โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

ดัชนี แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1589 และเป็นพระราชินีแห่งอังกฤษตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1589 กระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1619 ที่พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตในอังกฤษ พระศพของพระองค์ตั้งอยู่ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ แอนน์ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1589 เมื่อพระชนมายุได้ 14 พรรษา มีพระโอรสธิดาสามพระองค์ที่รอดมาได้จนโตรวมทั้งพระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระองค์ทรงเป็นผู้มีความเด็ดเดี่ยวพอที่จะทรงใช้ความแตกแยกของการเมืองในสกอตแลนด์เป็นเครื่องมือในการเรียกร้องสิทธิในตัวพระโอรส เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ จากพระเจ้าเจมส์ ดูเหมือนว่าพระองค์จะทรงรักพระเจ้าเจมส์ในตอนแรก แต่ต่อมาทั้งสองพระองค์ก็ทรงห่างเหินจากกัน จนในที่สุดก็ทรงแยกกันอยู่ แต่ก็ยังคงทรงมีความนับถือซึ่งกันและกันอยู่บ้าง เมื่อประทับอยู่ในอังกฤษ พระองค์ทรงหันความสนใจจากทางด้านการเมืองที่เป็นฝักเป็นฝ่ายไปเป็นการอุปถัมภ์ศิลปะ และการสร้างราชสำนักที่หรูหราของพระองค์เอง ทรงจัดให้มีการพบปะในซาลอนที่ทำให้เป็นราชสำนักของพระองค์เป็นราชสำนักที่มีวัฒนธรรมสูงที่สุดสำนักหนึ่งในยุโรป หลังจากปี ค.ศ. 1612 พระสุขภาพพลานามัยของพระองค์ก็เริ่มเสื่อมลง จนในที่สุดก็ทรงถอนตัวจากราชสำนัก ตามทางการแล้วพระราชินีแอนน์สวรรคตในฐานะที่เป็นโปรเตสแตนต์ แต่หลักฐานบางอย่างบ่งชี้ให้เห็นว่าอาจจะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกขณะใดขณะหนึ่งระหว่างที่ยังมีพระชนม์อยู่ นักประวัติศาสตร์เดิมไม่ได้เห็นว่าแอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีที่มีความสำคัญมากเท่าใดนัก และออกจะเป็นผู้มีความหลงพระองค์เอง แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความเห็นเกี่ยวกับพระองค์ก็เริ่มจะเปลี่ยนไปโดยเริ่มมีความเห็นกันว่าพระองค์ทรงมีความเด็ดเดี่ยวเป็นตัวของตัวเองโดยเฉพาะทรงเป็นผู้มีความสำคัญในการเป็นผู้อุปถัมภ์ทางศิลปะระหว่างสมัยจาโคเบียน.

125 ความสัมพันธ์: ชาวยิวฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตพ.ศ. 2012พ.ศ. 2117พ.ศ. 2121พ.ศ. 2122พ.ศ. 2131พ.ศ. 2132พ.ศ. 2133พ.ศ. 2136พ.ศ. 2137พ.ศ. 2138พ.ศ. 2139พ.ศ. 2143พ.ศ. 2144พ.ศ. 2146พ.ศ. 2150พ.ศ. 2155พ.ศ. 2156พ.ศ. 2162พ.ศ. 2192พ.ศ. 2205พ.ศ. 2550พระราชวังพลาเซ็นเทียพระราชวังวินด์เซอร์พระราชวังฮอลีรูดพระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตพระราชวังไวต์ฮอลพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 3 แห่งสกอตแลนด์พันธสัญญาเดิมพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์การปฏิรูปคาทอลิกการแต่งงานโดยฉันทะกึสโทรภาษาฝรั่งเศสมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียราชวงศ์สจวตราชวงศ์โอลเดินบูร์กราชอาณาจักรอังกฤษรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรลอนดอนละครสวมหน้ากาก...ลีธวัฒนธรรมวิลเลียม ฮาร์วีย์วิลเลียม เซซิล บารอนเบิร์กลีย์สมัยจาโคเบียนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอสงครามกลางเมืองอังกฤษสเตอร์ลิงออร์กนีย์ออสโลอะธีนาอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีอินิโก โจนส์ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จอร์จ กอร์ดอน มาร์ควิสแห่งฮันท์ลีย์ที่ 1จอร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮมจอห์น รูธเว็น เอิร์ลแห่งเกาว์รีที่ 3จอห์น เอิร์สคิน เอิร์ลแห่งมาร์ที่ 18คาบสมุทรจัตแลนด์คู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอนคณะเยสุอิตประเทศอังกฤษประเทศนอร์เวย์ประเทศเยอรมนีประเทศเดนมาร์กปราสาทสเตอร์ลิงปราสาทครอนบอร์ปืนใหญ่นิกายลูเทอแรนแขวนคอ ควักไส้ และผ่าสี่โรมันคาทอลิกโรคเกาต์โรเบิร์ต คารร์ เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซตโคเปนเฮเกนโซฟีแห่งเมคเลินบวร์ค-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์โปรเตสแตนต์ไฮเดิลแบร์คไข้รากสาดน้อยเฟิร์ธออฟฟอร์ธเยรูซาเลมเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมียเอลิซาเบธแห่งเดนมาร์กเอวาเอดินบะระเฮนรี สจวต ลอร์ดดาร์นลีย์เฮนรี โฮเวิร์ด เอิร์ลแห่งนอร์ทแธมพ์ตันที่ 1เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษเจ้าชายแห่งเวลส์เดนมาร์ก–นอร์เวย์1 พฤษภาคม10 พฤษภาคม12 ธันวาคม13 พฤษภาคม13 กุมภาพันธ์17 พฤษภาคม19 พฤศจิกายน19 กุมภาพันธ์19 สิงหาคม2 มีนาคม20 สิงหาคม21 มกราคม23 พฤศจิกายน24 มีนาคม25 พฤษภาคม28 กรกฎาคม30 มกราคม31 กรกฎาคม6 พฤศจิกายน7 มีนาคม ขยายดัชนี (75 มากกว่า) »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต หรือพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งโบฮีเมีย (Friedrich V, Frederick V, Elector Palatine; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1596 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1632) เป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต และเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมีย ในพระนามว่า "พระเจ้าฟรีดริชที่ 1" (Fridrich Falcký) ระหว่างปี ค.ศ. 1619 ถึงปี ค.ศ. 1620 อันเป็นระยะเวลาอันสั้นที่ทำให้เรียกกันว่า "พระราชาแห่งเหมันต์" (Zimní král) พระเจ้าฟรีดริชเสด็จพระราชสมภพที่ตำหนักล่าสัตว์ใกล้อัมแบร์กที่โอเบอร์พฟาลซ์ พระองค์เป็นพระโอรสและทายาทของฟรีดริชที่ 4 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและหลุยส์ ยูเลียนาแห่งนัสเซาพระราชธิดาของวิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และ ชาร์ลอตต์เดอบูร์บอง พระองค์ทรงเป็นผู้คงแก่เรียน รหัสยิก และผู้ถือลัทธิคาลวิน ต่อมาฟรีดริชสืบครองรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกในปี ค.ศ. 1610 ฟรีดริชทรงเป็นผู้สร้าง สวนพฤกษชาติพาเลไทน์ อันมีชื่อเสียงที่ไฮเดลแบร์ก.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2012

ทธศักราช 2012 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2117

ทธศักราช 2117 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2117 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2121

ทธศักราช 2121 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2121 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2122

ทธศักราช 2122 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2122 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2131

ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2131 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2132

ทธศักราช 2132 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2132 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2133

ทธศักราช 2133 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2133 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2136

ทธศักราช 2136 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2136 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2137

ทธศักราช 2137 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2137 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2138

ทธศักราช 2138 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2138 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2139

ทธศักราช 2139 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2139 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2143

ทธศักราช 2143 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2143 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2144

ทธศักราช 2144 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2144 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2150

ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2150 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2155

ทธศักราช 2155 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2155 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2156

ทธศักราช 2156 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1613.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2156 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2162

ทธศักราช 2162 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2162 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2192

ทธศักราช 2192 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2192 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2205

ทธศักราช 2205 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2205 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพลาเซ็นเทีย

ระราชวังพลาเซ็นเทีย (Palace of Placentia) เป็นพระราชวังของพระราชวงศ์อังกฤษที่สร้างโดยฮัมฟรีย์ ดยุคแห่งกลอสเตอร์ในปี ค.ศ. 1447 ที่กรีนิชบนฝั่งแม่น้ำเทมส์ทางใต้ของลอนดอน พระราชวังถูกรื้อทิ้งในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และสร้างแทนที่ด้วยโรงพยาบาลกรีนิช (ปัจจุบันคือราชวิทยาลัยราชนาวีเดิม) เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระราชวังพลาเซ็นเทีย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังฮอลีรูด

ระราชวังฮอลีรูด (Holyrood Palace หรือ Palace of Holyroodhouse) ชื่อ "Holyrood" เป็นคำที่แปลงเป็นภาษาอังกฤษจากคำว่า "Haly Ruid" ของภาษาสกอตที่แปลว่า "กางเขนศักดิ์สิทธิ์" (Holy Cross) พระราชวังฮอลีรูดเป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่เอดินบะระในสกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ฮอลีรูดเป็นพระราชวังที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษที่ยังทรงใช้ในสถานที่ประทับหลักในสกอตแลนด์ ฮอลีรูดเดิมเป็นสำนักสงฆ์ที่ก่อตั้งโดยพระเจ้าเดวิดที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ ในปี ค.ศ. 1128 ต่อมามาใช้เป็นที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์และพระราชินีของสกอตแลนด์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ตัวพระราชวังตั้งอยู่ทางใต้ของรอยัลไมล์ (Royal Mile) ในเอดินบะระ ตรงกันข้ามกับปราสาทเอดินบะระทางอีกด้านหนึ่งของรอยัลไมล์ ในปัจจุบันเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการในสกอตแลนด์ของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ผู้ทรงประทับเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์ในต้นฤดูร้อนของทุกปีและทรงเป็นเจ้าภาพงานเลี้ยงในสวนและการเลี้ยงรับรองอย่างเป็นทางการต่าง ๆ เมื่อประทับอยู่ที่นั่น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระราชวังฮอลีรูด · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต

ระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต (Hampton Court Palace) เป็นพระราชวังหลวงที่ตั้งอยู่ที่ลอนดอนบะระห์แห่งริชมอนด์อัพพอนเทมส์ 18.8 กิโลเมตร ทางตะวันตกเฉียงใต้ของชาริงครอสในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร และเหนือใจกลางลอนดอนบนฝั่งแม่น้ำเทมส์ เป็นพระราชวังที่ไม่ได้ใช้ประทับโดยพระราชวงศ์อังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 พระราชวังเดิมสร้างสำหรับพระคาร์ดินัลทอมัส โวลซีย์ ข้าราชสำนักคนโปรดในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ราวปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังไวต์ฮอล

ระราชวังไวต์ฮอล (Palace of Whitehall) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในลอนดอนในสหราชอาณาจักร ที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์อังกฤษในลอนดอนระหว่าง ค.ศ. 1530 - ค.ศ. 1698 ยกเว้นเมื่อตึกเลี้ยงรับรอง (Banqueting House) ที่สร้างโดยอินิโก โจนส์ (Inigo Jones) ในปี ค.ศ. 1622 เกิดเพลิงไหม้ ก่อนที่ไฟจะไหม่พระราชวังไวต์ฮอลเป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปที่ประกอบด้วยห้องทั้งหมดกว่า 1,500 ห้อง ชื่อของวังใช้เป็นชื่อถนนที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานบริหารต่างๆ ของรัฐบาลอังกฤษ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระราชวังไวต์ฮอล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ. 1572 - ค.ศ. 1610) และพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์บูร์บงพระองค์แรก (ค.ศ. 1589 - ค.ศ. 1610) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นาวาร์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธมีคม หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

ระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (George I of Great Britain, George I von Großbritannien) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 – 11 มิถุนายน ค.ศ. 1727) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก (Christian IV of Denmark) (12 เมษายน ค.ศ. 1577 - 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1648) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1588 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1648 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1577 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 และ โซฟีแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ พระองค์ทรงเสกสมรสกับแอนน์ แคทเธอรินแห่งบรานเดนบวร์ก พระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 3 พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1648 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Frederick II of Denmark; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1534 - 4 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1699 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1588 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1534 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 และ โดโรเทียแห่งแซ็กซ-เลาเอินบวร์ก พระองค์ทรงเสกสมรสกับโซฟีแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ พระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 และ แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1588 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 3 แห่งสกอตแลนด์

ระเจ้าเจมส์ที่ 3 แห่งสกอตแลนด์ (James III of Scotland) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 3 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพันธสัญญาเดิม · ดูเพิ่มเติม »

พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์

ีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248 หรือพิธีมหาสนิท(Eucharist; Holy Communion) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิก, อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์บางคณะเรียกว่าศีลมหาสนิท เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และไวน์ (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต) การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของพระเป็นเจ้า เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน ในนิกายโปรเตสแตนต์ กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทตามพระวรสารนักบุญลูกา ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทเฉพาะตามที่พระศาสนจักรคาทอลิกกำหน.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปคาทอลิก

การปฏิรูปคาทอลิกราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 147 (Catholic Reformation) หรือการปฏิรูปคู่เคียง (Counter-Reformation), from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและการปฏิรูปคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

การแต่งงานโดยฉันทะ

้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศสทรงเสกสมรสโดยฉันทะเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1625 และด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ในปีเดียวกัน (ภาพเขียนของทั้งสองพระองค์โดยแอนโทนี แวน ไดค์ (เมษายน ค.ศ. 1634)) การแต่งงานโดยฉันทะ (ภาษาอังกฤษ: Proxy marriage หรือ Proxy wedding) เป็นการแต่งงานโดยที่เจ้าบ่าวหรือเจ้าสาวมิได้ปรากฏตัวในพิธีการแต่งงาน แต่ในพิธีจะให้ผู้มีอำนาจแทนทางกฎหมาย, ผู้แทน, ผู้รับฉันทะแสดงตัวเป็นตัวแทนผู้ที่ไม่สามารถปรากฏตัวได้ ถ้าทั้งเจ้าบ่าวและเจ้าสาวไม่สามารถปรากฏตัวได้ก็จะเรียกการแต่งงานว่าเป็นแบบ “การแต่งงานโดยฉันทะซ้อน” (Double-proxy Marriage).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและการแต่งงานโดยฉันทะ · ดูเพิ่มเติม »

กึสโทร

ปราสาทกึสโทร กึสโทร (Güstrow) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในรัฐเมคเคลินบวร์ค-ฟอร์พ็อมเมิร์นในประเทศเยอรมนี กึสโทรเป็นเมืองหลวงของอำเภอกึสโทร หมวดหมู่:เมืองในประเทศเยอรมนี หมวดหมู่:รัฐเมคเคลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น‎.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและกึสโทร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย

นจามิน แฟรงคลิน ผู้สถาปนามหาวิทยาลัย รูปปั้นเบนจามิน แฟรงคลิน หน้า College Hall มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย (University of Pennsylvania) (โดยทั่วไปเรียกว่า เพน (Penn) หรือ ยูเพน (UPenn)) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง ฟิลาเดลเฟีย ในรัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2283 (ค.ศ. 1740) โดยนายเบนจามิน แฟรงคลิน ซึ่งนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในสมาชิกไอวีลีก มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้รับการยอมรับให้เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของสหรัฐอเมริกาและของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีชื่อเสียงในด้าน การแพทย์ พาณิชยศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เข้ายากและมีการแข่งขันสูงมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ 4 ของประเทศ โดยนิตยสารยูเอสนิว (US News & World Report 2010) นอกจากนี้ วิทยาลัยและคณะต่างๆในระดับปริญญาโทและเอกส่วนใหญ่ก็ถูกจัดอยู่ใน Top 10 เกือบทั้งสิ้น ในปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2552) มีนักศึกษาประมาณ 24,599 คน และคณาจารกว่า 4,127 คน ในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สจวต

ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและราชวงศ์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โอลเดินบูร์ก

ราชวงศ์โอลเดินบูร์ก (House of Oldenburg) เป็นราชตระกูลเยอรมันเหนือและเป็นราชตระกูลที่มีอิทธิพลมากที่ราชตระกูลหนึ่งของยุโรป ราชตระกูลรุ่งเรืองขึ้นมามีความสำคัญเมื่อเคานต์คริสเตียนที่ 1 แห่งโอลเดินบูร์กได้รับเลือกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและราชวงศ์โอลเดินบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอังกฤษ

ราชอาณาจักรอังกฤษ (Kingdom of England.) เป็นราชอาณาจักรระหว่างปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและราชอาณาจักรอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

้าชายอัลเบิร์ตทรงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่เป็นบุรุษพระองค์เดียวที่เคยได้รับพระอิสริยยศ ''เจ้าชายพระราชสวามี'' แทนที่ธรรมเนียมการเลื่อนลำดับพระอิสริยยศขึ้นในชั้น ''เพียเรจ'' ตามปกติ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ คือคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์บริเตนองค์ปัจจุบัน คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ไม่ใช่พระสถานะหรือพระอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แต่หลายพระองค์ทรงมีอิทธิพลอย่างมากต่อพระมหากษัตริย์บางพระองค์ เช่น พระองค์ปัจจุบัน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ที่ทรงช่วยเสริมสร้างพระบารมีขององค์พระประมุขด้วย ตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ มีคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรแล้วทั้งสิ้น 9 พระองค์ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ละครสวมหน้ากาก

รื่องแต่งตัวในละคร “The Masque of Blackness” ออกแบบโดยอินิโก โจนส์ ละครสวมหน้ากาก (Masque) เป็นการละเล่นแบบหนึ่งที่นิยมทำกันในราชสำนักยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่อันที่จริงแล้วเริ่มขึ้นในอิตาลีก่อนหน้านั้นในรูปแบบของละครอินเทอร์เมดิโอซึ่งเป็นละครสวมหน้ากากที่แสดงในที่สาธารณะในงานเทศกาลยุคกลาง ละครสวมหน้ากากประกอบด้วยดนตรีและการเต้นรำ, การร้องเพลงและการแสดง บนเวทีที่ตกแต่งอย่างหรูหรา ที่โครงสร้างของฉากและเครื่องแต่งกายอาจจะออกแบบโดยสถาปนิกผู้มีชื่อเสียง ที่เป็นจะอุปมานิทัศน์ที่เป็นการสรรเสริญผู้เป็นเจ้าภาพ นักแสดงและนักดนตรีอาชีพจะได้รับการจ้างให้แสดงและร้องเพลงในละครดังกล่าว โดยทั่วไปแล้วผู้แสดงที่เป็นข้าราชสำนักจะไม่มีบทพูดหรือร้องแอนน์แห่งเดนมาร์กพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษมักจะทรงมีบทเต้นรำร่วมกับนางสนองพระโอษฐ์ในละครสวมหน้ากาก ระหว่างปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและละครสวมหน้ากาก · ดูเพิ่มเติม »

ลีธ

ลีธ ลีธ (Lìte, Leith) เป็นดิสตริคท์และอดีตบะระห์ ทางตอนเหนือของเมืองเอดินบะระที่ปากแม่น้ำลีธและเป็นเมืองท่าของเอดินบะระห์, สกอตแลนด์ ลีธตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและลีธ · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ฮาร์วีย์

วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ('''William Harvey'''.; 1 เมษายน ค.ศ. 1578 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1657) เป็นแพทย์ชาวอังกฤษผู้ลบความเชื่อเก่าๆของแพทย์ในยุคศตวรรษที่ 17 ที่มีความเชื่อเกี่ยวกับระบบโลหิตในร่างกาย เขาเป็นผู้ค้นพบการไหลเวียนโลหิตหากทว่ากว่าจะได้รับการยอมรับเขาเสียชีวิตไปเสียแล้ว.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและวิลเลียม ฮาร์วีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เซซิล บารอนเบิร์กลีย์

วิลเลียม เซซิล บารอนเบิร์กลีย์ (William Cecil, Baron Burghley; 13 กันยายน ค.ศ. 1520 - 4 สิงหาคม ค.ศ. 1598) วิลเลียม เซซิลรัฐบุรุษชาวอังกฤษเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษจนเกือบตลอดรัชสมัยของพระองค์ เป็นมุขมนตรีแห่งราชอาณาจักรสองสมัย (ค.ศ. 1550–ค.ศ. 1553 และ ค.ศ. 1558–ค.ศ. 1572) และ มุขมนตรีกรมพระคลัง ตั้งแต..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและวิลเลียม เซซิล บารอนเบิร์กลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยจาโคเบียน

สมัยจาโคเบียน หรือ ยุคจาโคเบียน (Jacobean era) เป็นสมัยประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ที่ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือ สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ สมัยจาโคเบียนเริ่มต่อจาก “สมัยเอลิซาเบธ” และตามด้วย “สมัยคาโรไลน์” “สมัยจาโคเบียน” เป็นสมัยที่กล่าวถึงลักษณะสถาปัตยกรรม, จักษุศิลป์, ศิลปะตกแต่ง และ วรรณกรรมที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองในยุคนั้น ชื่อของขบวนการมาจากคำว่า “Jacobean” มาจากภาษาฮิบรูของชื่อ “Jacob” หรือ “James” ซึ่งเป็นพระนามของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ หมวดหมู่:ยุคสมัยในอังกฤษ หมวดหมู่:คริสต์ศตวรรษที่ 17 หมวดหมู่:อังกฤษสมัยสจวต หมวดหมู่:สกอตแลนด์สมัยสจวต.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสมัยจาโคเบียน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 (อังกฤษ: Paul V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1605 ถึง ค.ศ. 1621 ประสูติเมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1552 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1621 รวมพระชนมายุได้ 68 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2095 ปอลที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 8 (อังกฤษ: Clement VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1592 ถึง ค.ศ. 1605 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2079 คลีเมนต์ที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ

หาสน์ที่ต่อเติมมุขด้านหน้าจากเล่ม 4 ของ "หนังสือสี่เล่มเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม" (I Quattro Libri dell'Architettura) ที่พิมพ์ในลอนดอนในปี ค.ศ. 1736 อาคารกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นอาคารในรูปแบบปัลลาดีโอ สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ (Palladian architecture) หมายถึงลักษณะของสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มาจากการออกแบบโดยอันเดรอา ปัลลาดีโอ (ค.ศ. 1508-1580) สถาปนิกชาวเวนิส คำว่า "แบบปัลลาดีโอ" โดยทั่วไปแล้วมักจะหมายถึงลักษณะของสิ่งก่อสร้างที่ได้รับอิทธิพลมาจากการออกแบบของปัลลาดีโอเอง สิ่งก่อสร้างในปัจจุบันที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาปัตยกรรมลักษณะนี้วิวัฒนาการมาจากปรัชญาการออกแบบของปัลลาดีโอ งานของปัลลาดีโอมีพื้นฐานมาจากความสมมาตร ความมีทัศนมิติ และคุณค่าของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างวัดของกรีกและโรมันโบราณ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 การตีความหมายของสถาปัตยกรรมคลาสสิกกลายมาเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า "คตินิยมปัลลาดีโอ" (Palladianism) ลักษณะนี้วิวัฒนาการต่อมาจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 "คตินิยมปัลลาดีโอ" กลายเป็นนิยมกันอยู่ระยะหนึ่งในบริเตนระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ลักษณะนี้ก็หวนกลับมาเป็นที่นิยมไม่แต่ในอังกฤษแต่ยังในหลายประเทศทางตอนเหนือของยุโรปด้วย ต่อมาก็ลดความนิยมลงในยุโรป แต่ไปนิยมกันในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะในสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยทอมัส เจฟเฟอร์สัน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอยังคงเป็นที่นิยมกันทั่วไปในยุโรปตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 มักจะในการออกแบบสิ่งก่อสร้างทางราชการหรือทางสารธารณะ ตั้งแต่ครึ่งหลังของ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็มีสถาปัตยกรรมการฟื้นฟูกอทิกเข้ามาเป็นคู่แข่ง ลักษณะหลังนี้สนับสนุนโดยสถาปนิกเช่นออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin) ที่คำนึงถึงที่มาจากวัดโบราณที่ถือว่าเป็นลักษณะ "นอกศาสนา" เกินไปสำหรับผู้นับถือโปรเตสแตนต์และแองโกล-คาทอลิก แต่กระนั้นสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอก็ยังคงเป็นที่นิยมและวิวัฒนาการตลอดมา ซึ่งจะเห็นได้จากการการออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันในลักษณะหน้าจั่ว ความสมมาตร และความได้สัดส่วน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอมีลักษณะหนา ดูทึบทึม อาคารหลายแห่งในประเทศไทยที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบนี้ ได้แก่ กระทรวงกลาโหม, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน, อาคารศุลกสถาน เป็นต้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอังกฤษ

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) เป็นสงครามกลางเมืองของอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ที่ต่อเนื่องกันหลายครั้งระหว่างฝ่ายรัฐสภา และฝ่ายกษัตริย์นิยม สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1646; ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1648 ถึงปี ค.ศ. 1649 เป็นสงครามของความขัดแย้งระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ฝ่ายหนึ่งและผู้สนับสนุนรัฐสภายาวอีกฝ่ายหนึ่ง ขณะที่ครั้งที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1651 เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และผู้สนับสนุนรัฐสภารัมพ์อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามกลางเมืองจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาที่ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ผลของสงครามกลางเมืองครั้งที่สองนำไปสู่การปลงพระชนม์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1, การลี้ภัยของพระราชโอรสพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และการเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริย์ไปเป็นระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653 และต่อจากนั้นไปเป็นระบบรัฐผู้พิทักษ์ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ระหว่างปี ค.ศ. 1653 ถึงปี ค.ศ. 1659 เอกสิทธิ์ในการนับถือคริสต์ศาสนาของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ในอังกฤษสิ้นสุดลงด้วยการรวม การปกครองโดยโปรเตสแตนต์ (Protestant Ascendancy) ในไอร์แลนด์ ในด้านรัฐธรรมนูญสงครามครั้งนี้เป็นการวางรากฐานว่าการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ไม่สามารถทำได้โดยมิได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่อันที่จริงแล้วปรัชญานี้ก็มิได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังจนกระทั่งถึงสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปลายคริสต์ศตวรรษ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสงครามกลางเมืองอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สเตอร์ลิง

ตอร์ลิง (ภาษาอังกฤษ: Stirling; ภาษาเคลลิคสกอตแลนด์: Sruighlea; ภาษาสกอตแลนด์: Stirlin) เป็นบะระห์โบราณ ที่ตั้งอยู่ในแขวงการปกครองสเตอร์ลิงและปริมณฑลในมณฑลผู้บริหารแทนพระองค์สเตอร์ลิงและฟอล์คเคิร์คในสกอตแลนด์ ตัวสเตอร์ลิงตั้งอยู่รอบปราสาทสเตอร์ลิงและเมืองโบราณจากยุคกลาง จากการสำรวจสำมโนประขากรใน..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและสเตอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

ออร์กนีย์

ออร์กนีย์ (Orkney) หรือที่เรียกกันอย่างไม่ถูกต้องว่า "หมู่เกาะออร์กนีย์" (The Orkney Islands หรือ The Orkneys) เป็น "กลุ่มเกาะ" (archipelago) และที่ตั้งอยู่ทางเหนือของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ 16 กิโลเมตรเหนือฝั่งทะเลเคทเนสส์ (Caithness) ออร์กนีย์ประกอบด้วยเกาะทั้งหมด 70 เกาะและในจำนวนนั้น 20 มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดของออร์กนีย์คือเกาะที่เรียกกันว่า "เมนแลนด์" (Mainland) ที่มีเนื้อที่ 523 ตารางกิโลเมตรซึ่งทำให้เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นที่หกของบรรดาเกาะของสกอตแลนด์ และใหญ่เป็นที่สิบของบรรดาเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะบริติช (British Isles) ที่ตั้งถิ่นฐานใหญ่ที่สุดที่เป็นศูนย์กลางของการปกครองอยู่ที่เคิร์กวอลล์ (Kirkwall) ออร์กนีย์เป็นหนึ่งใน 32 มณฑลของสกอตแลนด์ ผู้ที่อาศัยอยู่ที่ออร์กนีย์เรียกว่า "ออร์เคเดียน" ออร์กนีย์เป็นที่ตั้งถิ่นฐานมากว่า 5,500 ปี เดิมเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าจากยุคหินใหม่ และต่อมาโดยชาวพิกต์ (Picts) ในที่สุดออร์กนีย์ก็ถูกรุกรานและผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนอร์เวย์ในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและออร์กนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ออสโล

แผนที่กรุงออสโล ออสโล (Oslo; ในภาษานอร์เวย์ออกเสียง อุสลู หรือ อุชลู) เป็นเมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์ ออสโลมีประชากรประมาณ 811,688 (เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 2005) โดยประชากรร้อยละ 22 เป็นผู้อพยพมาจากประเทศใกล้เคียง เขตการปกครองออสโลมีพื้นที่ทั้งหมด 115 ตารางกิโลเมตร ซึ่ง 7 ตารางกิโลเมตรใช้ทำการเกษตร ปัจจุบัน (ค.ศ. 2006) ออสโลเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก แทนที่โตเกียว left หอคอยเทาวเวอร์ ณ เมืองออสโล รัฐสภาแห่งนอร์เวย์ สถานที่ให้เช้ารถจักรยานกลางกรุงออสโล ศาลาว่าการออสโล โรงละครแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เวย์ สถานีรถไฟกลางแห่งเมืองออสโล ออสโลตั้งอยู่ขอบด้านเหนือของอ่าวฟยอร์ด (fjord) ที่ชื่อออสโลฟยอร์ด ตัวเมืองประกอบด้วยเกาะ 40 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุดชื่อ Malmøya นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบ 343 แห่งซึ่งเป็นแหล่งน้ำจืดสำคัญ ตามตำนานของเผ่านอร์ส ออสโลก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและออสโล · ดูเพิ่มเติม »

อะธีนา

ในศาสนาและเทพปกรณัมกรีก อะธีนา (Athena) หรือ อะธีนี (Athene) หรือ แพลลัสอธีนา/อะธีนี (Pallas Athena/Athene) เป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งปัญญา ความกล้า แรงบันดาลใจ อารยธรรม กฎหมายและความยุติธรรม การสงครามโดยชอบ คณิตศาสตร์ ความแข็งแกร่ง ยุทธศาสตร์ ศิลปะ งานฝีมือและทักษะ ภาคโรมัน คือ มิเนอร์วา มีการพรรณนาอะธีนาว่าทรงเป็นพระสหายร่วมทางผู้เฉลียวฉลาดของวีรบุรุษและเทพเจ้าอุปถัมภ์การผจญภัยของวีรบุรุษ พระนางทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์ผู้อุปถัมภ์กรุงเอเธนส์ ชาวเอเธนส์ตั้งวิหารพาร์เธนอนบนอะโครโพลิสในกรุงเอเธนส์ (อะธีนาพาร์ธีนอส) เพื่อถวายเกียรติแด่พระนางDeacy, Susan, and Alexandra Villing.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและอะธีนา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 43 (Archbishop of Canterbury) เป็นอัครมุขนายกและผู้นำหลักของคริสตจักรแห่งอังกฤษ เป็นประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลกและบิชอปประจำมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี อัครมุขนายกแห่งแคนเทอร์เบอรีคนปัจจุบันคือศาสนาจารย์จัสติน เวลบี (Justin Welby) เป็นอัครมุขนายกคนที่ 105 ซึ่งสืบตำแหน่งที่ตกทอดมากว่า 1400 ปีจากนักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีผู้ก่อตั้งคริสตจักรโรมันคาทอลิกในอังกฤษในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

อินิโก โจนส์

อินิโก โจนส์ (Inigo Jones; 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1573 - 21 มิถุนายน ค.ศ. 1652) ถือกันว่าเป็นสถาปนิกคนสำคัญคนแรกของสถาปัตยกรรมสหราชอาณาจักรสมัยใหม่ และเป็นสถาปนิกคนแรกที่นำสถาปัตยกรรมแบบอิตาลีเข้ามายังอังกฤษ งานชิ้นสำคัญๆ ของโจนส์เป็นตึกโดดเช่นคฤหาสน์รับรอง, ไวท์ฮอลล์ และโคเวนต์การ์เดน ที่กลายมาเป็นแบบอย่างของการพัฒนาในบริเวณเวสต์เอ็นด์ นอกจากนั้นโจนส์ก็ยังมีบทบาทสำคัญในการออกแบบเวทีในฐานะนักออกแบบฉากละครสำหรับ งานสวมหน้ากากเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่ตามพระราชประสงค์จากราชสำนัก และอีกหลายชิ้นเป็นงานที่ทำร่วมกับเบ็น จอนสัน.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและอินิโก โจนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์

ปราสาทฮาร์ตฟอร์ดในฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ หรือ ฮาร์ตฟอร์ดเชียร์ (Hertfordshire) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่มีฐานะเป็นมณฑลภูมิศาสตร์และมณฑลนอกเมโทรโพลิตันที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของอังกฤษโดยมีฮาร์ตฟอร์ดเป็นเมืองหลวง ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์เป็นหนึ่งในมณฑลรอบนครลอนดอนที่มีเขตแดนติดกับนครลอนดอนและปริมณฑล, บัคคิงแฮมเชอร์, เบดฟอร์ดเชอร์, เคมบริดจ์เชอร์ และ เอสเซ็กซ์ ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์มีชื่อเสียงว่าเป็นเมืองเกิดของสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ กอร์ดอน มาร์ควิสแห่งฮันท์ลีย์ที่ 1

อร์จ กอร์ดอน มาร์ควิสแห่งฮันท์ลีย์ที่ 1 (’’George Gordon, 1st Marquess of Huntly’’; ค.ศ. 1562 - 13 มิถุนายน ค.ศ. 1636) จอร์จ กอร์ดอนขุนนางชาวสกอตแลนด์ผู้มีบทบาทในการเป็นผู้นำในช่วงระยะเวลของการรวมตัวระหว่างสกอตแลนด์กับอังกฤษ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและจอร์จ กอร์ดอน มาร์ควิสแห่งฮันท์ลีย์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม

อร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม (George Villiers, 1st Duke of Buckingham) (28 สิงหาคม ค.ศ. 1592 - (23 สิงหาคม ค.ศ. 1628) เป็นข้าราชสำนักคนโปรดและบางหลักฐานก็อ้างว่าเป็นคนรักของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและจอร์จ วิลเลิร์ส ดยุกที่ 1 แห่งบักกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รูธเว็น เอิร์ลแห่งเกาว์รีที่ 3

อห์น รูธเว็น เอิร์ลแห่งเกาว์รีที่ 3 (’’John Ruthven, 3rd Earl of Gowrie’’; ราว ค.ศ. 1577 - 5 สิงหาคม ค.ศ. 1600) จอห์น รูธเว็นผู้เป็นขุนนางชาวสกอตแลนด์เป็นบุตรชายคนที่สองของวิลเลียม รูธเว็น เอิร์ลแห่งเกาว์รีที่ 1 และภรรยาโดโรเธีย สจวต จอห์น รูธเว็นเสียชีวิตเมื่อพยายามลักตัวพระเจ้าเจมส์ที่ 6 ในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและจอห์น รูธเว็น เอิร์ลแห่งเกาว์รีที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอิร์สคิน เอิร์ลแห่งมาร์ที่ 18

อห์น เอิร์สคิน เอิร์ลแห่งมาร์ที่ 18 (’’John Erskine, 18th Earl of Mar’’; ราว ค.ศ. 1558 - 14 ธันวาคม ค.ศ. 1634) จอห์น เอิร์สคินเป็นนักการเมืองชาวสกอตแลนด์ จอห์น เอิร์สคินผู้ที่เกิดราว ค.ศ. 1558 เป็นบุตรของเอิร์สคิน เอิร์ลแห่งมาร์ที่ 1 ได้รับการศึกษาพร้อมกับสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์โดยพระอาจารย์นักมนุษยนิยมจอร์จ บุคานัน หลังจากการบรรลุนิติภาวะแล้วจอห์น เอิร์สคินก็ได้รับหน้าที่ในเชิงเป็นผู้ดูและสมเด็จพระเจ้าเจมส์ผู้มีอายุอ่อนกว่าเจ็ดปี ที่ประทับอาศัยอยู่ด้วยกันที่สเตอร์ลิง แต่อันที่จริงแล้วก็เป็นเพียงหุ่นเชิดของเจมส์ ดักกลาส เอิร์ลแห่งมอร์ตันที่ 4ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ และมาสูญเสียอำนาจและตำแหน่งเมื่อเอิร์ลแห่งมอร์ตันถูกจำคุก จอห์นมีความวิตกกังวลเมื่อมีการลักตัวสมเด็จพระเจ้าเจมส์โดยวิลเลียม รูธเว็น เอิร์ลแห่งเกาว์รีที่ 1ในปี ค.ศ. 1582 ในการคบคิดที่เป็นที่รู้จักกันว่า "การคบคิดรูธเว็น’’ (Raid of Ruthven) แต่เมื่อสมเด็จพระเจ้าเจมส์เสด็จหนีจากผู้ดูแลใหม่ของพระองค์ได้ เอิร์ลแห่งเกาว์รีก็หลบหนีไปทางตะวันตกของสกอตแลนด์ เมื่อออกมาจากที่ซ่อนเอิร์ลแห่งมาร์ก็ทำการยึดปราสาทสเตอร์ลิง โดยมีสมเด็จพระเจ้าเจมส์เข้าประชิด จนมาร์ต้องหลบหนีไปยังอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษทรงพยายามไกล่เกลี่ยแต่ไม่สำเร็จ หลังจากการเจรจาหลายครั้งระหว่างรัฐบาลอังกฤษและสกอตแลนด์ที่ไม่ประสบความสำเร็จแล้ว มาร์ก็รวบรวมกองกำลังกับเพื่อนๆ และเข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ปราสาทสเตอร์ลิง และไม่นานหลังจากนั้นก็ได้รับอำนาจสูงสุดในปี ค.ศ. 1585 มาร์ได้รับทรัพย์สินและตำแหน่งคืน ตั้งแต่บัดนั้นมาร์ก็ได้รับความรุ่งเรืองในหน้าที่การงานและเป็นที่โปรดปราน ต่อมามาร์ก็ได้รับตำแหน่งเป็นข้าหลวงของปราสาทเอดินบะระห์ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอาจารย์ของเฮนรี เฟรเดอริค เจ้าชายแห่งเวลส์พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ จอห์น เอิร์สคินสมรสครั้งที่สองกับแมรี บุตรีของเอเม สจวต ดยุคแห่งเลนน็อกซ์ ในปี ค.ศ. 1601 จอห์น เอิร์สคินก็ถูกส่งตัวไปยังลอนดอนในฐานะราชทูตจากสกอตแลนด์ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ทรงรับรองกับเอิร์สคินว่าเจมส์ควรจะเป็นทายาทของพระองค์ และการเดินทางมาทำหน้าที่ของเอิร์สคินเป็นการกระทำที่ทำด้วยความสุขุมและรอบคอบ เมื่อได้เป็นสมาชิกของสภาองคมนตรีแล้วเอิร์สคินก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นลอร์ด คาร์รอสส์ในปี ค.ศ. 1610 นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีตำแหน่งใน Court of High Commission และ เป็นองคมนตรีการคลังระหว่างปี ค.ศ. 1615 ถึงปี ค.ศ. 1630 จอห์น เอิร์สคินเสียชีวิตที่สเตอร์ลิงเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1634 เอิร์สคิน เอิร์ลแห่งมาร์ที่ 3 บุตรชายคนเดียวจากภรรยาคนแรกได้รับตำแหน่งเอิร์ลต่อจากบิดา จอห์น เอิร์สคินมีบุตรชายห้าคนกับภรรยาคนที่สอง.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและจอห์น เอิร์สคิน เอิร์ลแห่งมาร์ที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรจัตแลนด์

คาบสมุทรจัตแลนด์ คาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเดนมาร์ก: Jylland; ภาษาเยอรมัน: Jütland) เป็นคาบสมุทรในทวีปยุโรป เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก (ภาคตะวันตกในส่วนที่ไม่ใช่เกาะ) และประเทศเยอรมนี (บริเวณจุดเหนือสุด) โดยมีทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก และทะเลเหนือทางด้านตะวันตก จัตแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและคาบสมุทรจัตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอน

ู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอน (Βασιλικὸν Δῶρον, Basilikon Doron) เป็นศาสตรนิพนธ์เกี่ยวกับการปกครองราชอาณาจักรที่เขียนโดยสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษในปี ค.ศ. 1599 “Βασιλικὸν Δῶρον” เป็นภาษากรีกที่แปลว่า “สิ่งที่พระราชทาน” ลักษณะการเขียนเป็นแบบจดหมายส่วนตัวและจดหมายลับถึงพระราชโอรสองค์โตเฮนรี เฟรเดอริค เจ้าชายแห่งเวลส์ ผู้มีพระชนมพรรษาสี่พรรษา หลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าชายเฮนรี เฟรเดอริคในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและคู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทสเตอร์ลิง

ปราสาทสเตอร์ลิง (ภาษาอังกฤษ: Stirling Castle) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่สเตอร์ลิงในสกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ปราสาทสเตอร์ลิงเป็นปราสาทที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดปราสาทหนึ่งทั้งทางด้านประวัติศาสตร์และทางด้านสถาปัตยกรรมของสกอตแลนด์ ตัวปราสาทตั้งอยู่บนเนินคาลเซิลฮิลล์ซึ่งเป็นเนินที่เกิดจากหินภูเขาไฟโบราณ และล้อมรอบสามด้านด้วยผาสูงชันที่ทำให้เหมาะแก่การป้องกันตน ตำแหน่งที่ดีทางยุทธศาสตร์ทำให้ที่ตั้งของปราสาทมีความสำคัญมาตั้งแต่ยุคโบราณ สิ่งก่อสร้างหลักส่วนใหญ่สร้างมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 สิ่งก่อสร้างจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 ก็ยังคงมีหลงเหลืออยู่บ้าง แต่ส่วนที่ใช้ในการป้องกันด้านนอกทางด้านตัวเมืองสร้างมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 พระมหากษัตริย์และพระราชินีแห่งสกอตแลนด์หลายพระองค์ได้รับการสวมมงกุฎที่สเตอร์ลิง รวมทั้งสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ในปี ค.ศ. 1543 ปราสาทสเตอร์ลิงถูกล้อมด้วยกันอย่างน้อยแปดครั้งรวมทั้งหลายครั้งระหว่างสงครามอิสรภาพสกอตแลนด์ ครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1746เมื่อชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด สจวต หรือ "Bonnie Prince Charlie" พยายามยึดปราสาทแต่ไม่สำเร็.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและปราสาทสเตอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทครอนบอร์

รอนบอร์ (Kronborg) ตั้งอยู่ใกล้เมืองเฮลซิงเงอร์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือสุดของเซแลนด์ในเดนมาร์ก ซึ่งเป็นจุดที่แคบที่สุดของเออเรซุนด์ ซึ่งเป็นอ่าวระหว่างเดนมาร์กและสวีเดน ตรงจุดนี้อ่าวมีความกว้างเพียง 4 กิโลเมตร ซึ่งทำให้เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของการรักษาป้อมในตำแหน่งที่สามารถควบคุมการเดินเรือในบริเวณทะเลบอลติก ปราสาทโครนบอร์กเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นสำคัญของปราสาทแบบสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางตอนเหนือของยุโรป ซึ่งทำให้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและปราสาทครอนบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและปืนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นิกายลูเทอแรน

ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและนิกายลูเทอแรน · ดูเพิ่มเติม »

แขวนคอ ควักไส้ และผ่าสี่

การประหารชีวิต ฮิว เดสเพนเซอร์ ผู้เยาว์ (Hugh Despenser the Younger) การแขวนคอ ควักไส้ และผ่าสี่ (hanged, drawn and quartered) เป็นโทษประหารชีวิตสำหรับนักโทษชายที่มีความผิดฐานเป็นกบฏต่อแผ่นดินอังกฤษ ประกาศใช้ครั้งแรกในพระราชบัญญัติกบฏ ค.ศ. 1351 แต่มีการใช้มาก่อนหน้านี้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและแขวนคอ ควักไส้ และผ่าสี่ · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรคเกาต์

รคเกาต์ (หรือที่รู้จักกันในนาม โพดากรา เมื่อเกิดกับนิ้วหัวแม่เท้า) เป็นภาวะความเจ็บป่วยที่มักสังเกตได้จากอาการไขข้ออักเสบกำเริบเฉียบพลันซ้ำ ๆ—มีอาการแดง ตึง แสบร้อน บวมที่ข้อต่อ ข้อต่อกระดูกฝ่าเท้า-นิ้วเท้าที่โคนนิ้วหัวแม่เท้ามักได้รับผลกระทบบ่อยที่สุด (ประมาณ 50% ของผู้ป่วย) นอกจากนี้ ยังอาจพบได้ในรูปแบบของก้อนโทไฟ นิ่วในไต หรือ โรคไตจากกรดยูริก โรคนี้เกิดจากการมีระดับกรดยูริกในเลือดสูง กรดยูริกตกผลึกแล้วมาจับที่ข้อต่อ เส้นเอ็น และ เนื้อเยื่อโดยรอบ การวินิจฉัยทางคลินิกทำได้โดยการตรวจผลึกที่มีลักษณะเฉพาะในน้ำไขข้อ รักษาได้โดยยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAIDs) สเตอรอยด์ หรือ โคลชิซีน ซึ่งทำให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นได้ หลังจากอาการข้ออักเสบกำเริบเฉียบพลันผ่านไปแล้ว ระดับของกรดยูริกในเลือดมักจะลดลงได้โดยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต และในผู้ที่มีอาการกำเริบบ่อยอาจใช้อัลโลพูรินอลหรือโพรเบเนซิดเพื่อให้การป้องกันในระยะยาว จำนวนผู้ป่วยโรคเกาต์เพิ่มสูงขึ้นในช่วงหลายสิบปีนี้ โดยมีผลกระทบกับ 1-2% ของชาวตะวันตกในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต จำนวนที่เพิ่มขึ้นนี้เชื่อว่าเป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงที่พบมากขึ้นในประชากร ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มอาการเมตาบอลิก อายุขัยที่ยืนยาวขึ้น และ พฤติกรรมการกินอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป แต่เดิมนั้นโรคเกาต์เคยได้ชื่อว่าเป็น "โรคของราชา" หรือ "โรคของคนรวย".

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและโรคเกาต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต คารร์ เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซต

รเบิร์ต คารร์ เอิร์ลแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Robert Carr, 1st Earl of Somerset) (ราว ค.ศ. 1587 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1645) โรเบิร์ต คารร์เป็นขุนนางและนักการเมืองสกอตแลนด์คนโปรดของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและโรเบิร์ต คารร์ เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซต · ดูเพิ่มเติม »

โคเปนเฮเกน

ปนเฮเกน (Copenhagen; København เคอเปินเฮาน์) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเดนมาร์ก จำนวนประชากรในมีเมืองมีทั้งหมดประมาณ 500,000 คนและ เขตนครหลวงหรือเมโทรทั้งหมดประมาณ 1,200,000 คนเศษ กรุงโคเปนเฮเกนเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารประเทศ รัฐสภา รัฐบาลและเป็นที่ตั้งพระราชวังหลวงในพระราชวงศ์เดนมาร์ก โคเปนเฮเกนถือว่าเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งของยุโรป ก่อตั้งมาราว ๆ คริสต์ศตวรรษที่ 10 และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศในแถบสแกนดิเนเวี.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและโคเปนเฮเกน · ดูเพิ่มเติม »

โซฟีแห่งเมคเลินบวร์ค-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์

ซฟีแห่งเมคเลินบวร์ค-กึสโทร (Sophie of Mecklenburg-Güstrow; 4 กันยายน ค.ศ. 1557 — 14 ตุลาคม ค.ศ. 1631) เดิมทรงเป็นขุนนางชาวเยอรมันและต่อมาทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ และพระราชมารดาของสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก และ แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ โซฟีเป็นพระราชธิดาของอุลริชที่ 3 ดยุกแห่งเมคเลินบวร์ค-กึสโทร และ เอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและโซฟีแห่งเมคเลินบวร์ค-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเดิลแบร์ค

ลแบร์ค (Heidelberg) เป็นเมืองในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่บนแม่น้ำเน็คคาร์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ เมืองไฮเดิลแบร์คตั้งอยู่ทางทิศใต้ของนครแฟรงก์เฟิร์ตไปราว 78 กิโลเมตร ไฮเดิลแบร์คเป็นเมืองใหญ่อันดับห้าในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์คซึ่งสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและไฮเดิลแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ไข้รากสาดน้อย

้รากสาดน้อย หรือ ไข้ไทฟอยด์ (Typhoid fever; Enteric fever) เป็นการเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella enterica serovar Typhi พบได้ทั่วโลกโดยติดต่อผ่านทางการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ป่วย โดยเชื้อแบคทีเรียก่อโรคนี้จะเจาะทะลุผนังลำไส้แล้วถูกจับกินโดยเซลล์แมโครฟาจ (macrophage) จากนั้นเชื้อ Salmonella typhi จะเปลี่ยนโครงสร้างตัวเองเพื่อดื้อต่อการทำลายและสามารถหลบหนีออกจากแมโครฟาจได้ กลไกดังกล่าวทำให้เชื้อดื้อต่อการทำลายโดยแกรนูโลไซต์ ระบบคอมพลีเมนต์ และระบบภูมิคุ้มกัน จากนั้นเชื้อก่อโรคจะกระจายไปทั่วร่างกายผ่านทางน้ำเหลืองขณะที่อยู่ในเซลล์แมโครฟาจ ทำให้เชื้อเข้าสู่ระบบเรติคูโลเอนโดทีเลียม (reticuloendothelial system) และไปยังอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย จุลชีพก่อโรคนี้เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปแท่งสั้น ซึ่งเคลื่อนที่โดยแฟลกเจลลัมหลายเส้น (peritrichous flagella) แบคทีเรียเจริญได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิกาย 37 °C (99 °F).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและไข้รากสาดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เฟิร์ธออฟฟอร์ธ

ฟิร์ธออฟฟอร์ธมองจากเนินคาลตัน เฟิร์ธออฟฟอร์ธ (Linne Foirthe, Firth of Forth) คือชะวากทะเล หรือ "firth" ในภาษาสกอตที่หมายถึงบริเวณชายฝั่งทะเลของแม่น้ำฟอร์ธที่ไหลออกไปยัง ทะเลเหนือ ระหว่าง ไฟฟ์ทางตอนเหนือ และ เวสต์โลเธียน, เอดินบะระห์ และ อีสต์โลเธียนทางตอนใต้ เฟิร์ธออฟฟอร์ธรู้จักกันในชื่อ "โบโดเทรีย" ในสมัยโรมัน.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเฟิร์ธออฟฟอร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

เยรูซาเลม

รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H. Cline's tally in Jerusalem Besieged.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย

อลิซาเบธ สจวต (Elizabeth Stuart) เป็นเจ้าหญิงอังกฤษซึ่งเสกสมรสกับฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต ต่อมาพระสวามีได้ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมีย ทำให้พระนางได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย อย่างไรก็ตาม พระสวามีครองราชบัลลังก์โบฮีเมียได้เพียงปีเท่านั้น ทำให้พระนางได้รับสมญาว่า ราชินีฤดูหนาว จากการที่ได้ขึ้นเป็นราชินีและพ้นจากตำแหน่งในฤดูหนาว พระนางเป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 กษัตริย์แห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ กับแอนน์แห่งเดนมาร์ก พระนางยังเป็นพระอัยกา (ยาย) ของพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ อีกด้ว.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก

อลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก (Elizabeth of Denmark) (14 ตุลาคม ค.ศ. 1524 - 15 ตุลาคม ค.ศ. 1586) เอลิซาเบธแห่งเดนมาร์กเป็นดัชเชสแห่งเม็คเลนบวร์ก-ชเวรินและต่อมาแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึส โทรว์โดยการสมรส เอลิซาเบธเป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 1 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งโพเมอราเนี.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เอวา

อวา โดย Juan Antonio Vera Calvo เอวา (חַוָּה‎, Ḥawwāh; Eve อีฟ) เป็นผู้หญิงคนแรก ที่หนังสือปฐมกาลบันทึกไว้ โดยคำว่า เอวา เป็นคำมาจากภาษาฮีบรู แปลว่า มีชีวิตอยู่ ตามบันทึกพระคัมภีร์ มนุษย์ผู้หญิงถูกตั้งชื่อว่า เอวา หรือ อีฟ เพราะนางเป็นมารดาของปวงชนที่มีชีวิต ภาษาอาหรับเรียกว่า เฮาวาอ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเอวา · ดูเพิ่มเติม »

เอดินบะระ

อดินบะระ (Edinburgh เอดินเบอระ; Dùn Èideann; บางคนอ่าน/เขียนผิดเป็น: เอดินเบิร์ก) เป็นเมืองหลวงของประเทศสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของสกอตแลนด์ เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยกลาง ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงอยู่กลางเมือง เป็นที่ตั้งของปราสาทเอดินบะระอันเป็นทำเลที่ได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ในสมัยก่อน โดยรอบภูเขาถูกปรับพื้นที่เป็นคูเมืองเพื่อประโยชน์ในเชิงการทหาร รอบนอกเป็นที่ราบลดหลั่นเป็นขั้น ๆ กระจายออกโดยรอบ เอดินบะระเป็นที่ตั้งของรัฐสภาแห่งใหม่ของสกอตแลนด์ (เพิ่งแยกออกมาจากรัฐสภาของสหราชอาณาจักร) ตั้งอยู่บนถนนสายหลักของเอดินบะระคือ รอยัลไมล์ (The Royal Mile) ซึ่งสร้างตามแนวสันเขาเชื่อมโยงพื้นที่ประวัติศาสตร์ระหว่างปราสาทเอดินบะระและพระราชวัง สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณรอยัลไมล์ ปราสาทเอดินบะระ และสวนพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะปราสาทเอดินบะระเป็นปราสาทที่เป็นสถานที่เปิดตัวของหนังสือเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ เนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงฉากเมืองแม่มดในท้องเรื่อง เอดินบะระเป็นเมืองที่เจริญมากที่สุดเมืองหนึ่งในสหราชอาณาจักร มีศูนย์กลางเมืองตั้งอยู่รอบ ๆ ปราสาทเอดินบะระ เมืองเอดินบะระนั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งเทศกาลต่าง ๆ ตัวอย่างงานสำคัญที่ถูกจัดขึ้นในเมืองเอดินบะระ ได้แก่ เทศกาลศิลปะนานาชาติ Fringe ภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ งานหนังสือเด็ก เพลงแจ๊ส และเพลงพื้นบ้าน ในช่วงเทศกาลเหล่านี้ โดยเฉพาะช่วงเดือนสิงหาคมหรือช่วงหน้าร้อนของสหราชอาณาจักร ที่เมืองเอดินบะระจะมีจัดงานเทศกาลประจำปีที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวมาที่เมืองนี้เป็นจำนวนมาก จนทำให้เมืองเอดินบะระติดอันดับเมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอน นอกจากนั้น เมืองเอดินบะระยังเป็นเมืองที่ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองที่เป็นมิตรกับเด็ก" (The Child Friendly City) เนื่องจากภายในเมืองมีสถานที่ท่องเที่ยวที่เหมาะสำหรับเด็กมากมาย เช่น พิพิธภัณฑ์วัยเด็กและเรื่องเล่าของผู้คน (Museum of Childhood and People’s Story) สวนสัตว์ที่มีศูนย์การศึกษาที่เคลื่อนไหวได้จริง (Dynamic Education Centre) โลกแห่งผีเสื้อและแมลง (Butterfly & Insect World) และโลกทะเลลึก (Deep Sea World) เป็นต้น ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ เมืองเอดินบะระเป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอนและใหญ่เป็นอันดับห้าของยุโรป โดยมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึงสามแห่งด้วยกันคือ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์ และมหาวิทยาลัยเนเปียร์ ภาพ:Edinburgh1.JPG|ปราสาทเอดินบะระ ตั้งอยู่บนยอดเขากลางเมือง ภาพ:Edinburgh2.JPG|อาคารรัฐสภาของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเอดินบะร.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี สจวต ลอร์ดดาร์นลีย์

นรี สจวต ลอร์ดดาร์นลีย์ (Henry Stuart, Lord Darnley) (7 ธันวาคม ค.ศ. 1545 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1567) เฮนรี สจวต ลอร์ดดาร์นลีย์เกิดเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1545 ที่ลีดสในมณฑลเวสต์ยอร์คเชอร์ในอังกฤษ เป็นบุตรของแม็ทธิว สจวต ดยุคแห่งเล็นน็อกซที่ 4และมาร์กาเร็ต ดักกลาส ลอร์ดดาร์นลีย์เป็นพระสวามีองค์ที่สองในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ ระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1565 ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1567 และเป็นพระบิดาของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ลอร์ดดาร์นลีย์สิ้นพระชนม์เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1567 ที่เอดินบะระห์ในสกอตแลน.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเฮนรี สจวต ลอร์ดดาร์นลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี โฮเวิร์ด เอิร์ลแห่งนอร์ทแธมพ์ตันที่ 1

นรี โฮเวิร์ด เอิร์ลแห่งนอร์ทแธมพ์ตันที่ 1 (’’Henry Howard, 1st Earl of Northampton’’; 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1540 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1614) เฮนรี โฮเวิร์ดเป็นขุนนางและข้าราชสำนักคนสำคัญชาวชาวอังกฤษ ผู้ที่ถูกต้องสงสัยว่าเป็นผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกอย่างลับๆ จนตลอดชีวิต และในบางช่วงของชีวิตก็ประสบการไม่เป็นที่ทรงโปรดปรานจากพระมหากษัตริย์ ซึ่งทำให้ชื่อเสียงต้องได้รับความเสื่อมเสียเป็นอันมากตามไปด้วย เฮนรี โฮเวิร์ดผู้ที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นผู้คงแก่เรียน, ผู้มีความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม และ ผู้มีใจบุญสุนทาน เป็นผู้สร้างคฤหาสน์นอร์ทธัมเบอร์แลนด์ในกรุงลอนดอน และเป็นผู้ดูแลการก่อสร้างคฤหาสน์อันงดงามชื่อคฤหาสน์ออดลีย์เอนด์ นอกจากนั้นก็ยังเป็นผู้ก่อตั้งโรงพยาบาลอีกหลายแห่งด้วย ฟรานซิส เบคอนอ้างคำกล่าวสามคำของเฮนรี โฮเวิร์ดใน Apophthegms และกล่าวว่าเฮนรี โฮเวิร์ดเป็น "ที่ปรึกษาราชการผู้ที่เป็นผู้มีการศึกษาดีที่สุดในราชอาณาจักร ผู้ที่ถวาย ความก้าวหน้าทางการศึกษา แด่พระมหากษัตริย์" เฮนรี โฮเวิร์ดมาเสียชีวิตก่อนที่จะต้องขึ้นศาลในข้อกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องในการฆาตกรรมเซอร์ทอมัส โอเวอร์บรี.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเฮนรี โฮเวิร์ด เอิร์ลแห่งนอร์ทแธมพ์ตันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์

นรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ (Henry Frederick, Prince of Wales; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1594 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1612) เฮนรี เฟรเดอริกเป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแอนน์แห่งเดนมาร์ก เฮนรี เฟรเดอริกเป็นผู้ที่เห็นกันว่าทรงเป็นชายหนุ่มผู้ทรงมีความเหมาะสมที่จะสืบครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา แต่เมื่อมีพระชนมายุได้ 18 พระองค์ก็ทรงมาด่วนสวรรคตลงด้วยไข้รากสาดน้อย ซึ่งทำให้ตำแหน่งรัชทายาทตกไปเป็นของพระอนุชาผู้ขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 ที่พระราชวังลูฟร์ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี เดอ เมดีซิส สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ต่อมาเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1625 ถึงวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียสิ้นพระชนม์เมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1669 ที่วังแห่งโคลอมบ์ ฝรั่งเศส พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียเป็นพระราชินีแห่ง ราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ โดยการเสกสมรสกับพระเจ้าชาลส์ และเป็นพระราชมารดาในพระมหากษัตริย์สองพระองค์ คือ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และเป็นพระอัยกีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3และพระราชินีนาถแมรี และพระราชินีนาถแอนน.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนมาร์ก–นอร์เวย์

นมาร์ก-นอร์เวย์ (Dänemark-Norwegen, Danmark-Norge, Denmark-Norway) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ และรวมทั้งดินแดนอิสระไอซ์แลนด์ของนอร์เวย์ หลังจากการล่มสลายของสหภาพคาลมาร์แล้ว สองราชอาณาจักรก็ทำการตกลงรวมกันเป็นราชอาณาจักรร่วมประมุขใหม่ในปี ค.ศ. 1536 และรุ่งเรืองมาจนถึง ค.ศ. 1814 บางครั้งคำว่า "ราชอาณาจักรเดนมาร์ก" ก็จะหมายถึงทั้งสองอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1536 จนถึง ค.ศ. 1814 เพราะอำนาจทางการเมืองและทางการเศรษฐกิจมีศูนย์กลางอยู่ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก คำนี้ครอบคลุมส่วนที่เป็น "ราชอาณาจักร" โอลเดนบูร์กของปี..

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและเดนมาร์ก–นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ10 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ13 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ19 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ19 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ23 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤษภาคม

วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ25 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ6 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษและ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Anne of Denmarkสมเด็จพระราชินีแอนน์ แห่งเดนมาร์กแอนน์แห่งเดนมาร์ก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »