โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561

ดัชนี แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561

วันที่ 4 พฤษภาคม..

9 ความสัมพันธ์: ภูเขาไฟคีเลาเวอามาตราเมร์กัลลีรอยเลื่อนหมู่เกาะฮาวายจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวคลื่นสึนามิแผ่นดินไหวนำเกาะฮาวายเกาะโอวาฮู

ภูเขาไฟคีเลาเวอา

ูเขาไฟคีเลาเวอา เป็นภูเขาไฟรูปโล่และเป็นภูเขาไฟมีพลังในเกาะฮาวาย เป็นหนึ่งในภูเขาไฟ 5 ลูกที่ประกอบกันเป็นเกาะฮาวาย (อีก 4 ลูกมีเมานาโลอา เมานาเคอา โคฮาลา ฮูอาลาไล) ตั้งอยู่แนวชานฝั่งทางตอนใต้ของเกาะมีอายุระหว่าง 300,000 ถึง 600,000 ปี ยอดของภูเขาไฟลูกนี้โผล่พ้นระดับน้ำทะเลเมื่อประมาณ 100,000 ปีก่อน คีเลาเวอาเป็นภูเขาไฟที่อายุน้อยที่สุดเป็นอันสองของจุดร้อนฮาวายและเป็นจุดปะทุของเทือกเขาใต้ทะเลฮาวาย–เอมเพอเรอะ ในอดีตภูเขาไฟลูกนี้ไม่มีความโดดเด่นด้านภูมิประเทศและกิจกรรมในอดีตต่าง ๆ ก็เกิดขึ้นพร้อมกับภูเขาไฟเมานาโลอาทำให้คิดคีเลาเวอาอาจเป็นแอ่งภูเขาไฟขนาดเล็กของภูเขาไฟที่ใหญ่กว่า โครงสร้างของคีเลาเวอานั้นมีขนาดใหญ่แอ่งภูเขาไฟบนยอดของมันเพิ่งเกิดขึ้นมาไม่นานและมีเขตเขาทรุด 2 แห่งที่ยังเคลื่อนไหวโดยที่หนึ่งแผ่ขยายเป็นระยะทาง 125 ก.ม.ทางตะวันออกส่วนอีกที่ 35 ก.ม.ทางตะวันตก ซึ่งทั้ง 2 แห่งนี้เกิดจากรอยเลื่อนที่ยังคงมีพลังความลึกของเขาทรุดจะลึกลงเฉลี่ย 2 ถึง 20 มม.ต่อปี คีเลาเวอามีการปะทุขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต..

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และภูเขาไฟคีเลาเวอา · ดูเพิ่มเติม »

มาตราเมร์กัลลี

มาตราเมร์กัลลี (Mercalli scale) เป็นมาตราสำหรับใช้กำหนดขั้นความรุนแรงของแผ่นดินไหว คิดค้นโดยจูเซปเป เมร์กัลลี (Giuseppe Mercalli) ผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวชาวอิตาลี เมื่อ พ.ศ. 2445 โดยแบ่งไว้ 10 อันดับ ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 แฮร์รี โอ.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และมาตราเมร์กัลลี · ดูเพิ่มเติม »

รอยเลื่อน

รอยเลื่อยในหินดินดานใกล้กับเมือง แอดิเลด ของออสเตรเลีย ในทางธรณีวิทยานั้น รอยเลื่อน (fault) หรือ แนวรอยเลื่อน (fault line) เป็นรอยแตกระนาบ (planar fracture) ในหิน ที่หินด้านหนึ่งของรอยแตกนั้นเคลื่อนที่ไปบนหินอีกด้านหนึ่ง รอยเลื่อนขนาดใหญ่ในชั้นเปลือกโลกเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ที่แตกต่างกันหรือเฉือนกันและเขตรอยเลื่อนมีพลัง (active fault zone) เป็นตำแหน่งที่ไม่แน่นอนของการเกิดแผ่นดินไหวทั้งหลาย แผ่นดินไหวเกิดจากการปล่อยพลังงานออกมาระหว่างการเลื่อนไถลอย่างรวดเร็วไปตามรอยเลื่อน รอยเลื่อนหนึ่งๆตามแนวตะเข็บรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกของการแปรสัณฐาน (tectonic) สองแผ่นเรียกว่ารอยเลื่อนแปรสภาพขนาดใหญ่ (transform fault) ด้วยปรกติแล้วรอยเลื่อนมักจะไม่เกิดขึ้นเป็นรอยเลื่อนเดี่ยวอย่างชัดเจน คำว่า “เขตรอยเลื่อน” (fault zone) จึงถูกนำมาใช้เมื่อกล่าวอ้างถึงเขตที่มีการเปลี่ยนลักษณะที่ซับซ้อนที่เกิดขึ้นร่วมกับระนาบรอยเลื่อน ด้านทั้งสองของรอยเลื่อนที่ไม่วางตัวอยู่ในแนวดิ่งเรียกว่า “ผนังเพดาน” (hanging wall) และ “ผนังพื้น” (foot wall) โดยนิยามนั้นหินเพดานอยู่ด้านบนของรอยเลื่อนขณะที่หินพื้นนั้นอยู่ด้านล่างของรอยเลื่อน นิยามศัพท์เหล่านี้มาจากการทำเหมือง กล่าวคือเมื่อชาวเหมืองทำงานบนมวลสินแร่รูปทรงเป็นแผ่นเมื่อเขายืนบนหินพื้นของเขาและมีหินเพดานแขวนอยู่เหนือเขานั่นเอง.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และรอยเลื่อน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะฮาวาย

หมู่เกาะฮาวายเป็นกลุ่มเกาะที่ประกอบด้วย 8 เกาะใหญ่, อะทอลล์, เกาะเล็ก ๆ และภูเขาใต้ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทอดตัวยาวเป็นระยะทาง 2,400 กิโลเมตรจากเกาะฮาวายทางตอนใต้ไปถึงอะทอลล์เคอร์ทางตอนเหนือ ในอดีตชาวยุโรปและชาวอเมริกันเรียกกลุ่มเกาะนี้ว่า"หมู่เกาะแซนวิช"อันเป็นชื่อที่เจมส์ คุกตั้งให้เพื่อเป็นเกรียติแก่จอห์น มอนทากิว เอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช ปัจจุบันเรียกชื่อว่าหมู่เกาะฮาวายตามชื่อของเกาะที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มเกาะนี้ การปกครองแบบราชาธิปไตยฮาวายถูกล้มล้างใน..

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และหมู่เกาะฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

'''จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว'''คือตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือจุดโฟกัสของการเกิดแผ่นดินไหว (ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว) จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (epicenter, epicentre จาก epicentrum หรือ ἐπίκεντρος) คือจุดบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว หรือจุดโฟกัส (ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางที่เกิดการถ่ายเทพลังงานเมื่อเกิดแผ่นดินไหว) ตามที่ได้นิยามไปข้างต้น จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเป็นจุดบนผิวโลกที่อยู่ในแนวดิ่งเหนือจุดที่รอยเลื่อนเกิดจากแตกหัก โดยทั่วไปจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวนี้จะเป็นจุดที่เกิดความเสียหายสูงสุดเนื่องจากแผ่นดินไหว อย่างไรก็ดีสำหรับในแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ๆ ความยาวของการแตกหักของรอยเลื่อนสามารถกินระยะทางที่ยาวกว่าและก่อให้เกิดความเสียหายตลอดรอยเลื่อน ตัวอย่างเช่นแผ่นดินไหวขนาด 7.9 ในปี 2545 ที่เดนาลี อะแลสกา ซึ่งมีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในบริเวณตะวันตกของรอยแตก แต่ความเสียหายสูงสุดกลับพบที่ระยะห่างออกไป 330 กิโลเมตรที่จุดสิ้นสุดของบริเวณรอยแตก.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวนำ

แผ่นดินไหวนำ หรือทับศัพท์ว่า ฟอร์ช็อก (foreshock) เป็นแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (แผ่นดินไหวหลัก) ที่มีความเกี่ยวข้องกันทั้งในช่วงเวลาและพื้นที่ โดยชื่อเรียกของการเกิดแผ่นดินไหว ทั้งแผ่นดินไหวนำ, แผ่นดินไหวหลัก หรือแผ่นดินไหวตาม จะเกิดขึ้นตามลำดับของเหตุการณ.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และแผ่นดินไหวนำ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฮาวาย

ที่ตั้งของหมู่เกาะฮาวายในรัฐฮาวาย เกาะฮาวาย หรือเรียกว่า เกาะใหญ่ เป็นเกาะใหญ่สุดในหมู่เกาะฮาวาย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้สุด มีพื้นที่ 10,430 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่กว่าทุกเกาะในกลุ่มเกาะฮาวายรวมกัน และเป็นเกาะใหญ่สุดในสหรัฐอเมริกา เกาะนี้มีขอบเขตเทียบเท่าเคาน์ตีฮาวายในรัฐฮาวาย เกาะฮาวายรู้จักกันในชื่อ "เกาะใหญ่" เพื่อลดความสับสนระหว่างชื่อเกาะกับรัฐ หมวดหมู่:หมู่เกาะฮาวาย.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และเกาะฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

เกาะโอวาฮู

กาะโอวาฮู โอวาฮู (Oahu) หรือ โออาฮู (ฮาวาย: Oʻahu) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ "The Gathering Place" (ที่รวมคน) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 3 ของฮาวาย และมีพลเมืองหนาแน่นที่สุดในบรรดาเกาะของรัฐฮาวาย มีเมืองโฮโนลูลูตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะ เกาะมีพื้นที่ 1,545.4 ตารางกิโลเมตร (596.7 ตารางไมล์) ถือเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 20 ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: แผ่นดินไหวที่ฮาวาย พ.ศ. 2561และเกาะโอวาฮู · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »