โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้อง

ดัชนี เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้อง

ียงเสียดแทรก ฟัน ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาอังกฤษ ภาษาเวลส์ ภาษาไอซ์แลนด์ ฯลฯ แต่ไม่มีในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /ð/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ D การทับศัพท์ในภาษาไทย มักใช้ ด แทนเสียงนี้ให้กับ th ของภาษาอังกฤษ เช่น the.

8 ความสัมพันธ์: พยัญชนะภาษาอังกฤษภาษาไอซ์แลนด์ภาษาไทยภาษาเวลส์สัทอักษรสากลสำนักงานราชบัณฑิตยสภาTh (ทวิอักษร)

พยัญชนะ

พยัญชนะ (วฺยญฺชน, consonant) ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่น ๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า 'พยัญชนะ' คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว.

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและพยัญชนะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไอซ์แลนด์

ษาไอซ์แลนด์ (íslenska อีสฺแลนฺสฺกา) เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือ ภาษาราชการของประเทศไอซ์แลนด์ มีผู้พูดประมาณ 300 000 คน ภาษาไอซ์แลนด์เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือที่ใกล้เคียงกับภาษานอร์สโบราณมากที่สุด ภาษาไอซ์แลนด์ยังคงรูปแบบทางไวยากรณ์หลายอย่างของภาษาเจอร์แมนิกแบบโบราณ โดยยังคงการผันคำที่ซับซ้อน.

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและภาษาไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวลส์

ษาเวลส์ (Cymraeg หรือ y Gymraeg, ออกเสียง, Welsh) เป็นสมาชิกของกลุ่มภาษาบริตตัน ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเคลต์ เป็นภาษาที่มีการพูดในเวลส์แห่งสหราชอาณาจักร และในเมือง Y Wladfa (อาณานิคมเวลส์ในชูบุตของอาร์เจนตินา) ในอดีตมีหลายชื่อในภาษาอังกฤษ ได้แก่ "ภาษาบริเตน" ("the British tongue") "Cambrian" "Cambric" และ "Cymric".

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและภาษาเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

Th (ทวิอักษร)

Th ในอักษรละตินเป็นทวิอักษรหรืออักษรสองตัวที่ใช้แทนเสียงเดียว โดยพบได้ในระบบการเขียนหลายภาษาของยุโรป ที่ใช้อักษรโรมันและกรีกเป็นหลัก ในภาษาอังกฤษ อักษร th มักจะออกเสียงในแบบเสียงเสียดแทรกจากฟันได้สองลักษณะ คือ ลักษณะเสียงก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า this) และลักษณะเสียงไม่ก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า think) อย่างไรก็ตาม ในภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) มีการใช้อักษรสำหรับแต่ละเสียงโดยเฉพาะ นั่นคือ อักษร และ สำหรับในภาษาอื่น เช่น ภาษาเยอรมัน th ออกเสียงเป็นเสียง ในภาษาแอลเบเนีย ออกเสียง และยังคงถือว่าตัวอักษร Th เป็นตัวอักษรที่ 29 ของตัวอักษรทั้งหมด โดยอยู่ระหว่าง T และ U ในภาษาไทย เนื่องจากไม่มีเสียงอักษรไทยที่ใกล้เคียงกับ และ ตามกฎของราชบัณฑิตยสถานที่ใช้ในเอกสารของทางราชการไทย กำหนดให้ การถอดเสียงภาษาอังกฤษ มาเป็นภาษาไทย ให้ถอดตัวอักษร th มาเป็นตัวอักษร ด หรือ ท ขึ้นอยู่กับการออกเสียง (ซึ่งออกเสียง และ ใกล้เคียงกับเสียง และ ตามลำดับ) ในบางครั้งจะเกิดปัญหาที่คำทับศัพท์มีการซ้ำซ้อน เช่นคำว่า "thank" และ "tank" เมื่อทับศัพท์ออกมาตามหลัก แล้วรูปจะเหมือนกัน คือ "แทงก์" แต่การออกเสียงแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังมีบางกลุ่มที่ถอดเสียง เป็น.ธง เพื่อเปรียบต่างกับเสียง ที่เป็น ท.ทหาร เช่นในคำว่า มาราธอน (marathon).ธง สำหรับในคำทับศัพท์นี้แสดงถึงเสียง สำหรับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง กำหนดให้ตัวอักษร ฐ ฒ ถ ธ ท ถอดเป็นตัวอักษร th ในภาษาอังกฤษ ซึ่งออกเสียง.

ใหม่!!: เสียงเสียดแทรก ฟัน ก้องและTh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »