ยว หรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลของพระอง.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และพระเกี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

กรมสามัญศึกษา

กรมสามัญศึกษา (อังกฤษ: Department of General Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2459 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีหน้าที่จัดการศึกษาสามัญ ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เป็น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และกรมสามัญศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

การเคหะแห่งชาติ

ที่อยู่: 905 ถ. นวมินทร์ แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 website: https://www.nha.co.th การเคหะแห่งชาติ, การเคหะสาธารณะ, การเคหะแผ่นดิน หรือ การเคหะหลวง (national housing หรือ public housing) เป็นรูปแบบหนึ่งของการถือครองเคหสถานโดยที่เคหสถานเหล่านั้นเป็นสมบัติของแผ่นดิน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และการเคหะแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาศาสตร์

ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และภาษาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตร์

ลปศาสตร์ทั้ง 7 – ภาพจาก Hortus deliciarum ของ Herrad von Landsberg (คริสต์ศตวรรษที่ 12) ศิลปศาสตร์ (Liberal arts) หมายถึง การศึกษาที่มุ่งจะให้ความรู้ทั่วไป และทักษาเชิงปัญญา มิใช่วิชาชีพเฉพาะด้าน หรือความทักษะเชิงช่าง เดิมนั้น คำว่า "ศิลปศาสตร์" เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต (ศิลฺป + ศาสฺตฺร) หมายถึง วิชาความรู้ทั้งปวง ในภายหลังใช้ในความหมายเดียวกับ Liberal Arts ในภาษาอังกฤษ ดังระบุคำนิยามไว้ข้างต้น ในประวัติศาสตร์การศึกษาของตะวันตกนั้น ศิลปศาสตร์ 7 อย่าง อาจจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ไตรศิลปศาสตร์ (trivium) และ จตุรศิลปศาสตร์ (quadrivium) การศึกษาในกลุ่ม ไตรศิลปศาสตร์ ประกอบด้วย 3 สาขาวิชา ได้แก่ ไวยากรณ์ ตรรกศาสตร์ และวาทศาสตร์ (rhetoric) ส่วนการศึกษากลุ่ม จตุรศิลปศาสตร์ ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา ได้แก่ เลขคณิต เรขาคณิต ดนตรี และดาราศาสตร์) ศิลปศาสตร์นั้นถือเป็นหลักสูตรแกนของมหาวิทยาลัยสมัยกลาง คำว่า liberal ในคำว่า liberal arts นั้น มาจากศัพท์ภาษาละตินว่า liberalis หมายถึง "เหมาะแก่เสรีชน" (ชนชั้นสูงด้านสังคมและการเมือง) ซึ่งตรงกันข้ามกันศิลปะการรับใช้หรือบริการ (servile arts) ในเบื้องต้นคำว่าศิลปศาสตร์ในแนวคิดของตะวันตก จึงเป็นตัวแทนของทักษะและความรู้ทั่วไป ที่จำเป็นต้องใช้ในหมู่ชนชั้นสูงในสังคม ขณะที่ศิลปะบริการนั้น เป็นตัวแทนของความรู้และทักษะของพ่อค้าผู้เชี่ยวชาญ ที่จำเป็นต้องรู้ในหมู่ผู้รับใช้ชนชั้นสูง หรือขุนนาง.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และศิลปศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมอลล์รูม

ริษัท สมอลล์รูม จำกัด (Smallroom Company Limited) เป็นบริษัทค่ายเพลงในไทยที่ประกอบธุรกิจทั้งทางด้าน เพลงโฆษณา และเพลงของศิลปินในสังกัด โดยมีแนวเพลงที่หลากหลาย มีรุ่งโรจน์ อุปถัมป์โพธิวัฒน์เป็นผู้บริหาร.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และสมอลล์รูม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission: OBEC) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงชั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธัญนันท์ มหาพิรุณ

ัญนันท์ มหาพิรุณ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2527-) นักร้องและนักแสดงที่ได้รับชื่อเสียงจากรายการเรียลลิตี้โชว์ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ปี 1(ในขณะนั้นยังเป็น ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย) ปัจจุบันมีผลงานในด้านต่างๆในวงการบันเทิงหลากหลายแขนง.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และธัญนันท์ มหาพิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

ธิญาดา พรรณบัว

ญาดา พรรณบัว (ชื่อเล่น:เกด) เป็นนักแสดงหญิงและนางแบบชาวไท.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และธิญาดา พรรณบัว · ดูเพิ่มเติม »

ธนกฤต พานิชวิทย์

นกฤต พานิชวิทย์ หรือ ว่าน เป็นนักร้อง, นักแต่งเพลง,โปรดิวเซอร์, พิธีกรและนักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียง เริ่มเข้าวงการจากเข้าร่วมประกวดในรายการเรียลลิตี้ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย (ในขณะนั้นยังเป็น ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย) ซีซั่น 2 ใน..

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และธนกฤต พานิชวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสามัคคี

นนสามัคคี (Thanon Samakkhi) เป็นถนนที่อยู่ในเขตตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีแนวสายทางเริ่มจากถนนติวานนท์ที่ทางแยกสามัคคี ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด ถนนประชานิเวศน์ 3 ลอดใต้ทางพิเศษศรีรัช จากนั้นยังคงไปทางทิศตะวันออก จนบรรจบกับถนนประชาชื่น เป็นถนนขนาด 2 เลนสวนทางกัน ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และถนนสามัคคี · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหานักร้องเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุด ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งแรกที่ทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลัก และมีการถ่ายทอดสดผ่านระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงทางช่อง ทรู เรียลลิตี้ เอชดี โดยมีการรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม 2553 และจะมีการประกาศผลผู้เข้ารอบสุดท้าย ในวันที่ 23 มิถุนายน 2553 จำนวน 100 คนและเป็นฤดูกาลแรกที่อายุของผู้เข้าสมัครเปลี่ยนเป็น 15-25 ปีจากเดิมที่ 18-28 ปี.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนาวลัย จักรพงษ์

ทัศนาวลัย จักรพงษ์ (สกุลเดิม องอาจอิทธิชัย, 26 กันยายน พ.ศ. 2521 —) มีชื่อเล่นว่า ฮาน่า นักแสดงและนางแบบชาวไท.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และทัศนาวลัย จักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีมชาติไทย

ทีมชาติไทย สามารถหมายถึง บุคคลที่แข่งขันในนามของประเทศไทย ซึ่งสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์

น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ (เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525) ชื่อเล่น บี เป็นนักร้อง นักแสดง และนางแบบชาวไทย เป็นนักแสดงสังกัด เอ็กแซ็กท์ ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และน้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียน

รรยากาศภายในห้องเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา โรงเรียน คือ สถานที่สำหรับฝึกสอนนักเรียนภายใต้การดูแลของครูหรืออาจารย์ หลายประเทศมีระบบการศึกษาอย่างเป็นทางการ ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาภาคบังคับ ในระบบการเรียนนี้ นักเรียนจะผ่านโรงเรียนตามลำดับ ชื่อของโรงเรียนเหล่านี้อาจแตกต่างไปตามภาษาและประเทศ แต่โดยหลักจะมีโรงเรียนประถมสำหรับเด็กเล็ก และโรงเรียนมัธยมสำหรับเด็กโตที่ได้สำเร็จการศึกษาระดับประถมมาแล้ว นอกเหนือจากโรงเรียนหลักแล้ว นักเรียนในบางประเทศยังสามารถเข้าเรียนในโรงเรียนทั้งก่อน และหลังโรงเรียนประถม และมัธยม โรงเรียนอนุบาลเสริมการเรียนการสอนให้กับเด็กเล็กมาก มหาวิทยาลัย, โรงเรียนฝึกงาน, อุดมศึกษา อาจมีอยู่หลังจากจบมัธยมศึกษา โดยโรงเรียนอาจจะอุทิศเพื่อสอนแค่วิชาสาขาเดียว เช่น โรงเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ โรงเรียนสอนเต้น สอนปั้นหุ่นจำลอง.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และโรงเรียน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม

รงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี นางพรภินันท์ เลาะหนับ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ มีข้าราชการครูทั้งสิ้น 73 คน และมีลูกจ้างประจำ 9 คน ครูอัตราจ้างรายปี 29 คน ครูสอนภาษาอังกฤษ 3 คน (ชาวอังกฤษ) ครูสอนภาษาจีน(ชาวจีน) 2 คน มีนักเรียนประมาณ 2,000 คนต่อปีการศึกษา จำนวน 53 ห้องเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และโรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ไอริณ ศรีแกล้ว

อริณ ศรีแกล้ว (ชื่อเล่น: เปิ้ล) เกิดที่กรุงเทพฯเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 เป็นนักแสดง นักร้อง พิธีกรชาวไทย โด่งดังจากการแสดงละครและเล่นหนัง เป็นต้น เธอได้รับฉายา "ดาราสาวทรงโต" การศึกษาจบการศึกษาระดับปริญญาตรี เกรียตินิยมอันดับ 2 คณะบริหารธุรกิจ เอกการตลาด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นบุตรสาวของศิริพงษ์ และรุ่งนภา ศรีแกล้ว เธอก้าวเข้าสู่วงการบันเทิงช่วงอายุ 19 ปี จากการถ่ายโฆษณา และแสดงละคร ผลงานละครชิ้นแรกเรื่อง "กะล่อนคูณสอง" ก่อนที่จะมาโด่งดังกับบท น้ำฝน จากละคร สาวน้อยคาเฟ่ หลังจากนั้นเธอก็มีผลงานการแสดงอีกทั้งถ่ายแบบมากมาย ในปี 2551 เธอได้เงียบหายไปจากวงการบันเทิง เธอกล่าวว่าเธอไปเรียนปริญญาโทที่ จากการไปเรียนต่อปริญญาโท เปิ้ลต่อยอดด้วยการลงทุนทำธุกิจร้านเสื้อผ้า ชื่อร้าน แบล็กสมิท ลอนดอน นอกจากมีร้านเสื้อขายเสื้อผ้าที่ประเทศอังกฤษแล้ว ระหว่างที่ยังไม่ได้คัมแบ็กวงการบันเทิงเต็มตัวอีกครั้ง ทุกวันนี้เปิ้ลยังจับงานหลายอย่าง ทั้งงานที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ครูสอนโยคะ และครูสอนการแสดง โครงการทูบีนัมเบอร์วัน เดินแฟชั่น และเดินสายโชว์ตัว ปัจจุบัน เธอหันมาเอาดีด้านการร้องเพลง แต่ยังคงรับงานถ่ายแบบแสดงละครเป็นงานหลัก โดยเปิดค่ายเล็กๆเป็นของตนชื่อว่า ไออาร์ เรคคอร์ด เธอมีผลงานอัลบั้มชุดแรกชื่อว่า "อัลบั้ม เบนซ์สปอร์ต" มีเพลงเช่น เบนซ์สปอร์ต, บรรยากาศพาไป, เกิดมาเพื่อสิ่งนี้ เป็นต้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และไอริณ ศรีแกล้ว · ดูเพิ่มเติม »

เฟื่องฟ้า

ฟื่องฟ้า เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่มกึ่งเลื้อย ขนาดตั้งแต่พุ่มเล็กถึงพุ่มใหญ่ มีหนามขึ้นตามลำต้นอยู่ ใบเดี่ยว แตกออก สลับกับกิ่ง หรือเยื้องกัน มีขนขึ้นปกคลุมเล็กน้อย มีสีเขียวหรือใบด่าง รูปร่างรีแหลมยาว 3-6 ซม.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และเฟื่องฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เดอะริชแมนทอย

อะริชแมนทอย (The Richman Toy) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า TRMT วงดนตรีในสังกัดสมอลล์รูม มีเพลงที่ได้รับความนิยม เช่น แดนสวรรค์คอยอยู่ ม้าป่า สะดุดรัก กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม และ อ๊อด อ๊อ.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และเดอะริชแมนทอย · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และ20 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายนามผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »