โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โทไกโดชิงกันเซ็ง

ดัชนี โทไกโดชิงกันเซ็ง

| โทไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งเส้นทางแรก เปิดให้บริการในปี..

59 ความสัมพันธ์: บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางชิงกันเซ็งชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์ชิซูโอกะ (เมือง)ชิโมโนเซกิชิโยดะ (โตเกียว)ฟุกุโอะกะ (เมือง)ฟูจิ (เมือง)พ.ศ. 2483พ.ศ. 2502การรถไฟญี่ปุ่นมิชิมะมินาโตะ (โตเกียว)รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะรถไฟใต้ดินเทศบาลเคียวโตะสายมิโดซุจิสายยามาโนเตะสายหลักชูโอสายหลักโทไกโดสายฮิงะชิยะมะสายคะระซุมะสายโยะโกะซุกะสายเคโยสถานีรถไฟชินอาโอโมริสถานีรถไฟชินางาวะสถานีรถไฟชินโยโกฮามะสถานีรถไฟชินโอซากะสถานีรถไฟฮะมะมะสึสถานีรถไฟฮากาตะสถานีรถไฟนะโงะยะสถานีรถไฟโอะดะวะระสถานีรถไฟโทะโยะฮะชิสถานีรถไฟโตเกียวสถานีรถไฟไมบะระสถานีรถไฟเกียวโตสงครามโลกครั้งที่สองอันโจอาตามิฮะชิมะฮะมะมะสึฮิการิ (ขบวนรถไฟ)ซันโยชิงกันเซ็งนาโงยะโยโกฮามะโอลิมปิกฤดูร้อนโอดาวาระโอซากะโฮะกุริกุชิงกันเซ็งโจเอะสึชิงกันเซ็งโทะโยะฮะชิ...โทโฮกุชิงกันเซ็งโคดามะ (ขบวนรถไฟ)โตเกียวโตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิโนโซมิ (ขบวนรถไฟ)ไมบะระเกียวโต (นคร)1 ตุลาคม20 เมษายน ขยายดัชนี (9 มากกว่า) »

บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง

ริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง เป็นหนึ่งในบริษัทในกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (JR Group) โดยมักใช้ชื่อเรียกอย่างย่อว่า JR ตอนกลาง ดำเนินการให้บริการรถไฟในภูมิภาคชูบุ (นะโงะยะ) ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์

700 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ซึ่งมีสายการผลิตระหว่างปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและชิงกันเซ็ง 700 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิซูโอกะ (เมือง)

นครชิซูโอกะ เป็นเมืองหลักของจังหวัดชิซูโอกะ รัฐบาลญี่ปุ่นได้ยกฐานะขึ้นเป็นนคร เมื่อ 1 เมษายน..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและชิซูโอกะ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ชิโมโนเซกิ

มโนเซกิ เป็นนครในจังหวัดยามางูจิ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางปลายทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดของเกาะฮนชูติดกับช่องแคบสึชิมะ และอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกับเมืองคิตะกีวชู จังหวัดฟูกูโอกะ โดยมีช่องแคบคันมงกั้นระหว่างกัน มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 716.14 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและชิโมโนเซกิ · ดูเพิ่มเติม »

ชิโยดะ (โตเกียว)

แขวงชิโยดะ เป็น 1 ใน 23 แขวงการปกครองพิเศษของมหานครโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นเขตการปกครองอันเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการปกครองของประเทศ แขวงชิโยดะมีพื้นที่ 11.64 ตารางกิโลเมตร ในพื้นที่นี้เป็นพื้นที่ของพระราชวังหลวง ราว 12% ของพื้นที่ทั้งหมด ใน..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและชิโยดะ (โตเกียว) · ดูเพิ่มเติม »

ฟุกุโอะกะ (เมือง)

นครฟูกูโอกะ เป็นเมืองเอกของจังหวัดฟุกุโอะกะ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะคีวชู ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2013 ฟุกุโอะกะได้รับการจัดอันดับว่าเป็นเมืองน่าอยู่อันดับ 12 ของโลก จากนิตยสาร Monocle จากการที่ในเขตตัวเมืองมีพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก นอกจากนี้ฟุกุโอะกะยังเป็นเมืองที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่สุดในเกาะคีวชู ซึ่งรองลงมาคือนครคิตะกีวชู และยังถือเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตะวันตกจากเขตมหานครเคฮันชิง จากการที่เป็นเมืองขนาดใหญ่และมีความสำคัญ ทำให้ฟุกุโอะกะได้รับสถานะเป็นนครโดยรัฐบัญญัติ เมื่อ 1 เมษายน 1972 ด้วยประชากรในเขตเมืองและปริมณฑลรวมกว่า 2.5 ล้านคน (สำมะโนปี 2005) ซึ่งทั้งฟุกุโอะกะ–คิตะกีวชู ต่างเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมหนัก ซึ่งเป็นรายได้หลักของเมือง เมื่อกรกฎาคม 2011 ฟุกุโอะกะมีฐานะเป็นเมืองใหญ่อันดับ 6 ของญี่ปุ่น ซึ่งแซงหน้านครใหญ่อย่างเคียวโตะ นับเป็นครั้งแรกที่เมืองทางตะวันตกของภาคคันไซ สามารถมีประชากรมากกว่าเคียวโตะ นับตั้งแต่ก่อตั้งเมืองเคียวโตะเมื่อปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและฟุกุโอะกะ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ฟูจิ (เมือง)

ฟูจิ เป็นเมืองตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น มีประชากรเป็นอันดับสามของจังหวัด รองจากเมืองชิซุโอะกะ และเมืองฮะมะมัตสึ ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและฟูจิ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟญี่ปุ่น

การรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือที่รู้จักกันดีว่า JNR เคยเป็นผู้ให้บริการเครือข่ายรถไฟทั่วประเทศญี่ปุ่น ระหว่างปี พ.ศ. 2492 ถึง พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและการรถไฟญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มิชิมะ

มิชิมะ เป็นเมืองในจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณตอนบนของคาบสมุทรอิซุ บริเวณเชิงภูเขาไฟฟ.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและมิชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

มินาโตะ (โตเกียว)

แขวงมินาโตะ เป็น 1 ใน 23 แขวงพิเศษ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพระราชวังหลวงโตเกียว มีพื้นที่ 20.34 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและมินาโตะ (โตเกียว) · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะ

รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะ (大阪市営地下鉄) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในเมืองโอซากะและปริมณฑล ภูมิภาคคันไซ มีผู้โดยสารประมาณ 13 คนต่อวัน ดำเนินการโดยการคมนาคมเทศบาลโอซาก.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินเทศบาลเคียวโตะ

รถไฟใต้ดินเทศบาลเคียวโตะ เป็นระบบขนส่งมวลชนในเมืองเคียวโตะ ดำเนินการโดย Kyoto Municipal Transportation Bureau ปัจจุบันมีจำนวน 2 เส้นทาง.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและรถไฟใต้ดินเทศบาลเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สายมิโดซุจิ

มิโดซุจิ (御堂筋線) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินในระบบรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ นครโอซะกะ ดำเนินการโดยการคมนาคมเทศบาลโอซะกะ ก่อสร้างตามแนวถนนมิโดซุจิ เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายแรกในโอซะกะ และสายที่ 2 ในประเทศญี่ปุ่น ถัดจากโตเกียวเมโทร สายกินซะ ทุกสถานี ตัวย่อขึ้นต้นด้วยตัว M.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายมิโดซุจิ · ดูเพิ่มเติม »

สายยามาโนเตะ

มาโนเตะ เป็นเส้นทางรถไฟที่คับคั่งและสำคัญที่สุดสายหนึ่งของโตเกียว ให้บริการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก โดยมีเส้นทางการวิ่งเป็นวงกลมรอบเมืองโตเกียว เชื่อมต่อย่านการค้าและย่านธุรกิจที่สำคัญ เช่น มะรุโนะอุชิ ยูระกุโช/กินซะ อุเอะโนะ อะกิฮะบะระ ชินจูกุ ชิบุยะ อิเกะบุกุโระ เป็นต้น มีสถานีทั้งสิ้น 29 สถานี แผนภาพเส้นทางและสถานี.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายยามาโนเตะ · ดูเพิ่มเติม »

สายหลักชูโอ

หลักชูโอ หรือเรียกสั้นๆว่า สายชูโอ เป็นหนึ่งในทางรถไฟสายหลักในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างโตเกียวและนะโงะยะ แม้ว่าการเดินทางระหว่างสองเมืองนี้ หากใช้สายหลักโทไกโดจะใช้เวลาที่สั้นกว่าก็ตาม ทางรถไฟสายนี้ถูกแบ่งออกเป็นสองช่วงก็คือ สายชูโอตะวันออก ที่ดำเนินงานโดย JR ตะวันออก และ สายชูโอตะวันตก ที่ดำเนินงานโดย JR ตอนกลาง โดยมีสถานีรถไฟชิโนะโนะอิเป็นสถานีเปลี่ยนผ่านเขตดำเนินงาน.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายหลักชูโอ · ดูเพิ่มเติม »

สายหลักโทไกโด

ทางรถไฟ สายหลักโทไกโด เป็นทางรถไฟที่ชุกชุมที่สุด ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างมหานครโตเกียว กับ นครโคเบะ ด้วยระยะทางทั้งหมด 589.5 กิโลเมตร โดยไม่นับเส้นทางขนส่งสินค้าระหว่างเมืองรายทาง อีกทั้งรถไฟความเร็วสูง โทไกโด ชิงกันเซ็ง ยังวิ่งขนานไปกับเส้นทางนี้ด้วย สายหลักโทไกโดถูกครอบครองและดำเนินงานโดย 3 บริษัทรถไฟญี่ปุ่น คือ.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายหลักโทไกโด · ดูเพิ่มเติม »

สายฮิงะชิยะมะ

นีฟูจิกาโอะกา สายฮิงะชิยะมะ (東山線) หรือสาย 1 เป็นเส้นทางรถไฟฟ้า ส่วนหนึ่งของรถไฟใต้ดินเทศบาลนะโงะยะ ในเมืองนะโงะยะ ประเทศญี่ปุ่น มีสถานีปลายทาง 2 แห่ง ได้แก่ สถานีทะกะบะตะ และ สถานีฟูจิกาโอะกา มีสีทองเป็นสีประจำเส้นทาง และรหัสของทุกสถานี จะขึ้นต้นด้วยตัว H.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายฮิงะชิยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

สายคะระซุมะ

ระซุมะ (烏丸線) เป็นหนึ่งในสองเส้นทางของรถไฟใต้ดินเทศบาลเคียวโตะ เมืองเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น สีประจำเส้นทางคือสีเขียว และรหัสสถานีจะขึ้นต้นด้วยตัว K มีสถานีปลายทาง ได้แก่ สถานีโคะกุไซไกกัง และ สถานีทะเก.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายคะระซุมะ · ดูเพิ่มเติม »

สายโยะโกะซุกะ

กะซุกะ เป็นเส้นทางรถไฟในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก เชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟโตเกียว เมืองโตเกียว กับสถานีรถไฟคุริฮะมะ เมืองโยะโกะซุกะ จังหวัดคะนะงะวะ ในทางการแล้วสายโยะโกะซุกะที่แท้จริงอยู่ระหว่างสถานีรถไฟโอฟุนะ กับสถานีรถไฟคุริฮะมะ แต่ในการบริการนั้นเรียกโดยรวมทั้งเส้นว่าสายโยะโกะซุกะ มีความยาวทั้งสิ้น 73.3 กิโลเมตร จำนวน 19 สถานี.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายโยะโกะซุกะ · ดูเพิ่มเติม »

สายเคโย

() เป็นเส้นทางรถไฟระหว่างโตเกียวและจังหวัดชิบะ ขนานไปตามชายฝั่งอ่าวโตเกียว บริหารโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งในเส้นทาง "โตเกียวเมก้าลูป" รอบโตเกียว เมื่อเชื่อมต่อเส้นทางกับสายมุซะชิโนะ สายนัมบุ และสายโยะโกะฮะม.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสายเคโย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินอาโอโมริ

นีรถไฟชินอาโอโมริ เป็นสถานีรถไฟในเมืองอาโอโมริ จังหวัดอาโอโมริ ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) เป็นสถานีรถไฟชิงกันเซ็งที่อยู่เหนือที่สุดของเกาะฮนชู.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินอาโอโมริ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินางาวะ

นีรถไฟชินางาวะ เป็นสถานีรถไฟชุมทางสำคัญทางใต้ของกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในเส้นทางรถไฟของเจอาร์ตะวันออก เจอาร์เซ็นทรัล และรถไฟเคเคียว สถานีชินางาวะเป็นสถานีหลักของขบวนรถไฟโทไกโดชิงกันเซ็ง และขบวนรถอื่นๆที่มีเส้นทางแถบคาบสมุทรมิอูระ คาบสมุทรอิซุและบริเวณภูมิภาคโทไก สถานีชินางาวะไม่ได้ตั้งอยู่ในเขตชินางาวะตามชื่อสถานี หากแต่ตั้งอยู่ในเขตมินาโต.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินางาวะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินโยโกฮามะ

นีรถไฟชินโยโกฮามะ เป็นสถานีรถไฟในนครโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น สถานีแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนบนดินมีอยู่ 6 ชานชาลา ให้บริการรถไฟระหว่างเมือง และรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็ง และส่วนใต้ดินให้บริการรถไฟใต้ดินเพื่อการเดินทางภายในตัวเมืองโยโกฮาม.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินโยโกฮามะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชินโอซากะ

| สถานีรถไฟชินโอซากะ เป็นสถานีรถไฟกลางของจังหวัดโอซากะ ตั้งอยู่ในเขตโยโดงาวะ ของนครโอซากะ สถานีรถไฟโอซากะแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกัน คือ ส่วนของรถไฟระหว่างเมือง และส่วนของรถไฟใต้ดิน ในส่วนของรถไฟระหว่างเมือง สถานีรถไฟโอซากะยังเป็นสถานีเปลี่ยนผ่านของรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็ง ชานชาลาทางทิศตะวันตกเป็นชานชาลาของชิงกันเซ็ง สายโทไกโด มีปลายทางที่กรุงโตเกียว ในขณะที่ชานชาลาทางทิศตะวันออกเป็นชิงกันเซ็ง สายซันโย มีปลายทางที่นครฟุกุโอะกะ สถานีรถไฟชินโอซากะ (หรือแปลคือ สถานีรถไฟโอซากะแห่งใหม่) ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟโอซากะเดิม 3 กิโลเมตร เปิดดำเนินการในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟชินโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟฮะมะมะสึ

นีรถไฟฮะมะมะสึ เป็นสถานีรถไฟของรถไฟสายหลักโทไกโดและโทไกโด ชิงกันเซ็งในเมืองฮะมะมะสึ จังหวัดชิซุโอะกะ ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง (JR ตอนกลาง) สามารถเดินเท้าจากสถานีนี้ไปขึ้นรถไฟสายเอ็นชูที่สถานีรถไฟชินฮะมะมะสึได้ ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปราว 3 นาที.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟฮะมะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟฮากาตะ

นีรถไฟฮากาตะ เป็นสถานีรถไฟในนครฟุกุโอะกะ จังหวัดฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถานีรถไฟที่มีผู้ใช้บริการเยอะที่สุดในเกาะคีวชู มีรถไฟความเร็วสูงสายซันโย ชิงกันเซ็งเชื่อมกับเกาะฮนชู ซึ่งสามารถเดินทางไปยังโอซะกะและโตเกียวได้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟฮากาตะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนะโงะยะ

''เจอาร์ เซนทรัลทาวเวอร์'' เป็นส่วนของสถานีที่อยู่ติดกับชานชาลา ป้ายบนชานชาลาของรถไฟ JR สถานีรถไฟนะโงะยะ เป็นสถานีรถไฟในเขตนะคะมุระ นครนะโงะยะ จังหวัดไอจิ ญี่ปุ่น เป็นสถานีรถไฟที่มีพื้นที่มากที่สุดในโลก (446,000 ม²) และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของ บริษัทรถไฟญี่ปุ่นกลาง (เจอาร์ เซ็นทรัล) พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ใน "เจอาร์ เซ็นทรัล ทาวเวอร์" เหนือสถานีขึ้นไป และในทางเดินใต้ดิน สถานีที่เห็นในปัจจุบันสร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ใน พ.ศ. 2548 มีผู้มาใช้บริการเฉลี่ยวันละ 1,140,000 คน จัดว่าเป็นสถานีรถไฟที่คับคั่งเป็นอันดับหกในญี่ปุ่น สถานีนี้อยู่ติดกับสถานีรถไฟเมเท็ทซึนะโงะยะของ Nagoya Railroad และสถานีรถไฟคินเท็ทซึนะโงะยะของสายคินเท็ทซึนะโงะยะ อาคารแฝดของสถานีสูงกว่า 50 ชั้น ประกอบด้วยอาคารโรงแรม 59 ชั้น และอาคารสำนักงาน 55 ชั้น (มีลานจอดเฮลิคอปเตอร์บนดาดฟ้า).

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟนะโงะยะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโอะดะวะระ

นีรถไฟโอะดะวะระ เป็นสถานีรถไฟในเมืองโอะดะวะระ จังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถานีรถไฟหลักในบริเวณฮะโกะเน.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟโอะดะวะระ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโทะโยะฮะชิ

นีรถไฟโทะโยะฮะชิ เป็นสถานีรถไฟในเมืองโทะโยะฮะชิ จังหวัดไอชิ เป็นหนึ่งในสถานีของรถไฟความเร็วสูงโทไกโด ชิงกันเซ็ง และเป็นสถานีที่สามารถเปลี่ยนรถไฟเพื่อไปยังนครนะโงะยะได้ ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางและบริษัทรถไฟเมเตะสึ.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟโทะโยะฮะชิ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟโตเกียว

นีรถไฟโตเกียว เป็นสถานีรถไฟหลักของกรุงโตเกียว ตั้งอยู่ในย่านมะรุโนะอุชิ (丸の内 Marunouchi) แขวงชิโยะดะ หนึ่งในแขวงพิเศษของกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น อยู่ใกล้กับพระราชวังหลวง และย่านกินซะ สถานีรถไฟโตเกียวให้บริการรถไฟระหว่างเมือง รถไฟท้องถิ่น และรถไฟชิงกันเซ็ง (รถไฟความเร็วสูง) ของกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (Japan Railway Group) และรถไฟฟ้าใต้ดินของโตเกียวเมโทร (東京メトロ Tōkyō Metoro) 1 ใน 2 ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงโตเกียว สถานีรถไฟโตเกียวเป็นสถานีรถไฟที่มีจำนวนรถไฟระหว่างเมืองเข้าออกคับคั่งที่สุดอันดับหนึ่งของญี่ปุ่น (มากกว่า 3,000 เที่ยวต่อวัน) และมีผู้คนสัญจรผ่านมากที่สุดเป็นอันดับ 5 ของภาคตะวันออกของญี่ปุ่น สถานีรถไฟโตเกียวยังเป็นต้นทางและชุมทางของรถไฟชิงกันเซ็งมากขบวนที.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟไมบะระ

นีรถไฟไมบะระ เป็นสถานีรถไฟในเมืองไมบะระ จังหวัดชิงะ ประเทศญี่ปุ่น สถานีดำเนินงานโดย JR ตะวันตก เป็นหลัก โดยมี JR ตอนกลาง ดำเนินงานร่วมในส่วนของรถไฟชิงกันเซ็ง.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟไมบะระ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเกียวโต

นีรถไฟเกียวโต เป็นสถานีรถไฟกลางที่ตั้งอยู่ในนครเกียวโต จังหวัดเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น อาคารหลักของสถานีรถไฟเกียวโตในปัจจุบันเป็นอาคารสถานีหลังที่สี่ที่ เปิดใช้งาน..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสถานีรถไฟเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อันโจ

อันโจ เป็นเมืองในจังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและอันโจ · ดูเพิ่มเติม »

อาตามิ

อาตามิ เป็นเมืองตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 61.56 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและอาตามิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะชิมะ

มุมด้านหน้าของเกาะ เกาะฮะชิมะ หรือ กุงกันจิมะ เป็นเกาะที่ไม่ได้เกิดขึ้นเองในธรรมชาติแต่ถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1887 และเสร็จในปี ค.ศ. 1890 โดยบริษัทมิตซูบิชิเป็นผู้สร้าง เกาะฮะชิมะอยู่ห่างจากเมืองนะงะซะกิ ประมาณ 15 กิโลเมตร มีความยาวเกาะประมาณ 500 เมตร ไว้ใช้เพื่อเป็นที่พักของคนงานทำอุตสาหกรรมเหมืองถ่านหิน ในเมืองมี อาคารที่พัก และได้รับการบันทึกว่าเป็นเมืองที่มีผู้คนหนาแน่นมากที่สุดในช่วงนั้น (ประมาณ 5,000 คน) จนเมื่อถ่านหินไม่นิยมใช้เนื่องจากมีน้ำมันเข้ามาแทน เกาะฮะชิมะก็ปิดตัวลงในปี ค.ศ. 1974 ปัจจุบันบนเกาะไม่มีสาธารณูปโภคใด ๆ เลย ทั้งน้ำประปา, ไฟฟ้า, โทรศัพท์ หรือห้องน้ำ เกาะฮะชิมะได้ชื่อว่าเป็นสถานที่ผีสิงที่น่ากลัวอันดับ 2 ของโลก รองจากหอคอยลอนดอน ในประเทศอังกฤษหน้า 35 บันเทิง, ทีมนักแสดง' เผยประสบการณ์สุดระทึก ขณะถ่ายทำหนัง บนเกาะผีสิงที่ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและฮะชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมะมะสึ

นครฮามามัตสึ ตั้งอยู่ในทางตะวันตกของจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น นครฮามามาสึได้ควบรวมพื้นที่เข้ากับเมืองและอำเภอโดยรอบจำนวน 11 เมืองและอำเภอ ในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 และได้ยกระดับเป็นนครอันตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและฮะมะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิการิ (ขบวนรถไฟ)

''ฮิการิเรลสตาร์'' ทำขบวนด้วยรุ่น 700 series ฮิการิ เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง รถไฟประเภทนี้วิ่งช้ากว่าขบวนโนโซมิ แต่ยังเร็วกว่าขบวนโคดามะ หากใช้สิทธิ์ตามบัตรผ่านรถไฟญี่ปุ่น ขบวนฮิการินี้จะเป็นรถไฟประเภทที่เร็วที่สุดที่ให้บริการบนเส้นทางโทไกโดและซันโยชิงกันเซ็ง เมื่อชิงกันเซ็งเปิดให้บริการในปี 1964 ฮิการิได้เป็นรถไฟที่เร็วที่สุดบนเส้นทางที่วิ่งจากโตเกียวไปยังสถานีชินโอซะกะ มีการหยุดรถเพียงแค่สองครั้งเท่านั้นคือที่นาโงยาและที่เกียวโต ต่อมา ฮิการิได้ขยายไปให้บริการบนซันโยชิงกันเซ็งแม้ว่ารถไฟฮิการิจะเร็วกว่าเพียงขบวนโคดามะเท่านั้น ทั้งคู่จึงได้รับฉายาสั้นๆร่วมกันว่า "ฮิดะมะ" บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางเป็นผู้ให้บริการฮิการิ ปัจจุบันนี้ใช้รถไฟขนาด 16 โบกี้ หลายซีรีส์ได้แก่ 700 ซีรีส์ และ 300 ซีรีส์ รถไฟฮิการิส่วนใหญ่จะหยุดตามสถานีต่างเช่น ชิซุโอะกะ, ไมบาระ หรือฮิเมะจิ เพื่อให้รถไฟที่เร็วกว่า เช่น ขบวนโนโซมิ วิ่งผ่านไปด้วยความเร็วสูงสุดก่อน ในเดือนมีนาคม ปี 2008 ขบวนฮิการิได้นำชิงกันเซ็ง N700 ซีรีส์ มาใช้สำหรับการเดินทางระหว่างสถานีชินโยโกะฮะมะและสถานีฮิโระชิมะ และสำหรับรถไฟเที่ยวดึกระหว่างสถานีโตเกียวและนาโงยา บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกเริ่มให้บริการฮิการิ เรล สตาร์ (Hikari Rail Star) ในปี 200 ซีรีส์0 โดยมีเฉพาะเส้นทางซันโยชิงกันเซ็งเท่านั้น โดยใช้รถไฟขบวนพิเศษขนาด 8 โบกี้ซีรีส์ 700 ซีรีส์ ที่มีความเร็วสูงสุด 285 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การที่บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกนำมาให้บริการนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับสายการบินที่บินอยู่ในเส้นทางโอซะกะไปยังฟุกุโอะกะ ที่นั่งที่สำรองเอาไว้บนรถไฟฮิการิ เรล สตาร์มีการจัดแบบ 2-2 แทนที่จะเป็น 3-2 เหมือนฮิการิทั่วๆไป และด้านหน้าของแต่ละที่นั่งนั้นจะมีจุดจ่ายไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกด้วย ก่อนและระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2นั้น ฮิการิเคยเป็นชื่อของรถไฟด่วนที่วิ่งจากปูซาน ประเทศเกาหลี ไปยังชางชุน ในแมนจูเรีย ต่อมา ในทศวรรษที่ 1950 ชื่อนี้ได้นำมาใช้เป็นชื่อรถไฟด่วนที่วิ่งจากฟุกุโอะกะไปยังคาโงชิมะและเบ็ปปุ หมวดหมู่:ชิงกันเซ็งแบ่งตามรูปแบบ.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและฮิการิ (ขบวนรถไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

ซันโยชิงกันเซ็ง

ซันโย ชิงกันเซ็ง เป็นหนึ่งในเส้นทางให้บริการรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งในญี่ปุ่น เชื่อมต่อระหว่างชินโอซะกะในเมืองโอซะกะกับฮะกะตะในเมืองฟุกุโอะกะ ซึ่งเป็นสองเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันตกของประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้นยังเชื่อมต่อระหว่างเมืองใหญ่ๆของเกาะฮอนชูและคิวชูเข้าด้วยกัน เช่น โคเบะ ฮิเมะจิ โอกะยะมะ ฮิโระชิมะ และ คิตะกีวชู ดำเนินการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก และยังเชื่อมต่อกับโทไกโด ชิงกันเซ็งที่วิ่งจากโอซะกะไปยังโตเกียวอีกด้วย ซันโย ชิงกันเซ็งนี้เชื่อมต่อระหว่างฮะกะตะกับโอซะกะโดยใช้เวลาเดินทางเพียง 2.5 ชั่วโมงเท่านั้น นับว่าเป็นหนึ่งในรถไฟโดยสารที่วิ่งเร็วที่สุดในโลกในขณะนี้ด้วยความเร็วประมาณ 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟโนะโซะมิบางขบวนยังให้บริการต่อเนื่องทั้งซันโยและโทไกโด ชิงกันเซ็ง ทำให้การเดินทางจากโตเกียวไปยังฮะกะตะนั้นใช้เวลาไม่ถึง 5 ชั่วโมงเท่านั้น ปัจจุบัน สถานีฮะกะตะ เป็นสถานีปลายทางของเครือข่ายชิงกันเซ็งทางด้านตะวันตก แต่ถ้าคีวชู ชิงกันเซ็งสร้างมาเชื่อมต่อกับซันโย ชิงกันเซ็งสำเร็จ ก็จะทำให้สามารถเดินทางจากสถานีฮะกะตะต่อไปยังคะโงะชิมะได้ คาดว่าจะแล้วเสร็จในฤดูใบไม้ผลิของปี 2011.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

นาโงยะ

นครนาโงยะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคชูบุ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกบนเกาะฮนชู เป็นเมืองเอกของจังหวัดไอชิและเป็นหนึ่งในเมืองท่าหลักของญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย โตเกียว, โอซะกะ, โคเบะ, โยะโกะฮะมะ, ชิบะ และ คิตะกีวชู นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่นที่เรียกว่า เขตมหานครชูเกียว ซึ่งมีประชากรกว่า 9.1 ล้านคน.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและนาโงยะ · ดูเพิ่มเติม »

โยโกฮามะ

นครโยโกฮามะ เป็นเมืองใหญ่อันดับสองเรียงตามประชากรของประเทศญี่ปุ่นรองจากกรุงโตเกียว และยังถือเป็นเขตเทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดของญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองเอกของจังหวัดคานางาวะ ตั้งอยู่บริเวณอ่าวโตเกียวทางใต้ของกรุงโตเกียวในภาคคันโตบนเกาะหลักฮนชู โยโกฮามะถือเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่สำคัญของเขตอภิมหานครโตเกียว.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโยโกฮามะ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โอดาวาระ

อดาวาระ เป็นเมืองทางทิศตะวันตกในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2010 มีจำนวนประชากรประมาณ 198,466 มีขนาดพื้นที่ 114.09 ตารางกิโลเมตร เป็นเมืองที่ตั้งของปราสาทโอะดะวะระที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโอดาวาระ · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โฮะกุริกุชิงกันเซ็ง

กุริกุชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) และบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) เชื่อมต่อรถไฟความเร็วสูงสายอื่นจากมหานครโตเกียว ให้สามารถเดินทางได้ถึงเมืองคะนะซะวะ ช่วงแรกของเส้นทางตั้งแต่ทะกะซะกิถึงเปิดเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ในชื่อว่า นะงะโนะชิงกันเซ็ง.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโฮะกุริกุชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โจเอะสึชิงกันเซ็ง

อะสึชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูง เชื่อมระหว่างกรุงโตเกียวและนครนีงะตะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก).

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโจเอะสึชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะฮะชิ

ทะโยะฮะชิ เป็นเมืองในจังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโทะโยะฮะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุชิงกันเซ็ง

รถไฟญี่ปุ่นตะวันออก สายโทะโฮะกุ ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงในญี่ปุ่น เชื่อมระหว่าง มหานครโตเกียว และเมืองอาโอโมริ จังหวัดอาโอโมริ มีความยาวทั้งหมด 647.9 กิโลเมตร จัดว่าเป็นชิงกันเซ็งสายที่ยาวที่สุด ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโทโฮกุชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โคดามะ (ขบวนรถไฟ)

มะ ซีรีส์ 0 ขณะจอดอยู่ที่สถานีโอะกะยะมะ, เมษายน 200 ซีรีส์7 โคดามะ เป็นขบวนรถไฟที่ให้บริการในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง ขบวนโคดามะจะจอดทุกสถานีที่รถไฟวิ่งผ่าน ส่งผลให้ขบวนโคดามะเป็นขบวนรถไฟที่วิ่งช้าที่สุดในบรรดาบริการรถไฟชิงกันเซ็งทั้งหมดที่ผ่านเมืองใหญ่ๆ ได้แก่ โตเกียว และโอซากะ ปกติแล้วนักเดินทางจะนิยมใช้ขบวนโคดามะในการเดินทางระหว่างเมืองเล็กๆอย่างเช่นอะตะมิเท่านั้น ส่วนผู้เดินทางก็ระหว่างเมืองใหญ่ๆก็จะใช้บริการขบวน โนโซมิ หรือฮิการิแทน ซึ่งจะจอดระหว่างสถานีน้อยครั้งกว่า คำว่า โคดามะ มีความหมายในภาษาญี่ปุ่นว่า "เสียงสะท้อน" แต่เดิมนั้นเป็นชื่อของรถไฟด่วนที่ให้บริการบนเส้นทางหลักโทไกโด ที่ต่อมาคำว่า "โทไกโด"ก็ได้นำมาใช้เป็นชื่อของรถไฟชิงกันเซ็งในปี 1964 คำว่า"โคดามะ"จึงนำมาตั้งเป็นชื่อของรถไฟที่ให้บริการบนเส้นทางนี้ด้ว.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโคดามะ (ขบวนรถไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ

ตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ (สาย 4) เป็นเส้นทางของโตเกียวเมโทร ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีแนวเส้นทางรูปตัวยู แบ่งเป็นสายหลักและสายย่อย ชื่อทางการคือ สาย 4 สายมะรุโนะอุชิ (4号線丸ノ内線) นับเป็นเส้นทางที่สองที่เปิดให้บริการ และเป็นเส้นทางแรกที่ก่อสร้างหลังจากช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ · ดูเพิ่มเติม »

โนโซมิ (ขบวนรถไฟ)

นโซมิ ชิงกันเซ็ง ซีรีส์ 700 ที่สถานีโอกะยะมะ, เมษายน ค.ศ. 2007 ภายในชิงกันเซ็ง ซีรีส์ 700 (โนโซมิ), กันยายน ค.ศ. 2004 โนโซมิ เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง ถ้าทำขบวนด้วยรถไฟซีรีส์ 500 จะสามารถวิ่งด้วยความเร็วสูงสุด 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำให้สามารถเดินทางจากโตเกียวไปยังโอซากะ ระยะทางประมาณ 515 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางเพียง 2.5 ชั่วโมง ปัจจุบัน ขบวนโนโซมิ จะใช้รถไฟชิงกันเซ็ง 300 ซีรีส์, 500 ซีรีส์, 700 ซีรีส์ และ N700 ซีรีส์ ซึ่ง N700 รุ่นล่าสุดนั้นจะให้บริการไปกลับเพียงแค่ 4 รอบต่อวันเท่านั้น นอกจากนั้นยังมีโครงการจะให้บริการโนโซมิทั้งหมด (เช่น โตเกียว-ฮะกะตะ) ใช้รถไฟ N700 ทั้งหมดในปี 2009 นี้ ขบวนโนโซมินี้จะหยุดไม่บ่อยครั้งเหมือนกับขบวนฮิกะริ สำหรับโทไกโด ชิงกันเซ็งนั้น ขบวนโนโซมิจะหยุดที่สถานีรถไฟโตเกียว, นะโงะยะ, เคียวโตะ และชินโอซะกะ เท่านั้น ส่วนเส้นทาง ซันโย ชิงกันเซ็ง นั้น ขบวนโนโซมิทุกขบวนจะหยุดที่สถานีชินโคเบะ, โอะกะยะมะ, ฮิโระชิมะ, โคะกุระ และฮะกะตะเท่านั้น มีโนโซมิบางขบวนเท่านั้นที่จะหยุดที่สถานีเสริมนอกเหนือจากนี้ โนโซมิให้บริการเฉพาะเวลากลางวันเท่านั้น โดยไม่สามารถใช้สิทธิ์บัตรผ่านรถไฟญี่ปุ่นสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติได้ คำว่า โนโซมิ เป็นคำในภาษาญี่ปุ่น มีความหมายว่า "ความหวัง" ได้รับการคัดเลือกให้เป็นชื่อเนื่องจากมีความเร็วกว่าบริการรถไฟที่มีอยู่ในขณะนั้นคือ ฮิกะริ ที่มีความหมายว่า "แสง" หรือ "รังสี" และโคะดะมะ ที่มีความหมายว่า "เสียงสะท้อน" ซึ่งในขณะนั้นมีความต้องการรถไฟที่เร็วกว่าฮิระกิ และ โคะดะมะอยู่มาก โนโซมิ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1992.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและโนโซมิ (ขบวนรถไฟ) · ดูเพิ่มเติม »

ไมบะระ

มืองไมบะระ เป็นเมืองในจังหวัดชิงะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 223.1 ตารางกิโลเมตร ในปี 2006 มีจำนวนประชากร 42,154 คน ไมบะระสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2005 จากการควบรวมกันระหว่างหมู่บ้านมะอิฮะระ ซันโต อิบุกิ ซะกะตะ และโอมิ โดยชื่อเมืองใหม่ตั้งตามชื่อของสถานีรถไฟไมบะระ ซึ่งเป็นสถานีรถไฟชิงกันเซ็งสายโทไก.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและไมบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โทไกโดชิงกันเซ็งและ20 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

โทไกโด ชิงกันเซ็งโทไกโด ชินกันเซ็นโทไกโด ชินคันเซ็นโทไกโดชินคันเซ็น

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »