โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แผนสี่ปี

ดัชนี แผนสี่ปี

แผนสี่ปี (Four Year Plan) เป็นหนึ่งในมาตรการทางเศรษฐกิจที่ได้ริเริ่มโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งได้มอบหมายให้จอมพลไรช์ แฮร์มันน์ เกอริงในการดูแลรับผิดชอบ เกอริงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจเต็มแห่งไรช์ (Reich Plenipotentiary) ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดอำนาจหน้าที่ของสมาชิกคณะรัฐมนตรี รวมถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเศรษฐกิจ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร แผนงานนี้เป็นหนึ่งในหลายแผนงานของรัฐบาลที่คิดขึ้นโดยฮิตเลอร์และพรรคนาซี ซึ่งรวมถึงหน่วยงานต่างๆ เช่น องค์การท็อดท์ และการรวมตัวกันของหน่วยเอ็สเอ็สและกองกำลังตำรวจเยอรมัน รวมถึงตำรวจลับเกสตาโพภายใต้บัญชาการของไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ วัตถุประสงค์หลักของแผนสี่ปีคือ การจัดหาอาวุธของเยอรมนีและเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการพึ่งพาตัวเองในระยะเวลาสี่ปี,นับตั้งแต่ปี..

12 ความสัมพันธ์: ชุทซ์ชทัฟเฟิลฟริทซ์ ท็อดท์พรรคนาซีการโอนมาเป็นของรัฐสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาแวร์ซายอดอล์ฟ ฮิตเลอร์องค์การท็อดท์แฮร์มันน์ เกอริงไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เกสตาโพเอาโทบาน

ชุทซ์ชทัฟเฟิล

ทซ์ชทัฟเฟิล (Schutzstaffel "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปี..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและชุทซ์ชทัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ฟริทซ์ ท็อดท์

รัฐมนตรีแห่งไรซ์ ฟริทซ์ ท็อดท์ในเครื่องแบบหน่วยเอสเอ,ค.ศ. 1940 ฟริทซ์ ท็อดท์ (Fritz Todt) เป็นช่างวิศวกรการก่อสร้างชาวเยอรมัน, เจ้าหน้าที่นาซีระดับอาวุธโสซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ตรวจการใหญ่ทางหลวงเยอรมัน" ซึ่งคอยดูแลควบคุมการก่อสร้างออโตบาห์นในเยอรมัน ต่อมาได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุทโธปกรณ์และสรรพาวุธแห่งไรช์ เป็นผู้นำแนวคิดเศรษฐกิจแบบการทหารนำในช่วงเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ก่อตั้งองค์การของฮิตเลอร์ภายใต้ชื่อว่า "องค์การท็อดท์" กลุ่มวิศวกรรมทางทหารซึ่งได้จัดหาโรงงานอุตสาหกรรมโดยแรงงานเกณฑ์และบริหารการจัดการก่อสร้างทั้งหมดของค่ายกักกันในช่วงสุดท้ายของจักรวรรดิไรซ์ที่สาม เขาได้เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและฟริทซ์ ท็อดท์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและพรรคนาซี · ดูเพิ่มเติม »

การโอนมาเป็นของรัฐ

การโอนมาเป็นของรัฐ (Nationalization หรือ nationalisation) คือกระบวนการแปลงทรัพย์สินของเอกชนมาเป็นของรัฐบาล โดยทำให้เป็นกรรมสิทธิ์ของรัฐบาลระดับชาติหรือรัฐhttp://www.merriam-webster.com/dictionary/nationalization ซึ่งมักจะหมายถึงการที่ทรัพย์สินถูกถ่ายโอนจากภาคเอกชนหรือหน่วยราชการระดับล่าง เช่น เทศบาล มาเป็นของหน่วยราชการระดับที่ใหญ่กว่าอย่างรัฐบาล การโอนมาเป็นของรัฐมีความหมายตรงข้ามกับการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน (privatization) การโอนมาเป็นของเทศบาล (municipalization) และการแปรรูปตลาดหลักทรัพย์ (demutualization) ทั้งนี้การถ่ายโอนทรัพย์สินของรัฐที่เคยแปรรูปเป็นของเอกชนไปแล้วแต่ภายหลังได้โอนกลับมาเป็นของรัฐอีกครั้งหนึ่งจะเรียกว่า การโอนกลับมาเป็นของรัฐ (renationalization หรือ renationalisation) ซึ่งอุตสาหกรรมที่มักจะตกเป็นเป้าของการโอนมาเป็นของรัฐได้แก่ การขนส่ง การสื่อสาร พลังงาน ธนาคาร และทรัพยากรธรรมชาติ รัฐอาจโอนทรัพย์สินกลับมาเป็นของตนโดยไม่จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ครอบครองรายก่อนหน้าก็ได้ ทั้งนี้การโอนดังกล่าวแตกต่างจากการกระจายทรัพย์สิน (property redistribution) ตรงที่รัฐยังคงเป็นเจ้าของและมีอำนาจควบคุมในทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ ในบางครั้งรัฐจะทำการโอนทรัพย์สินที่ยึดมาจากการทำผิดกฎหมายมาเป็นของตนได้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างคือในปี..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและการโอนมาเป็นของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การท็อดท์

องค์การท็อดท์ (Organisation Todt) เป็นกลุ่มวิศวกรพลเรือนและทหารในนาซีเยอรมนีระหว่างปี..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและองค์การท็อดท์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เกอริง

แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".

ใหม่!!: แผนสี่ปีและแฮร์มันน์ เกอริง · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกสตาโพ

รื่องแบบเกสตาโพ เกสตาโพ (Gestapo) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ทบวงตำรวจลับของรัฐ (Geheime Staatspolizei) เป็นตำรวจลับอย่างเป็นทางการของนาซีเยอรมนี เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและเกสตาโพ · ดูเพิ่มเติม »

เอาโทบาน

อาโทบานสาย 3 ตัดกับสาย 5 บริเวณแฟรงเฟิร์ต เอาโทบาน (Autobahn ออกเสียง: เอาโทบาน) เป็นศัพท์ภาษาเยอรมันหมายถึง ทางด่วนระหว่างเมือง ซึ่งเป็นทางคู่และมีทางยกระดับข้ามทางแยก ศัพท์คำนี้ใช้เรียกทางด่วนในเยอรมนี ออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ แต่เมื่อกล่าวโดยทั่วไปมักหมายถึงทางหลวงในเยอรมนี เอาโทบานในเยอรมนีเป็นทางด่วนที่ไม่มีการเรียกเก็บค่าผ่านทาง ส่วนในออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์มีด่านเก็บค่าผ่านทาง ในเยอรมนีและออสเตรีย กำหนดให้พาหนะที่ใช้งานเอาโทบานได้ จะต้องเป็นพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์และมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 60 กม/ชม (37 mph) ส่วนในสวิตเซอร์แลนด์ต้องมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 80 กม/ชม (50 mph) ส่วนขีดจำกัดความเร็วนั้น กำหนดไว้ที่ไม่เกิน 130 กม/ชม (80 mph) สำหรับออสเตรีย, ไม่เกิน 120 กม/ชม (75 mph) สำหรับสวิตเซอร์แลนด์ ส่วนในเยอรมนีนั้น ส่วนใหญ่ไม่มีจำกัดความเร็วสูงสุด แต่มีการกำหนดความเร็วแนะนำที่ 130 กม/ชม (80 mph) ยกเว้นในบางรัฐเช่น เบรเมิน ที่เริ่มจำกัดความเร็วเพื่อควบคุมระดับเสียงและลดมลภาวะ เอาโทบานในสมัยนาซีเยอรมนี ค.ศ. 1939 ทางหลวงในลักษณะเดียวกับเอาโทบานนี้ เริ่มสร้างขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: แผนสี่ปีและเอาโทบาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แผนการสี่ปี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »