โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บุคลากรฮอกวอตส์

ดัชนี บุคลากรฮอกวอตส์

ตัวละครสมมติด้านล่างเป็นคณะเจ้าหน้าที่และผู้อาศัยในฮอกวอตส์ในหนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่เขียนโดย เจ. เค. โรว์ลิง.

31 ความสัมพันธ์: บุคลากรฮอกวอตส์พ็อลเทอร์ไกสท์กระทรวงเวทมนตร์กองทัพดัมเบิลดอร์ภาคีนกฟีนิกซ์มิเนอร์วารอน วีสลีย์รูเบอัส แฮกริดลอร์ดโวลเดอมอร์วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์อัลบัส ดัมเบิลดอร์ฮอกวอตส์คริสต์ศตวรรษที่ 19ควิดดิชประเทศสกอตแลนด์แมวแมนเดรกแฮร์รี่ พอตเตอร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนีแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบันแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสมแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตโรมันโดโลเรส อัมบริดจ์เวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์เจ. เค. โรว์ลิงเซเวอร์รัส สเนป

บุคลากรฮอกวอตส์

ตัวละครสมมติด้านล่างเป็นคณะเจ้าหน้าที่และผู้อาศัยในฮอกวอตส์ในหนังสือแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่เขียนโดย เจ. เค. โรว์ลิง.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และบุคลากรฮอกวอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ็อลเทอร์ไกสท์

หน้าปกนิตยสาร ''La Vie Mysterieuse'' ของ ฝรั่งเศสฉบับเดือนเมษายน ค.ศ. 1911 หน้าปกเป็นรูปปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์ พ็อลเทอร์ไกสท์ (Poltergeist) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ชนิดหนึ่ง ที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน คำว่า "พ็อลเทอร์ไกสท์" มาจากภาษาเยอรมันคำว่า "Poltern" หมายถึง "ก่อความรำคาญหรือเอะอะมะเทิ่ง" และคำว่า "Geist" หมายถึง "ผี" เมื่อรวมความแล้ว คำว่า "พ็อลเทอร์ไกสท์" พอจะแปลความหมายได้ว่า "ผีที่น่ารำคาญหรือส่งเสียงดัง" ปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์จะแสดงออกด้วยการเคลื่อนข้าวของภายในบ้าน โดยที่ไม่มีใครไปเคลื่อนย้าย ซึ่งปรากฏการณ์เช่นนี้จะปรากฏในบ้านของโลกตะวันตก จึงมีความเชื่อกันว่าเป็นการกระทำของผี ซึ่งจะไม่ถึงขั้นหลอกหลอนมนุษย์จนขวัญผวา เพียงแค่ทำให้ตกใจเล่นเท่านั้น แต่ในบางกรณีก็อาจรุนแรงถึงขั้นทำให้ข้าวของเสียหายหรือเกิดเป็นรอยข่วน รอยกัดตามร่างกายมนุษย์ก็มี บางครั้งปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์อาจเกิดติดต่อกันเป็นวัน ๆ แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า พ็อลเทอร์ไกสท์ เป็นการกระทำที่เกิดจากมนุษย์เอง โดยเกิดจากความกดดัน โดยเฉพาะในวัยรุ่น เชื่อว่าเป็นลักษณะของการใช้พลังจิตแบบที่เคลื่อนย้ายสิ่งของ ที่เรียกว่าไซโคคิเนซิส (Psychokinesis) นั่นเอง โดยที่เจ้าตัวไม่รู้ตัว ขณะที่นักวิชาการชาวญี่ปุ่น โอทสึ โยะชิฮิโกะ แห่งมหาวิทยาลัยวะเซะดะ ที่ศึกษาเรื่องเหนือธรรมชาติต่าง ๆ เห็นว่า พ็อลเทอร์ไกสท์เป็นปรากฏการณ์ของพลาสมา คือ ไฟฟ้าสถิตที่ไหลวนอยู่ในอากาศ ซึ่งปรากฏการณ์แบบนี้เป็นปรากฏการณ์เดียวกับการเกิด "ลูกไฟวิญญาณ" หรือ "ฮิโตะดะมะ" (ญี่ปุ่น: 人魂) ตามความเชื่อของชาวจีนและชาวญี่ปุ่นนั่นเอง พ็อลเทอร์ไกสท์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีการเขียนเป็นนวนิยายในชื่อเดียวกันนี้ (ฉบับแปลเป็นภาษาไทยใช้ชื่อว่า "โพลเทอร์ไกสท์ผีเกเร") โดย เจมส์ คาห์น นักเขียนชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ. 1982 ซึ่งต่อมาทางฮอลลีวูดก็ได้สร้างภาพยนตร์จากนวนิยายเรื่องนี้ด้วยในชื่อเดียวกัน อำนวยการแสดงโดยสตีเวน สปีลเบิร์ก ในปีเดียวกัน ซึ่งภาพยนตร์ประสบความสำเร็จอย่างมาก จนต้องมีการสร้างต่อมาอีก 3 ภาค และสร้างเป็นซีรีส์ (ในชื่อภาษาไทยใช้ชื่อว่า "ผีหลอกวิญญาณหลอน") ซึ่งทำให้ทั้งโลกได้รู้จักกับปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์มากขึ้น.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และพ็อลเทอร์ไกสท์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเวทมนตร์

กระทรวงเวทมนตร์ (Ministry of Magic) เป็นคณะผู้บริหารประชาคมเวทมนตร์แห่งบริเตนใน โลกเวทมนตร์ของเจ. เค. โรว์ลิง คณะผู้บริหารโลกเวทมนตร์ได้รับการเอ่ยถึงครั้งแรกใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ แต่ปรากฏโฉมเต็มรูปแบบครั้งแรกใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ หนังสือพรรณนาว่า กระทรวงเต็มไปด้วยการฉ้อราษฎร์บังหลวงและความด้อยศักยภาพ ข้าราชการผู้ใหญ่ไม่ใส่ใจต่อเหตุบ้านการณ์เมือง การทุจริตในกระทรวงนั้นมาถึงจุดสูงสุดอยู่แล้วก่อนที่ลอร์ดโวลเดอมอร์จะเข้ายึดอำนาจ นวนิยายเล่มสุดท้ายระบุไว้ในตอนท้ายสุดว่า เมื่อโวลเดอมอร์สิ้นชีพแล้ว คิงส์ลีย์ แช็กเคิลโบลต์ (Kingsley Shacklebolt) เข้าบริหารกระทรวงและปฏิรูปให้ดีขึ้น ต่อมาในสมัยของ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเด็กต้องคำสาป เฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเวทมนตร.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และกระทรวงเวทมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพดัมเบิลดอร์

กองทัพดัมเบิลดอร์ (Dumbledore's Army - D.A.) ก่อตั้งขึ้นโดยแนวคิดของ เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ ว่าอยากให้ แฮร์รี่ พอตเตอร์ เพื่อนซี้ของเธอเป็นครูสอนวิชา ป้องกันตัวจากศาสตร์มืด ภาคปฏิบัติ โดยโครงการนี้ก่อตั้งขึ้นในภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ เพื่อให้สมาชิกที่เรียกตนเองว่า ก. ร่วมกันเรียนรู้เกี่ยวกับวิชา ป้องกันตัวจากศาสตร์มืด ที่ไม่เคยได้เรียนอย่างเป็นชิ้นเป็นอันเท่าไหร่นัก.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และกองทัพดัมเบิลดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคีนกฟีนิกซ์

มาชิกภาคีบางส่วน ภาคีนกฟีนิกซ์ (Order of the Phoenix) เป็นองค์การลับในชุดหนังสือบันเทิงคดีแฮร์รี่ พอตเตอร์ เขียนโดย เจ. เค. โรว์ลิง อัลบัส ดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้ง เพื่อต่อสู้กับลอร์ดโวลเดอมอร์และสมุนผู้เสพความตาย ภาคีฯ เป็นชื่อของหนังสือเล่มที่ห้าในชุด ชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และภาคีนกฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มิเนอร์วา

มิเนอร์วา (Minerva) เป็นเทพีโรมันแห่งปัญญา และผู้สนับสนุนศิลปะ การค้าและยุทธศาสตร์ พระองค์กำเนิดจากพระเจ้าของจูปิเตอร์พร้อมด้วยศาสตราวุธ หลังศตวรรษที่ 2 ก่อน..

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และมิเนอร์วา · ดูเพิ่มเติม »

รอน วีสลีย์

รนัลด์ "รอน" บิลิอัส วีสลีย์ (Ronald Bilius "Ron" Weasley) เป็นตัวละครสมมุติในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือเล่มแรก แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ เป็นเพื่อนรักของแฮร์รี่ พอตเตอร์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ เขาเป็นสมาชิกครอบครัววีสลีย์ ครอบครัวอาศัยอยู่ใน "บ้านโพรงกระต่าย" นอก Ottery St.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และรอน วีสลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รูเบอัส แฮกริด

รูเบอัส แฮกริด ผู้รักษากุญแจและประตูฮอกวอตส์ เป็นครึ่งยัก มีแม่เป็นยักษ์ สูงกว่าผู้ชายธรรมดา2เท่า เคยเรียนที่ฮอกวอตส์ สมัยเดียวกับทอมริดเดิ้ลถูกไล่ออกตอนปี3โดยเนื้อเรื่องอยู่ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับเป็นคนนำแฮรรี่ออกจากบ้านที่ ก๊อดดริก ฮอลโล่ หลังจากวอลเดอมอร์ สูญเสียพลัง และเป็นคนพาแฮร์รี่ ไปฮอกวอตส์ และพูดถึงประวัติของแฮร์รี่บางส่วนรูเบอัส แฮกริด ศาสตราจารย์สอนวิชาดูแลสัตวิเศษ หลัง ซิลวาล์นัส เค็ตเทิลเบลิน.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และรูเบอัส แฮกริด · ดูเพิ่มเติม »

ลอร์ดโวลเดอมอร์

ลอร์ดโวลเดอมอร์ (Lord Voldemort) เป็นตัวละครร้ายในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ปรากฏตัวครั้งแรกในตอนแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ มีชื่อเดิมว่า ทอม มาโวโล่ ริดเดิ้ล และเป็นผู้สืบสกุลของซัลลาซาร์ สลิธีริน คนสุดท้าย โวลเดอมอร์เป็นตัวละครที่ได้รับการโหวตให้เป็นตัวละครร้ายอันดับหนึ่งทั้งในวรรณกรรมและในภาพยนตร์ โวลเดอมอร์เป็นบุคคลที่ผู้คนจำนวนมากในโลกเวทมนตร์หวาดกลัว ถึงขนาดที่ว่าคนจำนวนมากไม่กล้าที่จะเอ่ยชื่อของเขาโดยตรง แต่เลี่ยงไปใช้คำเรียกว่า "คนที่คุณก็รู้ว่าใคร" หรือ "คนที่ไม่ควรเอ่ยนาม" แทน บุคคลที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่าไม่หวาดกลัวในการที่จะเอ่ยชื่อโวลเดอมอร์ได้แก่ อัลบัส ดัมเบิลดอร์, รีมัส ลูปิน,ซิเรียส แบล็ก,แฮร์รี่ พอตเตอร์ และ เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ ส่วนกลุ่มผู้เสพความตาย ที่เป็นสาวกของโวลเดอมอร์ จะไม่เรียกชื่อออกมา แต่มักจะเรียกเวลากล่าวถึงว่า "จอมมาร" และเรียกโวลเดอมอร์ว่า "นายท่าน"ยกเว้นไอกอร์ คาร์คารอฟ ในภาษาฝรั่งเศส "Vol de mort" อาจจะมีความหมายได้ทั้ง "ปีกมรณะ" "การบินของความตาย" "การบินจากความตาย" หรือ "การขโมยความตาย" ในการพิมพ์ครั้งต้น ๆ ของฉบับแปลภาษาไทย ผู้แปลได้ถอดชื่อของออกมาเป็น โวลเดอมอร์ต ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น โวลเดอมอร์ ตามการออกเสียงของผู้แต่งตามแบบภาษาฝรั่งเศส ทว่าในภาพยนตร์ทุกภาคนักแสดงจะออกเสียงเป็น "โวลเดอมอร์ต" ซึ่งมีตัวสะกดที่พยางค์สุดท้ายอย่างชัดเจน เป็นเหตุให้นิยายเสียงที่ออกมาภายหลังภาพยนตร์ภาคแรกจำต้องปรับเปลี่ยนการออกเสียงเป็น "โวลเดอมอร์ต" ตามภาพยนตร์ไปด้วย ทั้งนี้แฟน ๆ ชาวไทยยังคงนิยมออกเสียง "โวลเดอมอร์" ตามเดิม รวมถึงภาพยนตร์ฉบับพากย์ไทยด้ว.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และลอร์ดโวลเดอมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์

ต่อไปนี้เป็นรายการวัตถุเวทมนตร์ในนวนิยาย แฮร์รี่ พอตเตอร.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และวัตถุเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลบัส ดัมเบิลดอร์

อัลบัส เพอร์ซิวาล วูลฟริก ไบรอัน ดัมเบิลดอร์ (Albus Percival Wulfric Brian Dumbledore) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง มีบทบาทเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ในเนื้อหาเกือบทั้งหมดของเรื่อง ต่อมามีการเปิดเผยในเนื้อเรื่องว่าดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้งภาคีนกฟีนิกซ์ซึ่งเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อต่อสู้กับตัวร้ายของเรื่องคือลอร์ดโวลเดอมอร์ มีการกล่าวว่าอัลเฟรด ดันน์ (Alfred Dunn) อดีตอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนเซนต์ไมเคิล (St Michael's Primary School) ที่โรว์ลิ่งเคยเรียนอยู่ เป็นแรงบันดาลใจในการให้กำเนิดตัวละครนี้ ในภาพยนตร์สองภาคแรกนั้นผู้ที่รับบทเป็นดัมเบิลดอร์คือริชาร์ด แฮร์ริสซึ่งเสียชีวิตลงก่อนหนังภาคสองจะได้เข้าฉาย ดังนั้นเซอร์ไมเคิล แกมบอนจึงได้รับบทดัมเบิลดอร์ในภาคต่อๆ ม.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และอัลบัส ดัมเบิลดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอกวอตส์

รงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ (Hogwarts School of Witchcraft and Wizardry) ย่อเป็น ฮอกวอตส์ เป็นโรงเรียนสอนเวทมนตร์สมมติของประเทศสก็อตแลนด์ซึ่งเปิดสอนนักเรียนอายุระหว่างสิบเอ็ดถึงสิบแปดปี และเป็นฉากท้องเรื่องหลักในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิง หกเล่มแรก โรว์ลิงแนะว่าเธออาจได้ชื่อมาโดยไม่ตั้งใจจากต้นฮอกวอร์ต (Croton capitatus) ซึ่งเธอเห็นที่คิวการ์เดนส์ก่อนเขียนแฮร์รี่ พอตเตอร์ แม้ว่าชื่อ "เดอะฮอกวอตส์" และ "ฮอกก์วอตส์" จะปรากฏในหนังสือ How To Be Topp by Geoffrey Willans ของไนเจล โมส์เวิร์ธเมื่อปี 2497 แล้ว โรงเรียนฮอกวอตส์ได้รับคะแนนเสียงเป็นสถานศึกษาที่ดีที่สุดของสกอตแลนด์อันดับที่ 36 ในการจัดอันดับออนไลน์เมื่อปี 2551 เอาชนะโรงเรียนลอเรตโตของเอดินบะระ ซึ่งผู้อำนวยการการจัดอันดับเครือข่ายโรงเรียนอิสระ โรงเรียนฮอกวอตส์ถูกเพิ่มเข้าไปในรายการโรงเรียน "เพื่อความสนุก".

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และฮอกวอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 19

ริสต์ศตวรรษที่ 19 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1801 ถึง ค.ศ. 1900.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และคริสต์ศตวรรษที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

ควิดดิช

กีฬาควิดดิช เป็นเกมกีฬาที่ได้รับความนิยมมากในโลกเวทมนตร์ มีการกล่าวถึงครั้งแรกในหนังสือ แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับ ศิลาอาถรรพ์ โดยถือว่าเป็นกีฬาเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างบ้านพักนักเรียนแต่ละหลัง ซึ่งบ้านที่มักได้รับแชมป์ในการแข่งขัน คือ กริฟฟินดอร์ ควิดดิช จะประกอบไปด้วยผู้เล่นแต่ละทีมจำนวน 7 คน 4 ตำแหน่ง ได้แต่ 3 เชสเซอร์, 2 บีตเตอร์, 1 คีปเปอร์ และ 1 ซีกเกอร์ มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่น คือ ลูกบอลจำนวน 4 ลูก ได้แก่ ควัฟเฟิล (ลูกสีแดง) จะใช้ในการทำแต้ม, บลัดเจอร์ (ลูกสีดำ) จะใช้เพิ่มอุปสรรคให้กับผู้เล่น โดยจะสามารถชนกระแทกผู้เล่นให้ตกจากไม้กวาดได้, และ โกลเด้นสนิช (ลูกสีทองมีปีก) จะใช้ในการทำคะแนนสูงสุดถึง 150 แต้ม และ เมื่อจับได้จะถือว่าสิ้นสุดเกม โดยที่ฮอกวอตส์จะมีการแข่งขันควิดดิชระหว่างบ้านเป็นประจำทุกๆปี นอกจากนี้กีฬาควิดดิชยังได้รับความนิชมแพร่หลายทั่วโลก ถือว่าเป็นกีฬาสุดฮิตของประชานชนผู้วิเศษ โดยมีการจัดการแข่งขัน Quidditch World Cup โดยแต่ละครั้งจะมีนักกีฬาจากหลากหลายประเทศเข้าร่วมแข่งขัน (ปรากฏในหนังสือเล่ม 4) และ นักกีฬาที่ได้รับความนิยมสูงสุดในขณะนี้คือ วิกเตอร์ ครัม นักกีฬาทีมชาติบัลแกเรี.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และควิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แมว

แมว เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในตระกูล Felidae ต้นตระกูลมาจากเสือไซบีเรีย (Felis tigris altaica) ซึ่งมีช่วงลำตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลำตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัดอยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อ มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ สืบสายเลือดมาจากแมวป่าที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งลักษณะบางอย่างของแมวยังคงพบเห็นได้ในแมวบ้านปัจจุบัน แมวเริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เมื่อประมาณ 9,500 ปีก่อน ซึ่งจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของแมวคือการทำมัมมี่แมวที่พบในสมัยอียิปต์โบราณ หรือในพิพิธภัณฑ์อังกฤษในลอนดอน มีการแสดงสมบัติที่นำออกมาจากพีระมิดโบราณแห่งอียิปต์ ซึ่งรวมถึงมัมมี่แมวหลายตัว ซึ่งเมื่อนำเอาผ้าพันมัมมี่ออกก็พบว่า แมวในสมัยโบราณทุกตัวมีลักษณะใกล้เคียงกัน คือเป็นแมวที่มีรูปร่างเล็ก ขนสั้นมีแต้มสีน้ำตาล มีความคล้ายคลึงกับพันธุ์ในปัจจุบัน ที่เรียกว่าแมวอะบิสซิเนี.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแมว · ดูเพิ่มเติม »

แมนเดรก

แมนเดรก (Mandrake) เป็นชื่อสามัญของสมาชิกในสกุลพืช Mandragora โดยเฉพาะอย่างยิ่งพรรณ Mandragora officinarum ซึ่งอยู่ในวงศ์ไม้มะเขือ (Solanaceae) เพราะแมนเดรกมีโทรเพนอัลคาลอยด์สารก่อประสาทหลอน อาทิ อะโทรพิน สโคโปลามีน อะโปอะโทรพิน ไฮออสไซอามีน และบางครั้ง รากมีการแยกสองง่ามทำให้ดูคล้ายร่างมนุษย์ รากของแมนเดรกมีการใช้ในพิธีกรรมทางเวทมนตร์มานาน ซึ่งปัจจุบันยังมีอยู่ในศาสนาลัทธินอกศาสนาใหม่ เช่น วิคคา และลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน เช่น ลัทธิโอดิน (Odinism) หมวดหมู่:พืชมีพิษ หมวดหมู่:วงศ์มะเขือ หมวดหมู่:ต้นไม้ในตำนาน.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแมนเดรก · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)

แฮร์รี่ เจมส์ พอตเตอร์เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 (วันเดือนเดียวกับผู้แต่ง เจ. เค. โรว์ลิ่งได้เขียนให้แฮร์รี่เกิดวันเดียวกันกับเธอและเกิดวันเดียวกับเนวิลล์ ลองบัตทอม แต่คนละปี) เป็นลูกชายคนเดียวของเจมส์ พอตเตอร์และลิลี่ พอตเตอร์ เป็นตัวละครเอกในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์ แสดงโดยแดเนียล แรดคลิฟฟ์ ในภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์ทุกภาคที่สร้างม.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ ฉบับภาษาอังกฤษ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (Harry Potter and the Order of the Phoenix) คือหนังสือเล่มที่ห้าในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลเป็นภาษาไทยโดยสุมาลี จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เป็นภาคที่ยาวที่สุด ออกวางจำหน่ายเมื่อ 21 มิถุนายน ค.ศ. 2003 15 มิถุนายน..

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Philosopher's Stone) เป็นนวนิยายเล่มแรกในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ และนวนิยายประเดิมของเจ. เค. โรว์ลิง โครงเรื่องติดตามแฮร์รี่ พอตเตอร์ พ่อมดหนุ่มผู้ค้นพบมรดกเวทมนตร์ของเขา พร้อมกับสร้างเพื่อนสนิทและศัตรูจำนวนหนึ่งในปีแรกที่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ด้วยความช่วยเหลือของมิตร แฮร์รี่เผชิญกับความพยายามหวนคืนของพ่อมดมืด ลอร์ดโวลเดอมอร์ ซึ่งฆ่าบิดามารดาของแฮร์รี่ แต่ไม่สามารถฆ่าเขาได้เมื่ออายุหนึ่งขวบ บลูมส์บิวรีในกรุงลอนดอนจัดพิมพ์หนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2540 ในปี 2541 บริษัทสกอลาสติกจัดพิมพ์ฉบับสำหรับตลาดสหรัฐอเมริกาภายใต้ชื่อเรื่อง Harry Potter and the Sorcerer's Stone นวนิยายดังกล่าวชนะรางวัลหนังสืออังกฤษส่วนใหญ่ซึ่งตัดสินโดยเด็ก และรางวัลอื่นในสหรัฐอเมริกา หนังสือนี้แตะอันดับ 1 รายการบันเทิงคดีขายดีของนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนสิงหาคม 2542 และอยู่ใกล้อันดับ 1 เป็นส่วนใหญ่ของปี 2542 และ 2543 มีการแปลเป็นภาษาอื่นอีกหลายภาษา และมีการสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน บทปริทัศน์ส่วนใหญ่ชื่นชอบมาก โดยออกความเห็นต่อจินตนาการ ความขบขัน ความเรียบง่าย ลีลาตรงไปตรงมาและการสร้างโครงเรื่องที่ฉลาดของโรว์ลิง แม้บ้างติว่า บทท้าย ๆ ดูรวบรัด มีการเปรียบเทียบงานนี้กับงานของเจน ออสเตน ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์คนโปรดคนหนึ่งของโรว์ลิง หรือโรอาลด์ ดาห์ล ซึ่งงานของเขาครอบงำเรื่องสำหรับเด็กก่อนมีแฮร์รี่ พอตเตอร์ และโฮเมอร์ นักเล่านิยายกรีกโบราณ แม้นักวิจารณ์บางส่วนคิดว่า หนังสือนี้ดูย้อนกลับไปเรื่องโรงเรียนกินนอนสมัยวิกตอเรียและเอ็ดเวิร์ด แต่นักวิจารณ์อื่น ๆ คิดว่า หนังสือนี้วางประเภทอยู่ในโลกสมัยใหม่อย่างแนบแน่นโดยมีลักษณะประเด็นจริยธรรมและสังคมร่วมสมัย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ ร่วมกับที่เหลือของชุดถูกกลุ่มศาสนาหลายกลุ่มโจมตีและห้ามในบางประเทศเพราะกล่าวหาว่านวนิยายนี้ส่งเสริมเวทมนตร์คาถา แต่นักวิจารณ์คริสตศาสนิกบางคนเขียนว่า หนังสือนี้ยกตัวอย่างมุมมองที่สำคัญของศาสนาคริสต์หลายอย่าง ซึ่งรวมอำนาจของการสละตนเองและวิธีซึ่งการตัดสินใจของบุคคลก่อเป็นบุคลิกภาพของเขา นักการศึกษาถือว่า แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ และหนังสือตามมาเป็นตัวช่วยพัฒนาการรู้หนังสือที่สำคัญเพราะความนิยม นอกจากนี้ ยังใช้หนังสือชุดนี้เป็นแหล่งตัวอย่างในเทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์สังคมวิทยาและการตล.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ คือหนังสือเล่มที่สองของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดย สุมาลี (สุมาลี บำรุงสุข) ตีพิมพ์และจัดจำหน่ายในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541 และฉบับภาษาไทยในเดือนกันยายน พ.ศ. 2543 หนังสือเล่มนี้ดำเนินเรื่องต่อจากหนังสือเล่มแรกของชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรร.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

แฮรี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน เป็นหนังสือเล่มที่สามในหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง ได้รับการตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 (1999) โดยสำนักพิมพ์บลูมส์บิวรี่ ฉบับภาษาไทยแปลโดย วลีพร หวังซื่อกุล จัดพิมพ์และจำหน่ายโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ต่อมาในปีพ.ศ. 2547(2004)ได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์โดยวอร์เนอร์ บราเธอร์สและออกฉายไปทั่วโลก หนังสือเล่มนี้ดำเนินเรื่องต่อจากภาคที่สองคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ โดยภาคนี้มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกี่ยวกับตัวของแฮรี่ รวมทั้งมีการแทรกเรื่องของความรักไว้เล็กน้อย แล..โรว์ลิ่งยังได้นำตำนานความเชื่อของกรีกโบราณมาใช้ในการเขียนด้ว.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม เป็นหนังสือเล่มที่หกในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง ออกวางจำหน่ายเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 หนังสือเล่มนี้ขายได้ถึง 9 ล้านเล่มภายใน 24 ชั่วโมงแรก ถือเป็นสถิติสูงสุดในขณะนั้น ซึ่งตอนนี้ภาคที่ตามมา แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ได้ทำลายสถิตินั้นลงไปเรียบร้อยแล้ว แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม ฉบับภาษาไทยแปลโดย "สุมาลี" จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เรื่องราวในภาคนี้เป็นเรื่องของแฮร์รี่ในชั้นปีที่ 6 ที่โรงเรียนฮอกวอตส์ เล่าถึงอดีตของลอร์ดโวลเดอมอร์และการเตรียมพร้อมรับสงครามครั้งสุดท้ายของแฮร์รี่ พร้อมทั้งสอดแทรกเรื่องราวเกี่ยวกับความรัก ความสับสนทางอารมณ์ และความขัดแย้งของตัวละครต่างๆ ซึ่งอยู่ในช่วงวัยรุ่นไว้ด้ว.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต

หน้าปกหนังสือ ฉบับสำนักพิมพ์บลูมสบิวรี ปกอังกฤษ(ครึ่ง) หน้าปกหนังสือ ฉบับอเมริกา แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เป็นหนังสือเล่มที่เจ็ด และเป็นเล่มสุดท้ายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ฉบับภาษาอังกฤษออกวางจำหน่ายในวันที่ 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2550ฉบับภาษาไทยออกจำหน่ายวันที่ 7 ธันวาคมพ.ศ. 2550 ชื่อของหนังสือนั้นประกาศบนเว็บไซต์ของโรว์ลิ่งในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และหลังจากนั้นบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์ โรว์ลิ่งได้กล่าวว่าภาคนี้ ซึ่งถือเป็นภาคสุดท้าย มีความเกี่ยวพันกับภาคที่ผ่านมาสูงมาก "ราวกับว่าเป็นครึ่งหลังของนิยายเล่มเดียวกัน" ก่อนหนังสือจะออก มีการคาดเดาเกี่ยวกับความหมายของชื่อ Deathly Hallows ผู้แต่งได้ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า "การอธิบายความหมายของ Hallows จะเผยเนื้อเรื่องมากเกินไป" และปฏิเสธที่จะตอบคำถาม ก่อนการประกาศชื่อเรื่อง โรว์ลิ่งเคยแถลงว่ามีชื่อเรื่องที่คิดไว้สามชื่อ คือ Harry Potter and the Deathly Hallows,Harry Potter and the Peverell Quest และ Harry Potter and the Elder Wand.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน

รมัน อาจหมายถึง;ประวัติศาสตร.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

โดโลเรส อัมบริดจ์

โดโลเรส อัมบริดจ์ (Dololes Jane Umbridge) เป็นตัวละครที่จำกัดบทเด่นเฉพาะในเล่ม 5 โดยเธอเป็นปลัดอาวุโสขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ต่อมาเป็นอาจารย์วิชาป้องกันตัวจากศาสตร์มืดที่ฮอกวอตส์ หลักสูตรที่เธอสอนเป็นหลักสูตรที่กระทรวงอนุมัติ แต่ทำให้นักเรียนไม่ได้เรียนการป้องกันตัวใด ๆ เลย กลับให้เอาแต่อ่านหนังสือ จากเหตุนี้ ในที่สุด กองทัพดัมเบิลดอร์จึงก่อตั้งขึ้น แต่ต่อมา อัมบริดจ์ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงานสอบสวนใหญ่ของฮอกวอตส์ และสุดท้าย หลังกองทัพดัมเบิลดอร์ถูกเปิดโปง และดัมเบิลดอร์หนีไป เธอก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นอาจารย์ใหญ่ฮอกวอตส์อย่างไม่ชอบธรรม ห้องอาจารย์ใหญ่จึงปิดไม่ให้อัมบริดจ์ใช้ สุดท้าย เธอก็ถูกกำจัดออกจากฮอกวอตส์ไปโดยแผนลวงของเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ ที่ล่อลวงอัมบริดจ์เข้าไปในป่าต้องห้าม และอัมบริดจ์ตะโกนด่าเหล่าเซ็นทอร์ จึงถูกทำร้ายและในที่สุด เธอก็ถูกขับออกจากฮอกวอตส์ แต่ถึงกระนั้นอัมบริดจ์ก็ยังได้ทำงานต่อในกระทรวงเวทมนตร์ ในเล่มเจ็ดเธอได้เป็นประธานคณะกรรมาธิการลงทะเบียนผู้ที่เกิดจากมักเกิ้ล และผู้สอบสวนผู้ที่เกิดจากมักเกิ้ล ในเล่มนี้ได้บอกไว้ว่าผู้พิทักษ์ของเธอเป็นแมว หมวดหมู่:ตัวละครในแฮร์รี่ พอตเตอร์ cs:Ministerstvo kouzel#Dolores Umbridgeová de:Figuren der Harry-Potter-Romane#Dolores Umbridge en:Ministry of Magic#Dolores Umbridge fr:Lieux dans l’univers de Harry Potter#Ministère de la Magie no:Ansatte ved Galtvort høyere skole for hekseri og trolldom#Venke Dolorosa Uffert pl:Pracownicy Ministerstwa Magii#Dolores Umbridge ru:Долорес Амбридж.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และโดโลเรส อัมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์

วทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และเวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และเจ. เค. โรว์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เซเวอร์รัส สเนป

ซเวอรัส สเนป (Severus Snape) เป็นตัวละครในหนังสือเรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นอาจารย์วิชาสอนปรุงยาในเล่ม 1-5 และเป็นอาจารย์สอนวิชาป้องกันตัวจากศาสตร์มืดในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม สเนปเคยเป็นพวกของ ลอร์ดโวลเดอมอร์ แต่ได้หนีออกมาจากการเป็นผู้เสพความตาย และมาอยู่กับ อัลบัส ดัมเบิลดอร์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มด ฮอกวอตต์ และหัวหน้ากลุ่มภาคีนกฟีนิกซ์ ใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสมสเนปได้สังหารอัลบัส ดัมเบิลดอร์ ใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต สเนปได้บอกกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ว่า เขารักลิลี่แม่ของ แฮร์รี่ พอตเตอร์ มาก และที่ได้ฆ่า อัลบัส ดัมเบิลดอร์ไปเพราะ ดัมเบิลดอร์เป็นคนขอร้อง และสเนปโดนลอร์ดโวลเดอมอร์ฆ่าในที.

ใหม่!!: บุคลากรฮอกวอตส์และเซเวอร์รัส สเนป · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กิลเดอรอย ล็อกฮาร์ตก็อดดริก กริฟฟินดอร์มิเนอร์วา มักกอนนากัลมิเนอร์วา แมคกอนากัลมิเนอร์ว่า มักกอลนากัลมิเนอร์ว่า มักกอนนากัลวิลกี้ ทไวน์ครอสวิลเฮลมินา กรับบลี-แพลงค์ศาสตราจารย์ฟอเตสคิวศาสตราจารย์เอเวอราดออโรรา ซินิสตร้าออโรร่า ซินิสตร้าอะมีคัส แคร์โรว์อะพอลเลียน พริงเกิลอาร์กัส ฟิลช์อาร์มันโด ดิพพิตอาจารย์และบุคลากรในฮอกวอตส์อ็อกฮอเรซ ซลักฮอร์นบาธชีดา แบ็บบลิงฟิลิอัส ฟลิตวิกฟินิแอส ไนเจลลัส แบล็กฟิเลียส ฟลิตวิกฟีเรนซีดิลิส เดอร์เวนต์ควิรินัส ควีเรลล์คัชเบิร์ต บินส์ซัลลาซาร์ สลิธีรินซีบิลล์ ทรีลอว์นีย์ป็อปปี้ พ็อมฟรีย์แชริตี้ เบอร์เบจโรแลนดา ฮูชโพโมนา สเปราต์เออร์มา พินซ์เอ็ดเวิด เอเวอราดเฮลก้า ฮัฟเฟิลพัฟเฮอร์เบิร์ต เบียรีเดกซ์เตอร์ ฟอเตสคิวเซ็ปติมา เวกเตอร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »