โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

ดัชนี แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – 24 มกราคม พ.ศ. 2467) ทรงเป็นแกรนด์ดัสเชสลักเซมเบิร์กพระองค์แรกระหว่าง ครองราชย์ระหว่าง..

50 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2437พ.ศ. 2455พ.ศ. 2462พ.ศ. 2467พระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกสพระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกสกาชาดการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918การอภิปรายไม่ไว้วางใจการออกเสียงประชามติการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสรอยัลไฮเนสรัฐบาวาเรียรัฐร่วมประมุขราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์กรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสาธารณรัฐนิยมสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปสงครามโลกครั้งที่หนึ่งหัวหน้ารัฐบาลอำนาจอธิปไตยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรวรรดิเยอรมันทวีปยุโรปทายาทโดยสันนิษฐานคาทอลิกคณะคาร์เมไลท์ประเทศลักเซมเบิร์กประเทศอิตาลีประเทศเบลเยียมนักพรตหญิงนครลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กโรมโรซา ลุกเซิมบวร์คไรน์ลันท์ไข้หวัดใหญ่ไตรภาคี14 มกราคม14 มิถุนายน24 มกราคม25 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2437 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปน

ระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปน (Carlos IV de España) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 11 แห่งราชอาณาจักรสเปน ตั้งแต่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1788 จนถึงการสละราชสมบัติของพระองค์เมื่อ 19 มีนาคม ค.ศ. 1808Stanley G. Payne, History of Spain of Portugal, Vol 2,University of Wisconsin Press., 1973, ISBN 978-0299062842, page 415.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส

มเด็จพระเจ้ามิเกลที่ 1 แห่งโปรตุเกส (ภาษาอังกฤษ: Michael I; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2345 ในลิสบอน - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ในชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ, บาวาเรีย) ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้สมบูรณาญาสิทธิ์" (the Absolutist; ภาษาโปรตุเกส:o Absolutista) หรือ "ผู้อนุรักษนิยม" (the Traditionalist; ภาษาโปรตุเกส:o Tradicionalista) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกสระหว่างปี..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์

ระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์ (Willem III der Nederlanden, พระนามเต็ม วิลเลิม อาเลกซันเดอร์ เปาล์ เฟรเดอริก โลเดอไวก์ ฟัน โอรันเยอ-นัสเซา, ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2360, สวรรคต 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าวิลเลิมที่ 2 แห่งเนเธอร์แลนด์ และอันนา ปัฟลอฟนาแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส (Dom João VI de Portugal, ออกเสียง) มีพระนามเต็มว่า ฌูเอา มารีอา ฌูเซ ฟรังซิชกู ชาวีเอร์ ดึ เปาลา ลูอิช อังตอนีอู ดูมิงกุช ราฟาเอล ดึ บรากังซา (João Maria José Francisco Xavier de Paula Luís António Domingos Rafael de Bragança; 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2310 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2369) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส (ภาษาโปรตุเกส: Pedro Clemente Francisco José António de Bragança เปดรู คลีเมนที ฟรันซิสกู โจเซ อันโตเนียว ดือ บรากันซา, ประสูติ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2260 - สวรรคต 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2329) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและอัลเกรฟ ทรงเป็นผู้ปกครองร่วมโดยการครองราชย์ของ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 1 แห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระราชนัดดาซึ่งได้เป็นพระมเหสีของพระองค์ด้วย และทรงเป็นผู้ปกครองร่วมเรื่อยมาจนกระทั่งเสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและพระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

กาชาด

100px 100px 100px ขบวนกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือ กาชาด (International Red Cross and Red Crescent Movement หรือ Red Cross) เป็นคำที่ใช้เรียกหน่วยงานสากลที่ประกอบด้วยอาสาสมัครจากทั่วโลกราว 97 ล้านคน ที่มีจุดประสงค์ในพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การบรรเทาทุกข์และการรักษาพยาบาลโดยไม่เลือกชาติพันธุ์ เชื้อชาติ เพศ ความเชื่อทางศาสนา ระดับชั้นในสังคม หรือ ความคิดเห็นทางการเมือง ตราสัญลักษณ์ที่ใช้โดยหน่วยงานนี้มีด้วยกันสามตรา ซึ่งเป็นรูป “ตรากากบาทแดง” (Red Cross), “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” (Red Crescent) และ “ตราเพชรแดง” (Red Crystal) หน่วยงานในประเทศไทย เรียก สภากาชาดไทย และใช้ตรากากบาทแดง เป็นตราสัญลักษณ.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและกาชาด · ดูเพิ่มเติม »

การสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

ังกล่าวถ่ายขึ้นหลังจากบรรลุข้อตกลงในการสงบศึกซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในภาพ รถไฟโดยสารคันดังกล่าวเป็นของเฟอร์ดินานด์ ฟอค และตำแหน่งอยู่ในป่าคองเปียญ ฟอคเป็นชายคนที่สองนับจากขวามือ การสงบศึกระหว่างฝ่ายพันธมิตรกับเยอรมนีได้มีการลงนามในรถไฟโดยสารในป่ากงเปียญ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและการอภิปรายไม่ไว้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติ (referendum) คือ การนำร่างกฎหมาย ร่างรัฐธรรมนูญ และนโยบายที่สำคัญของประเทศ ไปผ่านการตัดสินเพื่อแสดงความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดยประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อแนวทางการปกครองประเทศ และถือเป็นประชาธิปไตยทางตรงแบบหนึ่งซึ่งประชาชนมีส่วนมีเสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและการออกเสียงประชามติ · ดูเพิ่มเติม »

การ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน (Doña Carlota Joaquina; 25 เมษายน พ.ศ. 2318 - 7 มกราคม พ.ศ. 2373) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งสเปนเมื่อครั้งประสูติและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เป็นพระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนกับเจ้าหญิงมาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา และพระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเก.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลไฮเนส

รอยัลไฮเนส (Royal Highness) หรือ รอยัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดีหรือสมเด็จพระราชินีนาถ ฐานันดรศักดิ์รอยัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" แต่สูงกว่า "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส", "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและรอยัลไฮเนส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาวาเรีย

ตการปกครองในรัฐบาวาเรีย บาวาเรีย (Bavaria) หรือ ไบเอิร์น (Bayern) เป็นรัฐที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากรประมาณ 12.5 ล้านคน มีพื้นที่ประมาณ 70,548 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือเมืองมิวนิก เชื้อสายประชากรเป็นชาวบาวาเรีย 6.4 ล้านคน, ฟรังโคเนีย 4.1 ล้านคน, และสวาเบีย 1.8 ล้านคน รัฐบาวาเรียเป็นหนึ่งในรัฐที่เก่าแก่ที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป ก่อตั้งขึ้นเป็นดัชชีในกลางคริสศตวรรษที่ 17 ดยุกแห่งบาวาเรียเป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิสรรเจ้า (Prince-elector) แต่งตั้งจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในช่วง ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 บาวาเรียมีสถานะเป็นราชอาณาจักรบาวาเรียต่อจากนั้นมากลายเป็นรัฐอิสระ (สาธารณรัฐ).

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและรัฐบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก

ตระกูลนัสเซา-ไวล์บวร์ก (House of Nassau-Weilburg) ก่อตั้งขึ้นโดยจอห์นที่ 1 เคานท์แห่งนัสเซา-ไวล์บวร์กในปี ค.ศ. 1344 ที่ปกครองนาซอที่ในปัจจุบันเป็นรัฐในเยอรมนี นาซอรุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1344 จนถึง ค.ศ. 1806 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส (17 ธันวาคม พ.ศ. 2277 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2359,พระนามเต็ม: มารีอา ฟรานซิสกา อิซาเบล โจเซฟา แอนโทเนีย เจอร์ทรูด ริตา ฮวนนา) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐนิยม

สาธารณรัฐนิยม (ภาษาอังกฤษ: Republicanism) เป็นคตินิยมของการเป็นพลเมืองในรัฐที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ ซึ่งอำนาจอธิปไตยถือว่า เป็นอำนาจอธิปไตยของปวงชน (popular sovereignty) ประเทศบางประเทศเป็นสาธารณรัฐในแง่ที่ว่า รัฐเหล่านั้นไม่ได้มีระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ แต่ว่าไม่ได้ยึดเอาอุดมคติของสาธารณรัฐนิยมเป็นฐาน คำว่า "สาธารณรัฐ" มีที่มาจากคำลาตินว่า res publica ซึ่งอ้างอิงถึงรูปแบบของการปกครองที่ถือกำเนิดขึ้นในราว ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตศักราช หลังจากการขับไล่กษัตริย์ของกรุงโรม โดย ลูเชียส จูนิอัส บรูตัส และ คอลลาตินัส รูปแบบการปกครองนี้ล่มสลายลงในช่วงท้ายของ ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตศักราช โดยเปลี่ยนเป็นการปกครองแบบมีกษัตริย์ในเชิงรูปแบบ การปกครองแบบสาธารณรัฐถูกฟื้นฟูกลับมาอีกครั้ง ในสมัยการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการฟลอเรนซ์ คตินิยมแบบสาธารณรัฐนิยมมีบทบาทอย่างมากในการปฏิวัติอเมริกา ส่วนในยุโรปแนวคิดนี้ได้เพิ่มอิทธิพลอย่างมากหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและสาธารณรัฐนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป

สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป (universal suffrage) ประกอบด้วยการขยายสิทธิเลือกตั้งแก่พลเมือง (หรือคนในบังคับ) ผู้ใหญ่ทุกคน แม้ยังอาจหมายถึงการขยายสิทธินั้นแก่ผู้เยาว์และผู้มิใช่พลเมืองด้วย แม้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งมีสององค์ประกอบจำเป็น คือ สิทธิออกเสียงเลือกตั้งและโอกาสออกเสียงเลือกตั้ง (opportunities to vote) แต่คำว่า สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปสัมพันธ์เฉพาะกับสิทธิออกเสียงเลือกตั้งและละเลยความถี่ที่รัฐบาลปัจจุบันปรึกษาบรรดาผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ที่ใดมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป สิทธิออกเสียงเลือกตั้งจะไม่ถูกจำกัดด้วยเชื้อชาติ เพศ ความเชื่อ ความมั่งคั่งหรือสถานภาพทางสังคม หมวดหมู่:สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง หมวดหมู่:สิทธิความเสมอภาค.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หัวหน้ารัฐบาล

หัวหน้ารัฐบาล (head of government) เป็นคำทั่วไป ใช้กับข้าราชการสูงสุดหรือสูงสุดอันดับสองในฝ่ายบริหารของรัฐเอกราช รัฐสหพันธ์ หรืออาณานิคมปกครองตนเองหนึ่ง ผู้ซึ่งมักเป็นประธานคณะรัฐมนตรี คำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" มักใช้แยกกับคำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" เช่น ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 และรายการพิธีสารสหประชาชาติ อำนาจของหัวหน้ารัฐบาล และความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งนั้นกับสถาบันอื่นของรัฐ (เช่น ประมุขแห่งรัฐและสภานิติบัญญัติ) แตกต่างกันได้มากตามแต่ละรัฐ ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับตัวแบบรัฐธรรมนูญเฉพาะที่เลือก.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและหัวหน้ารัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจอธิปไตย

อำนาจอธิปไตย (sovereignty) หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตย ย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง ตัวอย่างเช่น ในระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือ กษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นต้น อนึ่ง อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" ได้.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและอำนาจอธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทโดยสันนิษฐาน

้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทโดยสันนิษฐาน (Heir presumptive) คือทายาทผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลแต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์ (Order of succession) ที่กำหนดไว้.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและทายาทโดยสันนิษฐาน · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิก

ทอลิก (Catholic มาจากภาษากรีกคำว่า καθολικός) แปลว่า สากล ทั่วไป เป็นรูปแบบหนึ่งในศาสนาคริสต์ ที่มีแนวศรัทธา เทววิทยา หลักความเชื่อ พิธีกรรม จริยศาสตร์ จิตวิญญาณ พฤติกรรม เป็นลักษณะเฉพาะของตน ตลอดจนประชากรในนิกายนั้น คำว่าคาทอลิก มีความหมายโดยสรุปได้ 3 อย่าง คือ.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

คณะคาร์เมไลท์

ณะภราดาพระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์เมล (Ordo Fratrum Beatissimae Mariae Virginis de Monte Carmelo; Order of Brothers of The Blessed Virgin Mary of Mount Carmel) หรือที่มักรู้จักกันในนามคณะคาร์เมไลท์ (Carmelite Order) (บางแห่งเรียกว่า คณะคาร์แมล) เป็นคณะนักบวชภิกขาจารคณะหนึ่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ในยุคแรกนักบวชในคณะนี้เน้นวัตรปฏิบัติอย่างฤๅษี (hermit) คือเก็บตัวภาวนา เพ่งฌาน เกือบตัดขาดจากโลกภายนอก.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและคณะคาร์เมไลท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและประเทศลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

นักพรตหญิง

นจักรออร์โธดอกซ์ นักพรตหญิง (nun) คือสตรีที่ปฏิญาณอุทิศตนใช้ชีวิตเพื่อศาสนา อาจจะถือวัตรคล้ายนักพรตที่เลือกสละทางโลกแล้วหันไปใช้ชีวิตกับการอธิษฐานและการเพ่งพินิจ อาศัยในอารามหรือคอนแวนต์ "นักพรตหญิง" พบได้ทั้งในศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ (ทั้งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน) ศาสนาเชน และศาสนาเต๋า ในศาสนาคริสต์คำว่า "นักพรตหญิง" และ "ภคินี" ใช้แทนหรือสลับกันได้เพราะถือว่ามีความหมายเดียวกัน แต่ในบางกรณีก็ถูกจำแนกให้ต่างกันว่านักพรตหญิงคือนักบวชหญิงที่ใช้ชีวิตเป็นนักพรต อยู่แต่ภายในเขตพรต เน้นการเพ่งพินิจ การอธิษฐาน และการรำพึงธรรม ขณะที่ภคินีเป็นนักบวชหญิงที่เน้นนการอธิษฐาน การบริการผู้ยากไร้ เจ็บป่วย ยากจน และขาดการศึกษ.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและนักพรตหญิง · ดูเพิ่มเติม »

นครลักเซมเบิร์ก

ทัศนียภาพกรุงลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) เป็นเมืองหลวงของราชรัฐลักเซมเบิร์ก ในเมืองยังมีสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์อย่าง ปราสาทลักเซมเบิร์ก ที่สร้างโดยชนแฟรงค์ในช่วงยุคกลางตอนต้นในบริเวณที่เริ่มก่อตั้งเมือง เมืองลักเซมเบิร์กตั้งอยู่ใจกลางของยุโรปตะวันตกตั้งอยู่ห่างจากกรุงบรัสเซลส์ 188 กม., ห่างจากกรุงปารีส 289 กม., ตั้งอยู่ห่างจากโคโลญ 190 กม.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและนครลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก (22 เมษายน พ.ศ. 2395 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455) ทรงดำรงเป็นแกรนด์ดยุคผู้ปกครองแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์กตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดยุกวิลเลมที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์ก (Adolphe, Grand Duke of Luxembourg) (24 กรกฎาคม 1817 - 17 พฤศจิกายน 1905) เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์กพระองค์แรกจากราชวงศ์นัสเซา-ไวล์บวร์ก.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดยุกอดอล์ฟแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก (Charlotte, Grand Duchess of Luxembourg, พระนามเต็ม ชาร์ล็อต อเดลก็อนเด เอลิซ มารี วิลเฮลมีน; 23 มกราคม พ.ศ. 2439 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระธิดาพระองค์ที่สองในแกรนด์ดยุกวิลเล็มที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก และ เจ้าหญิงมารี แอนน์แห่งโปรตุเกส โดยเป็นพระราชนัดดาในพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส และ เจ้าหญิงอเดลไฮด์แห่งเลอเว็นชไตน์-เวอร์ไธม์-โรเซ็นบอร์ก หากทรงครองราชสมบัติจนถึงวันสิ้นพระชนม์ พระองค์จะทรงราชย์เป็นเวลาทั้งสิ้น 66 ปี ซึ่งยาวนานกว่าผู้ปกครองลักเซมเบิร์กเท่าที่เคยมีมาทุกพระอง.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรซา ลุกเซิมบวร์ค

รซา ลุกเซิมบวร์ค (Rosa Luxemburg; Róża Luksemburg) (5 มีนาคม ค.ศ. 1871 - 15 มกราคม ค.ศ. 1919) เป็นนักทฤษฎีมาร์กซิสม์ นักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ และนักกิจกรรมชาวยิวเชื้อสายโปแลนด์ ซึ่งต่อมาได้เป็นพลเมืองเยอรมัน เธอเคยเป็นสมาชิกของพรรคสังคมประชาธิปไตยโปแลนด์และลิทัวเนีย พรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี (SPD) พรรคสังคมประชาธิปไตยอิสระเยอรมนี และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและโรซา ลุกเซิมบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ไรน์ลันท์

รน์ลันท์ (Rheinland) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกดินแดนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไรน์ ในเยอรมนีตะวันตก หลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิฝรั่งเศสในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ไรน์ลันท์เป็นแคว้นที่มีประชากรพูดภาษาเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนล่างของแม่น้ำไรน์ ซึ่งเคยถึงผนวกเข้ากับอาณาจักรปรัสเซีย กษัตริย์แห่งปรัสเซียได้เปลี่ยนชื่อแคว้นใหม่ว่า มณฑลไรน์ (หรือ Rhenish Prussia) หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภาคตะวันตกของไรน์ลันท์ถูกยึดครองโดยกองทัพฝ่ายไตรภาคี ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซาย เยอรมนีได้รับไรน์ลันท์คืนเมื่อปี 1936.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและไรน์ลันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไข้หวัดใหญ่

้หวัดใหญ่ (influenza หรือ flu) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ อาจมีอาการเล็กน้อยไปถึงรุนแรง อาการที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ ไข้สูง คัดจมูก เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ ไอและรู้สึกเหนื่อย อาการเหล่านี้จะออกอาการหลังได้รับไวรัสสองวันและส่วนมากอาการอยู่นานไม่เกินสัปดาห์ ทว่า อาการไออาจกินเวลานานกว่าสองสัปดาห์ได้ ในเด็ก อาจมีคลื่นไส้อาเจียน แต่ไม่ใช่อาการปกติในผู้ใหญ่ อาการคลื่นไส้อาเจียนเกินบ่อยกว่าในกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบซึ่งเป็นโรคติดเชื้ออีกโรคหนึ่ง ที่บ้างเรียกผิด ๆ ว่าเป็น "ไข้หวัดลงกระเพาะ" (stomach flu) หรือ "ไข้หวัด 24 ชั่วโมง" (24-hour flu) อาการแทรกซ้อนของไข้หวัดใหญ่อาจมีปอดบวมจากไวรัส ปอดบวมจากแบคทีเรียตาม โพรงอากาศ (sinus) ติดเชื้อ และปัญหาสุขภาพที่มีอยู่เดิมแย่ลง เช่น โรคหอบหืดหรือภาวะหัวใจล้มเหลว โดยทั่วไป ไข้หวัดใหญ่ติดต่อผ่านอากาศโดยการไอหรือจาม ซึ่งปลดปล่อยละอองลอยที่มีไวรัส ไข้หวัดใหญ่ยังสามารถส่งผ่านโดยการสัมผัสโดยตรงกับมูลหรือสารคัดหลั่งจากจมูกของนก หรือผ่านการสัมผัสกับพื้นผิวที่ปนเปื้อน คาดกันว่าละอองลอยที่มาทางอากาศก่อให้เกิดการติดเชื้อมากที่สุด แต่ยังไม่ทราบช่องทางการส่งผ่านที่สำคัญที่สุด ไวรัสไข้หวัดใหญ่สามารถลดฤทธิ์ด้วยแสงแดด สารฆ่าเชื้อและสารชะล้างได้ การล้างมือบ่อย ๆ ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ เพราะสบู่สามารถลดฤทธิ์ไวรั.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและไข้หวัดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไตรภาคี

ันธมิตรทางทหารในยุโรป ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไตรภาคี (Triple entente; มาจากภาษาฝรั่งเศส entente หมายถึง "ข้อตกลง") คือ ชื่อเรียกของพันธมิตรระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อยับยั้งฝ่ายมหาอำนาจกลาง และยังเป็นแผนการของฝรั่งเศสซึ่งต้องการโอบล้อมจักรวรรดิเยอรมัน พันธมิตรของอำนาจทั้งสามมีเพิ่มมากขึ้นจากการทำข้อตกลงหลายฉบับกับโปรตุเกส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสเปน ทำให้เกิดเป็นอำนาจที่แข็งแกร่งเพื่อถ่วงดุล ไตรพันธมิตร อันประกอบด้วยเยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและไตรภาคี · ดูเพิ่มเติม »

14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและ14 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและ24 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กและ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แกรนด์ดัชเชสมารี อเดเลดแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดัชเชสมารี-อเดเลดแห่งลักเซมเบิร์ก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »