โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แผนลับ 20 กรกฎาคม

ดัชนี แผนลับ 20 กรกฎาคม

แผนลับ 20 กรกฎาคม (20 July plot) เป็นความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฟือเรอร์แห่งไรช์ที่สาม ภายในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

87 ความสัมพันธ์: ชุทซ์ชทัฟเฟิลฟรีดริช ฟรอมม์ฟรีดริช ออลบริชท์ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ฟือเรอร์ฟือเรอร์บุงเคอร์พ.ศ. 2494พ.ศ. 2498พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2531พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมันพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนีพรรคนาซีพลเอกพันเอกกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมันกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองมักซ์ พลังค์ยุทธการที่ฝรั่งเศสยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กรังหมาป่าลุดวิจ เบควัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์วิลเฮล์ม คานาริสวิลเฮล์ม ไคเทิลศาลทหาร (ประเทศไทย)ศาลประชาชน (เยอรมนี)ศาลเถื่อนสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียออสโวบอจเดนีออทโท สกอร์เซนีออทโท แอนสท์ เรเมอร์อับราฮัมอับเวร์อัลแบร์ท ชเปียร์อัลเฟรด โยเดิลอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฮันส์ โอสเตอร์จอมพล...จังหวัดวาร์เมีย-มาซูรือทอม ครูซคอนชตันทิน ฟอน นอยรัทคาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์คาร์ล โบเดนชัทซ์คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิลซาลซ์บูร์กปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศโปแลนด์ปรากนายกรัฐมนตรีเยอรมนีนาซีเยอรมนีนีโอนาซีแบร์ชเทิสกาเดินแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทินแอริช ฟอน มันชไตน์แอร์วิน ฟอน วิทซ์เลเบินแอร์วิน รอมเมิลแอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์แฮร์มันน์ เกอริงแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)โยเซฟ เกิบเบลส์โรลันด์ ไฟรซเลอร์ไลพ์ซิชไฮนซ์ บรันดท์ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เบอร์ลินเฟดอร์ ฟอน บอคเกสตาโพเกาไลแตร์เวร์มัคท์เวียนนาเอริช เฟ็ลล์กีเบิลเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์เครื่องหมายบาดเจ็บเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก ขยายดัชนี (37 มากกว่า) »

ชุทซ์ชทัฟเฟิล

ทซ์ชทัฟเฟิล (Schutzstaffel "ᛋᛋ" ที่เป็นอักษรรูน) หรือ เอ็สเอ็ส (SS) เป็นองค์กรกำลังกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เดิมมีชื่อองค์กรว่า ซาล-ซุทซ์ (Saal-Schutz) ซึ่งมีสมาชิกเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีเพื่อคุ้มกันและดูแลความปลอดภัยในการประชุมพรรคที่เมืองมิวนิก เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เข้าร่วมองค์กรในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและชุทซ์ชทัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช ฟรอมม์

ฟรีดริช ฟรอมม์ (Friedrich Fromm; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1888 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดที่กรุงเบอร์ลิน เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยศร้อยโท ต่อมาเมื่อพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ ฟรอมม์ได้รับตำแหน่งผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง (Replacement Army) ในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ฟรอมม์ซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง ก็เป็นหนึ่งในผู้ที่มีอำนาจสูงสุดในกองทัพ เขามีส่วนรู้เห็นถึงแผนลับ 20 กรกฎาคมและปฏิบัติการวาลคิรี แต่เมื่อแผนการล้มเหลว ฟรอมม์ได้สั่งประหารชีวิตผู้สมคบคิดหลายคนเพื่อปิดปากไม่ให้พาดพิงมาถึงตน แต่กระนั้น วันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฟรีดริช ฟรอมม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช ออลบริชท์

ฟรีดริช ออลบริชท์ (Friedrich Olbricht) เป็นนายพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและเป็นหนึ่งในผู้ร่วมสมคิดในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคมในความพยายามจะลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฟรีดริช ออลบริชท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์(6 กันยายน ค.ศ. 1917 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2008) เป็นสมาชิกคนที่สองที่เหลือรอดชีวิตในแผนลับ 20 กรกฎาคม ผู้ส่วมรู้ร่วมคิดระหว่างเจ้าหน้าที่นายทหารแห่งกองทัพเวร์มัคท์ เพื่อลอบสังหารผู้นำเผด็จการเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์

ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฟือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์บุงเคอร์

ำลองแผนผังของบุงเคอร์ฟือเรอร์ใต้ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ ฟือเรอร์บุงเคอร์ (Führerbunker "บังเกอร์ท่านผู้นำ") เป็นที่หลบภัยการโจมตีทางอากาศ ตั้งอยู่ในสวนของทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี แบ่งการก่อสร้างออกเป็นสองเฟส คือในปี 1936 และ 1944 ฮิตเลอร์เข้าพำนักในฟือเรอร์บุงเคอร์เมื่อวันที่ 16 มกราคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฟือเรอร์บุงเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน

รรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน(DNVP)เป็นพรรคฝ่ายอนุรักษ์นิยมแห่งชาติในเยอรมนีในช่วงสาธารณรัฐไวมาร.ก่อนที่พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน(NSDAP)ยึดครองอำนาจ เป็นพรรคอนุรักษ์นิยมที่สำคัญและชาตินิยมในสาธารณรัฐไวมาร์แห่งเยอรมนี.เป็นการร่วมมือกันของฝ่ายชาตินิยม,ฟื้นฟูระบอบกษัตริย์, völkisch,และต่อต้านชาวยิวและสนับสนุนต่ออุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน(Pan-German League).

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี

รรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (Social Democratic Party of Germany, Sozialdemokratische Partei Deutschlands, SPD) เป็นพรรคการเมืองในประเทศเยอรมนี มีนาย Martin Schulz เป็นหัวหน้าพรร.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพรรคนาซี · ดูเพิ่มเติม »

พลเอก

ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพลเอก · ดูเพิ่มเติม »

พันเอก

ันเอก (Colonel อักษรย่อ:Col., Col หรือ COL) เป็นชั้นยศระหว่าง พันโท และ พลจัตวา โดยพันเอกใช้เป็นยศในกองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ และตำรวจ โดยในประเทศไอซ์แลนด์ และ นครรัฐวาติกัน ยศพันเอกถือเป็นยศทหารที่สูงที่สุด โดยในกองทัพเรือยศพันเอกได้ถูกเรียกว่านาวาเอก หรือ ship-of-the-line captain ส่วนในระบบการเทียบยศในกองทัพอากาศเครือจักรภพ ยศพันเอกได้ถูกเรียกว่านาวาอากาศเอก.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและพันเอก · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน

กองบัญชาการใหญ่กองทัพบก (Oberkommando des Heeres) ของประเทศเยอรมนีในสมัยนาซี กองบัญชาการนี้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ (Günther von Kluge) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คลูเกอได้ถือคำสั่งแนวรบตะวันตกและแนวรบตะวันออกและได้รับเหรียญอัศวินกางเขนเหล็กใบโอ๊กและดาบ แม้ว่าคลูเกอไม่ได้มีส่วนรู้ร่วมคิดในแผนลับ 20 กรกฎาคม เขาได้ฆ่าตัวตายด้วยการกินยาพิษไซยาไนด์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1944 หลังจากถูกเรียกให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินสำหรับการประชุมกับฮิตเลอร์ในผลพวงการรัฐประหารที่ล้มเหลว จอมพล วัลเทอร์ โมเดิล ได้ทำหน้าที่ต่อจาก.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและมักซ์ พลังค์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฝรั่งเศส

ทธการที่ฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการบุกครองฝรั่งเศสและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำของเยอรมนีที่สัมฤทธิ์ผล เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและยุทธการที่ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก

ทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก (Valkyrie) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี ค.ศ. 2008 นำแสดงโดย ทอม ครูซ, เคนเนธ บรานาห์, บิล ไนอี, เอ็ดดี อิซซาร์ด, เทเรนซ์ สแตมพ์, ทอม วิลคินสัน กำกับการแสดงโดย ไบรอัน ซิงเกอร.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รังหมาป่า

ซากของบังเกอร์ที่ใหญ่ที่สุด (ของฮิตเลอร์) ในรังหมาป่า รังหมาป่า (Wolfsschanze โวลฟส์ชันเซอ) เป็นกองบัญชาการใหญ่ทางทหารแห่งแรกในแนวรบด้านตะวันออก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเป็นหนึ่งในกองบัญชาการฟือเรอร์ทั่วทวีปยุโรป กองบัญชาการดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเตรียมการสำหรับปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งถูกพบในป่ามัสอูเริน (Masuren) ใกล้กับเมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก ซึ่งปัจจุบัน คือ เมือง Kętrzyn ในประเทศโปแลนด์ ฮิตเลอร์เดินทางมาถึงรังหมาป่าเป็นครั้งแรกในคืนวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและรังหมาป่า · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ เบค

ลุดวิจ ออกุส ธีโอดอร์ เบค(Ludwig August Theodor Beck; 4 มิถุนาย ค.ศ. 1880 – 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1944)เป็นนายพลชาวเยอรมันและเป็นเสนาธิการเยอรมันในช่วงปีแรกของระบอบนาซีในเยอรมนีก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ลุดวิจ เบคไม่เคยเป็นสมาชิกพรรคนาซี อย่างไรก็ตามในช่วงแรกของปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและลุดวิจ เบค · ดูเพิ่มเติม »

วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์

วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์ (Walther von Brauchitsch) เป็นจอมพลเยอรมันและเป็นผู้บัญชาการกองทัพบกเยอรมันในช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเกิดในครอบครัวทหารและเริ่มเข้ารับราชการทหารในปี 1901 เขามีส่วนร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยประจำแนวรบด้านตะวันตก หลังพรรคนาซีได้ครองอำนาจใน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและวัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม คานาริส

วิลเฮลม์ ฟรานซ์ คานาริส(Wilhelm Franz Canaris; 1 มกราคม ค.ศ. 1887 – 9 เมษายน ค.ศ. 1945)เป็นพลเรือเอกเยอรมันและเป็นหัวหน้าแห่งแอปเวร์ สำนักงานหน่วยข่าวกรองเยอรมัน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและวิลเฮล์ม คานาริส · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ไคเทิล

วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตำแหน่งของเขาเทียบได้กับรัฐมนตรีกลาโหม หลังสิ้นสุดสงคราม เขาถูกนำตัวเข้ารับการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เขาถือเป็นหนึ่งในสามผู้บัญชาการทหารระดับสูงสุดของเยอรมันที่ถูกนำตัวขึ้นพิจารณาคดี.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและวิลเฮล์ม ไคเทิล · ดูเพิ่มเติม »

ศาลทหาร (ประเทศไทย)

ลทหาร ได้มีขึ้นเป็นของคู่กันมาตั้งแต่มีการทหารไว้ป้องกันประเทศ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ระบบศาลทหารไทยปรากฏตามกฎหมายลักษณะขบฎศึก จุลศักราช 796 ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 มีศาลกลาโหม ชำระความที่เกี่ยวกับทหารและยังชำระความพลเรือนด้วย ทั้งนี้ เนื่องจากสมุหพระกลาโหมนั้นมิได้มีเพียงอำนาจหน้าที่เฉพาะการบังคับบัญชาทหารบก ทหารเรือ เท่านั้น แต่ยังมีหน้าที่จัดการปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ด้วย ศาลที่ขึ้นอยู่ในกระทรวงกลาโหมมีทั้งศาลที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพ และศาลในหัวเมืองฝ่ายใต้ด้วย ศาลกลาโหมจึงมีลักษณะเป็นทั้งศาลทหารและศาลพลเรือน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและศาลทหาร (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลประชาชน (เยอรมนี)

250px ศาลประชาชนหรือโฟล์คซดกริชท์ชอฟ (Volksgerichtshof,People's Court) เป็นศาลพิเศษ (Sondergericht) แห่งนาซีเยอรมนี,จัดตั้งขึ้นปฏิบัติการด้านนอกของกรอบรัฐธรรมนูญของกฎหม.สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เดิมในอดีตสภาขุนนางปรัสเซียนในกรุงเบอร์ลิน,ต่อมาย้ายไปที่อดีต Königliches Wilhelms-Gymnasium ที่ Bellevuestrasse 15 ในพอสดาเมอร์ พลาซ (Potsdamer Platz) ศาลได้ก่อตั้งขึ้นในปี 1934 ตามคำสั่งผู้นำนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในการตอบสนองต่อความไม่พอใจของเขาที่ผลการพิจารณาคดีเหตุเพลิงไหม้อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค,ซึ่งทั้งหมดแต่หนึ่งในจำเลยกลับพ้นผิด ศาลมีขอบเขตเหนืออำนาจตามลำดับที่ค่อนข้างกว้างของ"ความผิดทางการเมือง", ซึ่งรวมถึงการก่ออาชญากรรม เช่น กิจกรรมตลาดมืด,ทำงานล่าช้า,ความเชื่อว่าจะพ่ายแพ้สงคราม(Defeatism)และการก่อกบฏต่อจักรวรรดิไรซ์ที่สาม.อาชญากรรมเหล่านี้ถูกมองโดยศาลคือWehrkraftzersetzung ("การสลายตัวของความสามารถในการป้องกัน")และถูกลงโทษอย่างรุนแรง;โทษประหารชีวิตได้ถูกกระจายออกไปในหลายกรณี ศาลได้ลงมือจากจำนวนมากมายของโทษประหารชีวิตของประธานผู้พิพากษา โรลันด์ ไฟรซเลอร์,รวมทั้งที่ตามมาด้วยแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ในวันที่ 20 กรกฏาคม 1944.ผู้คนจำนวนมากที่พบว่ามีความผิดโดยศาลจะได้รับการดำเนินการในเรือนจำ Plötzensee ในกรุงเบอร์ลิน การดำเนินการของศาลมักจะถูกแม้จะน้อยกว่าการพิจารณาคดีแสดง(show trials)ในบางกรณี อย่างเช่น โซเฟีย โชลล์(Sophie Scholl)และพี่ชายของเธอ ฮันส์ โชลล์(Hans Scholl)และผู้สนับสนุนในกลุ่มนักเคลื่อนไหว กุหลาบสีขาว(die Weiße Rose) การพิจารณาคดีได้ข้อสรุปในเวลาที่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมงโดยไม่มีหลักฐานที่นำเสนอหรือมีข้อโต้แย้งที่ทำโดยทั้งสองฝ่าย ประธานศาลมักจะทำหน้าที่เป็นอัยการ,การประณามต่อจำเลย,แล้วออกเสียงคำตัดสินและประโยคของเขาโดยไม่ได้รับการคัดค้านจากทนายฝ่ายจำเลย,ที่มักจะยังคงเงียบตลอด ซึ่งมักจะเข้าข้างฝ่ายโจกท์,ไปยังจุดที่ถูกลากก่อนที่มันจะเป็นประหนึ่งการลงโทษประหารชีวิต ในขณะที่นาซีเยอรมนีไม่ได้เป็นกฏของกฏหมายรัฐ,ศาลประชาชนได้ชำระบ่อยด้วยแม้กฏหมายที่ได้ระบุและขั้นตอนของการพิจารณาคดีเยอรมันปกติและทำให้โดดเด่นได้อย่างง่ายดายด้วยการเป็น"ศาลเถื่อน"(kangaroo court).

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและศาลประชาชน (เยอรมนี) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเถื่อน

ลเถื่อน (kangaroo court หรือ kangaroo trial) หมายถึง ศาลที่ละเลยหรือบิดเบือนหลักการทางกฎหมายและความยุติธรรม ตุลาการของศาลเถื่อน เรียก "ตุลาการกำมะลอ" (mock justice) คำว่า "kangaroo court" นั้น เชื่อได้ว่าไม่ได้มีที่มาจากประเทศออสเตรเลียซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยหลักของจิงโจ้ (kangaroo) แต่มีการใช้ครั้งแรกสุดในการขุดทองที่แคลิฟอร์เนียเมื่อ พ.ศ. 2396 โดยครั้งนั้นเรียก "mustang court" หรือ "ศาลม้าเถื่อน" เพราะในเหตุการณ์ดังกล่าว ศาลได้ดำเนินกระบวนยุติธรรมไปอย่างรีบเร่งประดุจม้าเถื่อนกระโดด และต่อมาก็เปรียบกับการกระโดดของจิงโจ้ ตัวอย่างของศาลเถื่อนในประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียที่สุด ได้แก่ ศาลเถื่อนของ โจเซฟ สตาลิน ผู้นำทหารเผด็จการ ซึ่งโจเซฟตั้งขึ้นเพื่อใช้กำจัดศัตรูทางการเมืองของตนที่เรียกเองว่าเป็น "ศัตรูของประชาชน" เหตุการณ์นี้ได้ชื่อว่า "การกวาดล้างใหญ่" (Great Purge) และศาลประชาชนของโรลันด์ ไฟรซเลอร์ รัฐบาลนาซี ที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้กำจัดศัตรูของลัทธินาซี.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและศาลเถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12

มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 (Pius Papa XII) พระสันตะปาปาพระองค์ที่ 260 พระประมุขแห่งนครรัฐวาติกัน ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1939 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1958 มีพระนามเดิมว่า เอวเจนีโอ มาเรีย จูเซปเป โจวันนี ปาเชลลี ก่อนได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา พระองค์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการกรมการคริสตจักรวิสามัญ เอกอัครสมณทูตประจำประเทศเยอรมนี (ค.ศ. 1917 - 1929) และพระคาร์ดินัลเลขาธิการแห่งรัฐ ในช่วงนี้พระองค์ได้แสดงพระปรีชาสามารถในการทำสนธิสัญญากับชาติยุโรปและละตินอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำความตกลง ไรช์คอนคอร์ดัท กับรัฐบาลนาซีเยอรมนี เพื่อปกป้องคริสตจักรโรมันคาทอลิกในประเทศเยอรมนีเวลานั้น และการที่พระองค์ไม่เอ่ยถึงชะตากรรมของชาวยิวต่อสาธารณชน ก็ทำให้พระองค์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก แต่นอกจากนั้นเบื้องหลัง พระสันตปาปาได้มีส่วนรู้ร่วมเห็นกับการลอบสังหารฮิตเลอร์ของเหล่าผู้บัญชาการระดับสูงเยอรมันที่มีความเกลียดต่อฮิตเลอร์ทั้งในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พระองค์ได้ให้ความช่วยเหลือแก่พวกเขาว่าจะเป็นผู้ประสานงานกับอังกฤษให้ยอมรับรัฐบาลชุดใหม่หลังนาซีถูกโค่นล้ม เนื่องจากความหวังที่จะหยุดยั้งการฆ่าล้างเผ่าของนาซีในทวีปยุโรป การกระทำของพระองค์นั้นเกือบจะตกเป็นเป้าหมายของนาซี เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง พระองค์เน้นพระกรณียกิจด้านการส่งเสริมสันติภาพและการปรองดอง รวมทั้งใช้มาตรการที่อ่อนโยนต่อประเทศฝ่ายอักษะ ในสมณสมัยของพระองค์เป็นช่วงที่มีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกอย่างรุนแรงในประเทศค่ายตะวันออก ในด้านบทบาททางการเมืองในประเทศอิตาลี พระองค์มีส่วนสำคัญในการต่อต้านพรรคคอมมิวนิสต์แห่งอิตาลี และให้ตัดขาดผู้สนับสนุนพรรคนี้ออกจากศาสนจักร สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที 12 ยังใช้สิทธิ์การไม่ผิดพลั้งโดยอำนาจสูงสุดของพระสันตะปาปาเพื่อประกาศในสมณธรรมนูญ Munificentissimus Deus ปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ออสโวบอจเดนี

ออสโวบอจเดนี (Liberation, Освобождение, Befreiung, Wyzwolenie) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต กำกับโดยยูรี โอเซรอฟ ออสโวบอจเดนี เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต, เยอรมนีตะวันออก, โปแลนด์, อิตาลี และ ยูโกสวาเวีย โดยภาพยนตร์นี้จะเล่าเรืองเกียวกับสงครามโลกครั้งที่สอง โดยจะเล่าเรื่องราวเกียวกับยุทธการที่คูสค์, ปฏิบัติการบากราติออน, การรุกวิสตูลา-โอเดอร์ และ ยุทธการที่เบอร์ลิน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและออสโวบอจเดนี · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท สกอร์เซนี

ออทโท สกอร์เซนี(12 มิถุนายน 1908 - 5 กรกฎาคม 1975) เป็นทหารชาวออสเตรียในหน่วยเอสเอส ดำรงตำแหน่งยศเป็นโอแบร์สทุร์มบันน์ฟือแรร์ (พันโท)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.ในช่วงสงคราม,เขาได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ, รวมทั้งภารกิจช่วยเหลือในการปลดปล่อยผู้นำเผด็จการฟาสซิสต์อิตาลี เบนิโต มุสโสลินีออกจากการถูกคุมขัง.สกอร์เซนีได้นำการปฏิบัติการกรีฟ,ซึ่งทหารเยอรมันได้ทำการแทรกซึมเข้าไปในแนวข้าศึกโดยใช้ภาษาของฝ่ายข้าศึก, เครื่องแบบ, และศุลกากร.สำหรับเรื่องนี้ เขาได้ถูกตั้งข้อหากล่าวหาจากศาลทางทหารที่ดาเคาจากการละเมิดอนุสัญญานครเฮก ฉบับปี 1907(พ.ศ. 2450) แต่ได้รับการปล่อยตัว.ในช่วงท้ายสงคราม, เขาได้มีส่วนร่วมในขบวนทหารรบแบบกองโจรคือหน่วยมนุษย์หมาป่า(Werwolf).

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและออทโท สกอร์เซนี · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท แอนสท์ เรเมอร์

ออทโท แอนสท์ เรเมอร์(Otto Ernst Remer) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ ได้มีส่วนสำคัญในการหยุดยั้งแผนลับ 20 กรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและออทโท แอนสท์ เรเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม

ทูตสวรรค์ยับยั้งอับราฮัม ขณะกำลังจะถวายอิสอัคแด่พระยาห์เวห์ อับราฮัม(ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิบรอฮีม (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Abraham; אברהם; إبراهيم) เป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม เรื่องราวของท่านถูกบันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ถึง บทที่ 25 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ และคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามก็ถืออับราฮัมเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ด้วย อับราฮัม เดิมชื่อ "อับราม" เป็นบุตรของ เทราห์ สืบเชื้อสายมาจาก เชม บุตรของโนอาห.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและอับราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

อับเวร์

อับเวร์เป็นหน่วยข่าวกรองทางทหารเยอรมันได้ทำหน้าที่ในกองทัพไรชส์เวร์และกองทัพเวร์มัคท์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและอับเวร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลแบร์ท ชเปียร์

แบร์โทลด์ คอนราด แฮร์มันน์ อัลแบร์ท ชเปียร์ (Berthold Konrad Hermann Albert Speer;; 19 มีนาคม ค.ศ. 1905 – 1 กันยายน ค.ศ. 1981) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน เป็นหัวหน้าสถาปนิกของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก่อนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงสรรพาวุธของนาซีเยอรมนี ชเปียร์ยอมรับผิดในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ทำให้ได้รับฉายา "นาซีผู้กล่าวคำขอโทษ" (the Nazi who said sorry) อย่างไรก็ตาม ชเปียร์ปฏิเสธไม่รู้เห็นเกี่ยวกับฮอโลคอสต์ ชเปียร์เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและอัลแบร์ท ชเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด โยเดิล

อัลเฟรด โยเซฟ เฟอร์ดินานด์ โยเดิล (Alfred Josef Ferdinand Jodl; 10 พฤษภาคม 1890 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนายพลเยอรมันซึ่งทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการของกองบัญชาการสูงสุดแห่งเวร์มัคท์ และเป็นอาชญากรสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้เซ็นสัญญาการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อสัมพันธมิตรจากประธานาธิบดีคาร์ล เดอนิทซ์ ในปี 1945 หลังสงคราม โยเดิลมีความผิดในข้อหาสมรู้ร่วมคิดในการกระทำอาชญากรรมต่อสันติภาพ, การวางแผนการเริ่มต้นและขับเคี่ยวสงครามรุกราน, อาชญากรรมสงคราม และก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ในการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก คำสั่งหลักของเขาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับลายเซ็นของเขาที่มีต่อคำสั่งคอมมานโดและผู้บังคับการตำรวจ พบว่ามีความผิดจริง จึงถูกตัดสินโทษให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 1946 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2433 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2489 หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:อาชญากรสงครามชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ หมวดหมู่:บุคคลในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและอัลเฟรด โยเดิล · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ โอสเตอร์

ันส์ เพา โอสเตอร์ (Hans Paul Oster) เป็นพลตรีแห่งกองทัพบกเยอรมัน เขาเป็นหนึ่งในแกนนำของการต่อต้านนาซีในเยอรมนี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและฮันส์ โอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและจอมพล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดวาร์เมีย-มาซูรือ

วาร์เมีย-มาซูรือ (Warmia-Mazury) หรือ วาร์เมีย-มาซูเรีย (Warmia-Masuria) เป็นจังหวัดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโปแลนด์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 24,173 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรทั้งหมด 1,450,697 คน โดยมีเมืองหลักคือออลชติน จังหวัดวาร์เมีย-มาซูรือก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและจังหวัดวาร์เมีย-มาซูรือ · ดูเพิ่มเติม »

ทอม ครูซ

ทมัส ครูซ เมโพเธอร์ที่ 4 (Thomas Cruise Mapother IV) เกิดวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ที่เมืองซีราคิวส์ รัฐนิวยอร์ก ปัจจุบันอายุ ปี จบการศึกษามัธยมปลาย จากเกลน ไรดจ์ เคยแต่งงานกับดาราสาวมิมิ โรเจอร์ จากนั้นหย่ากัน ก่อนที่จะแต่งงานใหม่กับดาราสาวชาวออสเตรเลีย นิโคล คิดแมน ในปี 1990 และเลิกรากันในปี 2001 ต่อมาได้แต่งงานและมีบุตรสาวกับ เคที โฮล์มส ชื่อซูรี เกิดเมื่อ 18 เมษายน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและทอม ครูซ · ดูเพิ่มเติม »

คอนชตันทิน ฟอน นอยรัท

อนชตันทิน เฮอร์มันน์ คาร์ล ไฟร์แฮร์ ฟอน นอยรัท (Konstantin Hermann Karl Freiherr von Neurath) เป็นนักการทูตชาวเยอรมันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งไรช์แห่งเยอรมนี ระหว่างปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและคอนชตันทิน ฟอน นอยรัท · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์

ร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์(31 กรกฎาคม ค.ศ. 1884 – 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันฝ่ายอนุรักษนิยมของระบอบราชาธิปไตย ผู้บริหาร นักเศรษฐศาสตร์ ข้าราชการพลเรือน และฝ่ายปรปักษ์กับระบอบนาซี เขาได้มีส่วนร่วมในแผนลับ 20 กรกฎาคมคือการลอบสังหารฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและคาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล โบเดนชัทซ์

คาร์ล ไฮน์ริช โบเดนชัทซ์ (Karl-Heinrich Bodenschatz; 10 ธันวาคม ค.ศ. 1890 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1979)เป็นนายพลเยอรมันที่ทำหน้าที่เป็นนายทหารคนสนิทของมันเฟรด ฟอน ริชโธเฟินในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้ประสานงานระหว่างแฮร์มันน์ เกอริงกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:ผู้บัญชาการทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหรัฐ.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและคาร์ล โบเดนชัทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล

ร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล (Carl-Heinrich von Stülpnagel; 2 มกราคม ค.ศ. 1886 – 30 สิงหาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายพลชาวเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเป็นผู้บัญชาการในกองทัพบก ในขณะที่ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารของเยอรมันในเขตการยึดครองฝรั่งเศสและเป็นผู้บัญชาการกองทัพที่สิบเจ็ดในสหภาพโซเวียตในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ชตึลพ์นาเกิลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการก่ออาชญากรรมสงคราม,รวมทั้งการได้ออกอนุมัติให้จัดการกับพลเรือนและให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยไอน์ซัทซกรุพเพนในการสังหารหมู่ชาวยิว เขาได้มีส่วนร่วมในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคมในการลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้รับผิดชอบของการกระทำของผู้สมรู้ร่วมคิดในฝรั่งเศส ภายหลังจากแผนการล้มเหลว เขาถูกเรียกตัวให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินและในระหว่างทาง เขาได้พยายามจะฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จ ต่อมาเขาได้ถูกขึ้นศาลในวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและคาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ซาลซ์บูร์ก

ซาลซ์บูร์ก (Salzburg) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดลำดับที่ 4 ในประเทศออสเตรีย และเป็นเมืองหลวงของรัฐซาลซ์บูร์ก เมืองเก่าของซาลซ์บูร์กและสถาปัตยกรรมบาโรกเป็นหนึ่งในใจกลางเมืองที่ถูกดูแลรักษาอย่างดีที่สุดในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาเยอรมันด้วยกัน และได้รับการยูเนสโกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก ในปี พ.ศ. 2540 ซาลซ์บูร์กเป็นที่จดจำกันในฐานะที่ตั้งอยู่บนเทือกเขาแอลป์ ซาลซ์บูร์กเป็นบ้านเกิดของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท และเป็นฉากของภาพยนตร์เพลง มนต์รักเพลงสวรรค์ (The Sound of Music) หมวดหมู่:เมืองในประเทศออสเตรีย หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศออสเตรีย หมวดหมู่:มรดกโลกทางวัฒนธรรม หมวดหมู่:ซาลซ์บูร์ก.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและซาลซ์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ. 1992 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ปรากเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและปราก · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีเยอรมนี

นายกรัฐมนตรี (Bundeskanzler; Chancellor) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารประเทศเยอรมนี เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัยบิสมาร์คในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและนายกรัฐมนตรีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

แบร์ชเทิสกาเดิน

แบร์ชเทิสกาเดิน (Berchtesgaden) เป็นเทศบาลในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เป็นเทศบาลซึ่งตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์ ใกล้กับชายแดนประเทศออสเตรีย อยู่ห่างจากเมืองซาลซ์บูร์กไปทางใต้ราว 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากนครมิวนิกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว 180 กิโลเมตร บริเวณทางใต้ของเมืองเป็นที่ตั้งของอุทยานแห่งชาติแบร์ชเทิสกาเดินและเวิ้งหุบเขาอีกสามแห่ง แบร์ชเทิสกาเดินเป็นที่ตั้งของภูเขาวัทซ์มันน์ (Watzmann) ซึ่งสูงเป็นอันดับ 3 ในเยอรมนีด้วยความสูง 2,713 เมตร ถือเป็นหนึ่งในสถานที่ปีนยอดนิยม นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของทะเลสาบเคอนิง ซึ่งเป็นทะเลสาบธารน้ำแข็งซึ่งมีความลึก แบร์ชเทิสกาเดินเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพงดงาม ผู้นำนาซีเยอรมนีอย่างอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มีบ้านพักตากอากาศที่ชื่อ แบร์กฮอฟ อยู่ในเมืองนี้และยังมี รังอินทรี อยู่บนยอดเขาเคลชไตน์ ส่วนผู้นำระดับสูงคนอื่นๆอย่าง แฮร์มันน์ เกอริง, โยเซฟ เกิบเบลส์ และอัลแบร์ท ชเปียร์ ก็มักเดินทางมาพักตากอากาศที่เมืองนี้อยู่บ่อยครั้ง.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแบร์ชเทิสกาเดิน · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

ร์ล รูดอล์ฟ แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ (Karl Rudolf Gerd von Rundstedt; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1875 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight).

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน

แวร์เนอร์ คาร์ล ฟอน แฮฟเทิน (Werner Karl von Haeften) เป็นร้อยโทในกองทัพบกเยอรมัน แฮฟเทินเป็นเป็นผู้ช่วยของเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก เสนาธิการกองกำลังสำรองประจำกรุงเบอร์ลิน เขาร่วมมือกับชเตาฟ์เฟนแบร์กในแผนลับ 20 กรกฎาคมเพื่อสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อแผนการล้มเหลว แฮฟเทินพร้อมผู้ก่อการฝ่ายทหารคนอื่นๆถูกนำตัวไปประหารชีวิตพร้อมๆกันที่ลานกว้างนอกกองบัญชาการสูงสุดกองทัพบกเยอรมัน เขาได้รับการรำลึกยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษของขบวนการชาวเยอรมันผู้ต่อต้านนาซี.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน · ดูเพิ่มเติม »

แอริช ฟอน มันชไตน์

ฟริทซ์ แอริช เกออร์ก แอดวร์ด ฟอน เลอวินสกี (Fritz Erich Georg Eduard von Lewinski) หรือเป็นที่รู้จักกันคือ แอริช ฟอน มันชไตน์ (Erich von Manstein) เป็นผู้บัญชาการในเวร์มัคท์ กองทัพของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ดำรงตำแหน่งยศจอมพล เขายังมีศักดิ์เป็นหลานอาของจอมพลเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมันคนที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2430 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2516 หมวดหมู่:จอมพลแห่งไรช์ที่สาม หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:บุคคลจากเบอร์ลิน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแอริช ฟอน มันชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน ฟอน วิทซ์เลเบิน

จอมพล แอร์วีน ฟอน วิทซ์เลเบิน โยบ วิลเฮล์ม เกออร์ก แอร์ดมันน์ แอร์วีน ฟอน วิทซ์เลเบิน (Job Wilhelm Georg Erdmann Erwin von Witzleben; 4 ธันาวคม ค.ศ. 1881 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน ครองยศจอมพลใน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแอร์วิน ฟอน วิทซ์เลเบิน · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน รอมเมิล

แอร์วิน โยฮันเนส ออยเกิน รอมเมิล (Erwin Johannes Eugen Rommel) สมญา จิ้งจอกทะเลทราย เป็นจอมพลที่โด่งดังที่สุดของกองทัพนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับความนับถือจากทั้งทหารฝ่ายเดียวกันและข้าศึก รอมเมิลเป็นนายทหารที่ได้รับการเชิดชูเกียรติขั้นสูงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับเหรียญกล้าหาญ ''ปัวร์เลอแมริท'' สำหรับการปฏิบัติหน้าที่อันกล้าหาญในแนวรบอิตาลี ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงโด่งดังจากการบังคับบัญชากองพลพันเซอร์ที่ 7 สมญากองพลผี ระหว่างการบุกครองฝรั่งเศสใน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแอร์วิน รอมเมิล · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์

แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์ (Ernst Kaltenbrunner) เป็นชาวเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสของนาซีเยอรมนีระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เกอริง

แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแฮร์มันน์ เกอริง · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ เกิบเบลส์

ล์ โยเซฟ เกิบเบลส์ (Paul Joseph Goebbels) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โยเซฟ เกิบเบลส์ นักจิตวิทยามวลชน และแกนนำคนสำคัญฝ่ายพลเรือนของพรรคนาซี ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิที่สามหลังจากที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย ได้ชื่อว่าเป็นเสมือนมือซ้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขณะที่มือขวาคือ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์).

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและโยเซฟ เกิบเบลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรลันด์ ไฟรซเลอร์

โรลันด์ ไฟรซเลอร์ โรลันด์ ไฟรซเลอร์ (Roland Freisler)(30 ตุลาคม 1893 – 3 กุมภาพันธ์ 1945) เป็นทนายความชั้นเลิศและเป็นผู้พิพากษานาซีของจักรวรรดิไรซ์ที่สาม เขาเป็นเลขานุการรัฐของกระทรวงยุติธรรมไรช์ และเป็นประธานของโฟล์คซดกริชท์ชอฟ ("ศาลประชาชน") และเป็นหนึ่งในผู้เข้าร่วมการประชุมที่วานเซในปี 1942 ซึ่งเป็นการประชุมเพื่อวางแผนการกำจัดชาวยิวในยุโรปของจักรวรรดิไรซ์ที่สาม โรลันด์ ไฟรซเลอร์นั้นเป็นที่รู้จักกันในฐานะผู้พิพากษาศาลเถื่อนของนาซีเยอรมันที่มีความดุดันแข็งกร้าวที่สุด มักพูดจาต่อว่าอย่างฉะฉานกับฝ่ายจำเลยที่เป็นนักโทษทางการเมืองและผู้ต่อต้านรัฐบาลนาซี เขาได้ตัดสินโทษประหารชีวิตนักโทษไปจำนวน 2,600 คน ในจำนวนนี้รวมถึงขบวนการกุหลาบสีขาว (กลุ่มนักศึกษาชาวเยอรมันที่ต่อต้านความเผด็จการของฮิตเลอร์และพรรคนาซี) และกลุ่มต่อต้านฝ่ายทหารและพลเรือนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแผนลับ 20 กรกฎาคม โรลันด์ ไฟรซเลอร์เสียชีวิตเนื่องจากกองทัพอากาศสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดในกรุงเบอร์ลิน เขาจึงถูกเศษซากอาคารถล่มทับในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 1945 หมวดหมู่:นักกฎหมายชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นาซี หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและโรลันด์ ไฟรซเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลพ์ซิช

ลพ์ซิช (Leipzig) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในรัฐซัคเซิน ในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,110 คน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครองในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ ชื่อ "ไลพ์ซิช" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิพสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง นอกจากนี้ ไลพ์ซิชยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐซัคเซิน โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลพ์ซิชเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลพ์ซิชซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ บรันดท์

นายพลตรี ไฮนซ์ บรันดท์ (Heinz Brandt (Offizier); 11 มีนาคม ค.ศ. 1907 – 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1944) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยนายพลอดอล์ฟ Heusinger,หัวหน้าของหน่วยปฏิบัติการของนายพล เขาอาจจะได้รับการกล่าวว่า เขาได้ช่วยชีวิตอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อย่างไม่ได้ตั้งใจ,โดยได้ใช้เท้าย้ายกระเป๋าที่ใส่ระเบิดที่ถูกวางเอาไว้โดยเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์กให้ไปอยู่หลังขาโต๊ะประชุมในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคม ทำให้ฮิตเลอร์นั้นรอดชีวิตจากระเบิด แต่ตัวเขากลับเสียชีวิตลงจากแรงระเบิดพร้อมกับเสียขาไป หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ผู้บัญชาการทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง‎.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและไฮนซ์ บรันดท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เฟดอร์ ฟอน บอค

ฟดอร์ ฟอน บอค (Fedor von Bock) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาบัญชาการกองทัพบกกลุ่มเหนือระหว่างการบุกครองโปแลนด์ในปี 1939 และบัญชาการกองทัพบกกลุ่มบีในยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี 1940 และต่อมาได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มกลางในการโจมตีสหภาพโซเวียตในปี 1941 และได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มใต้ในปี 1942 ซึ่งเป็นตำแหน่งบัญชาการครั้งสุดท้าย บอคเกิดในเมืองคืชตริง (ปัจจุบันอยู่ในโปแลนด์) ในครอบครัวทหารชาวปรัสเซีย บิดาเป็นผู้บัญชาการหน่วยทหารในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ส่วนมารดาเป็นน้องสาวของเอริช ฟอน ฟัลเคินไฮย์ (Erich von Falkenhayn) ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง บอคเข้าศึกษาที่วิทยาลัยการทหารในกรุงเบอร์ลิน และต่อมาได้เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ด้วยความที่เกิดในครอบครัวทหารทำให้เขามีค่านิยมทหารมากกว่าคนอื่น ในสงครามครั้งนั้นเขาได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นทหารที่องอาจถึงขนาดพร้อมตายเพื่อปิตุภูมิจนได้รับสมญาว่า พระเพลิงแห่งคืชตริง และได้รับเหรียญปัวร์เลอแมริทของจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1935 อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แต่งตั้งบอคให้เป็นแม่ทัพใหญ่กองทัพบกกลุ่มที่สาม และเป็นหนึ่งในนายพลที่ไม่ถูกโยกย้ายเมื่อครั้งฮิตเลอร์ปฏิรูปกองทัพครั้งใหญ่เพื่อสั่งสมแสนยานุภาพก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ บอคเป็นพวกนิยมระบอบกษัตริย์และมักจะไปเยี่ยมเยือนวังของอดีตไกเซอร์เสมอ บอคบัญชาการการบุกเวียนนาในปี 1938 และเมื่อเยอรมันผนวกออสเตรียแล้ว บอคก็บัญชาการการรุกรานเชโกสโลวาเกีย ฮิตเลอร์ไม่ค่อยชอบนิสัยการพูดจาตรงไปตรงมาขวานผ่าซากของบอค สิ่งที่ฮิตเลอร์ชอบในตัวบอคอย่างเดียวคือเขาเป็นผู้บัญชาการมือฉกาจที่ประสบความสำเร็จในการรบBattle of Russia, Battlefield: Battles that Won the Second World War—Series 2.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเฟดอร์ ฟอน บอค · ดูเพิ่มเติม »

เกสตาโพ

รื่องแบบเกสตาโพ เกสตาโพ (Gestapo) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ทบวงตำรวจลับของรัฐ (Geheime Staatspolizei) เป็นตำรวจลับอย่างเป็นทางการของนาซีเยอรมนี เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเกสตาโพ · ดูเพิ่มเติม »

เกาไลแตร์

ังหวัด ของ Halle-Merseburg. เกาไลแตร์ เป็นหัวหน้าพรรคสาขาภูมิภาคของพรรคนาซี (NSDAP) หรือหัวหน้าผู้นำของเกาหรือไรซ์เกา คำศัพท์นี้เป็นได้ทั้งเอกพจน์หรือพหูจน์ได้ขึ้นอยู่กับบริบท เกาไลแตร์เป็นอันดับสองของกองกำลังกึ่งทหารพรรคนาซีระดับสูง,ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของไรซ์ไลแตร์และตำแหน่งผู้นำฟือเรอร์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง, ตำแหน่งของเกาไลแตร์นั้นได้รับมาอย่างโดยตรงจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เท่านั้น.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเกาไลแตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวร์มัคท์

วร์มัคท์ (Wehrmacht ความหมาย:"กำลังป้องกัน") เป็นกองทัพของนาซีเยอรมนีระหว่าง..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเวร์มัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

เอริช เฟ็ลล์กีเบิล

ฟริทซ์ เอริช เฟ็ลล์กีเบิล (Fritz Erich Fellgiebel; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1886 – 4 กันยายน ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมัน เกิดที่เมืองโปโปวิตเซ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เมื่ออายุ 18 ปี เขาเข้าร่วมหน่วยทหารสื่อสารในกองทัพบกปรัสเซีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เฟ็ลล์กีเบิลอยู่สังกัดหน่วยเสนาธิการทหารบก หลังสงคราม เขาประจำอยู่ที่กรมเสนาธิการไรชส์เวร์ในเบอร์ลิน ในปี..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเอริช เฟ็ลล์กีเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

แฮร์มันน์ เฮนนิง คาร์ล โรแบร์ท ฟอน เทรสคอว์ (Hermann Henning Karl Robert von Tresckow) หรือ เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ (10 มกราคม ค.ศ. 1901 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดในครอบครัวทหารที่เมืองมักเดบูร์ก เขาเข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 9 พอทสดัม ขณะมีอายุเพียง 16 ปี และได้รับกางเขนเหล็กชั้นที่ 1 จากวีรกรรมในยุทธการที่แม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เทรสคอว์ลาออกจากกองทัพเพื่อไปเรียนต่อด้านกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ และแต่งงานกับบุตรสาวคนหนึ่งของครอบครัวทหาร เขากลับเข้ารับราชการทหารอีกครั้งด้วยการสนับสนุนจากเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก และเริ่มรับรู้ถึงแผนการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ที่ตั้งใจจะก่อสงครามโลกอีกครั้ง เทรสคอว์มีส่วนในการบุกครองโปแลนด์และยุทธการที่ฝรั่งเศส รวมถึงดูแลพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในช่วงแรก เทรสคอว์เป็นผู้สนับสนุนพรรคนาซี เพราะไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซาย แต่หลังจากเหตุการณ์ "คืนแห่งมีดยาว" (Night of the Long Knives) เขาก็เริ่มต่อต้านพรรคนาซีและมีส่วนในหลายแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ เช่น ปฏิบัติการสปาร์คและแผนลับ 20 กรกฎาคม ซึ่งหลังจากแผนลอบสังหารวันที่ 20 กรกฎาคม ล้มเหลว เทรสคอว์ก็ตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรมในวันต่อม.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายบาดเจ็บ

150px เครื่องหมายบาดเจ็บ (Verwundetenabzeichen) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทางทหารที่ถูกประกาศใช้เป็นครั้งแรกโดยจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 1918 ซึ่งเป็นการปูนบำเหน็จให้แก่ทหารที่ได้บาดเจ็บจากการรบหรือป่วยเป็นโรคหิมะกัด (frostbitten) ในกองทัพจักรวรรดิเยอรมันระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ในช่วงระหว่างสงครามโลก,มันเป็นรางวัลปูนบำเหน็จให้แก่สมาชิกของกองทัพเยอรมัน ผู้ที่เข้าร่วมรบกับฝ่ายชาตินิยมในสงครามกลางเมืองสเปนในปี 1938-39,และได้รับบาดเจ็บจากการสู้ร.นอกจากนั้นมันได้เป็นรางวัลปูนบำเหน็จให้แก่สมาชิกของไรชส์เวร์,เวร์มัคท์,เอสเอส และองค์กรการดูแลคอยสนับสนุนในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.หลังจากนั้นในเดือนมีนาคม ปี 1943 เนื่องจากการทิ้งระเบิดแบบปูพรมของเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรหลายต่อหลายครั้งก็ยังได้มอบให้แก่พลเมืองที่ได้รับบาดเจ็บจากการโจมตีทางอาก.นอกจากนั้นมันยังเป็นการปูนบำเหน็จให้แก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่ผลจากการถูกฝ่ายศัตรูโจมตี ยกเว้นแต่เป็นโรคหิมะกั.

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเครื่องหมายบาดเจ็บ · ดูเพิ่มเติม »

เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก

ันเอก เคลาส์ ฟีลิพพ์ มาเรีย เชงค์ กรัฟ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก (Claus Philipp Maria Schenk Graf von Stauffenberg) เป็นทหารบกและสมาชิกตระกูลขุนนางชาวเยอรมันซึ่งเป็นสมาชิกผู้นำคนหนึ่งของแผนลับ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แผนลับ 20 กรกฎาคมและเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »