โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เลนส์สัมผัส

ดัชนี เลนส์สัมผัส

ลนส์สัมผัส บนปลายนิ้ว เลนส์สัมผัส (Kontaktlinse;contact lens;lente de contacto) เป็นเลนส์สำหรับแก้สายตา บำบัดโรคหรือเพื่อความสวยงาม ปกติจะวางบนกระจกตา มีวัตถุประสงค์ใช้งานเหมือนแว่นสายตาทั่วไป แต่มีน้ำหนักเบากว่า และมองแทบไม่เห็น ให้ความคล่องตัวมากกว่าแว่นสายต.

12 ความสัมพันธ์: กระจกตากล้องจุลทรรศน์อดอล์ฟ กาสทอน ออยเกน ฟิกจอห์น เฮอร์เชลซือริชแว่นตาโทมัส ยังเรอเน เดการ์ตเลนส์เลโอนาร์โด ดา วินชีเส้นผ่านศูนย์กลางเจลาติน

กระจกตา

กระจกตา เป็นส่วนโปร่งใสด้านหน้าของตาซึ่งคลุมอยู่หน้าม่านตา, รูม่านตา, และห้องหน้า (anterior chamber) กระจกตาทำหน้าที่หักเหแสงร่วมกับเลนส์ตา (lens) และช่วยในการโฟกัสภาพ โดยกระจกตามีส่วนเกี่ยวกับกำลังการรวมแสง (optical power) ของตาถึง 80%Cassin, B. and Solomon, S. Dictionary of Eye Terminology.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและกระจกตา · ดูเพิ่มเติม »

กล้องจุลทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์ใช้เลนส์ประกอบ สร้างโดยจอห์น คัฟฟ์ (John Cuff) ค.ศ. 1750 กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์สำหรับมองดูวัตถุที่มีขนาดเล็กเกินกว่ามองเห็นด้วยตาเปล่าเช่น วัตถุที่อยู่ไกล วัตถุที่อยู่สูง เป็นต้น ศาสตร์ที่มุ่งสำรวจวัตถุขนาดเล็กโดยใช้เครื่องมือดังกล่าวนี้ เรียกว่า จุลทรรศนศาสตร์ (microscopy).

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและกล้องจุลทรรศน์ · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ กาสทอน ออยเกน ฟิก

อดอล์ฟ กาสทอน ออยเกน ฟิก (Adolf Gaston Eugen Fick; 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1852 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1937) เป็นจักษุแพทย์ชาวเยอรมัน เป็นบุตรของนักกายวิภาคศาสตร์ ฟรันซ์ ลุดวิจ ฟิก และเป็นหลานของนักสรีรวิทยา อดอล์ฟ ออยเกน ฟิก เขาได้รับการเลี้ยงดูจากครอบครัวของลุงและเข้าร่วมในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ก่อนจะเรียนวิชาแพทย์ที่เมืองเวือร์ซบูร์ก ในปี..

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและอดอล์ฟ กาสทอน ออยเกน ฟิก · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เฮอร์เชล

อห์น เฮอร์เชล จอห์น เฮอร์เชล (John Herschel) (7 มีนาคม ค.ศ. 1792-11 พฤษภาคม ค.ศ. 1871) นักคณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นกระบวนการไซยาโนไทป์ (Cyanotype) ที่เป็นต้นแบบของกระบวนพิมพ์เขียว (Blue Print) ที่พัฒนาต่อกันมาใช้ในการทำสำเนาแบบพิมพ์เขียว หรือกระดาษคาร์บอนพิมพ์ดีด ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ เนื่องจากว่าสมัยนั้นการบันทึกข้อมูลต้องเขียนด้วยลายมือ และหากต้องการสำเนาก็ต้องคัดลอกซ้ำให้เหมือนเดิม ทำให้ต้องใช้เวลามากขึ้นไป เฮอร์เชล จึงพยายามคิดวิธีการทำสำเนาขึ้นนั่นเอง ในทางการถ่ายภาพ เป็นผู้แนะนำให้ทัลบอท ผู้คิดค้นกระบวนการถ่ายภาพทัลบอทไทป์ (หรือเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า กระบวเนกาทิฟโพสิทิฟ) ให้ใช้ "ไฮโป" ในการคงสภาพให้ภาพติดถาวร ในยุคแรกของการคงสภาพนั้นใช้น้ำเกลือเข้มข้นในการคงสภาพ นอกจากนั้นยังเป็นผู้บัญญัติศัพท์ที่ใช้ในทางการถ่ายภาพ คือคำว่า "photograph" "negative" และ "positive" จอห์น เฮอร์เชล เป็นลูกชายของวิลเลียม เฮอร์เชล นักดาราศาสตร์ ซึ่งค้นพบดาวยูเรนั.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและจอห์น เฮอร์เชล · ดูเพิ่มเติม »

ซือริช

ซือริช (Zürich) หรือ ซูริก (Zurich) เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศสวิตเซอร์แลนด์และเป็นเมืองหลวงของรัฐซือริช ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนเหนือของประเทศ บริเวณจุดเหนือสุดของทะเลสาบซือริช (Lake Zurich) มีประชากรในเขตตัวเมืองทั้งหมด 400,028 คน และประชากรบริเวณรอบตัวเมืองรวมทั้งสิ้น 1.4 ล้านคน ซือริชเป็นศูนย์กลางของระบบการขนส่งมวลชนของประเทศ อาทิ ระบบขนส่งรถไฟ เส้นทางการคมนาคม การจราจรทางอากาศ โดยเป็นที่ตั้งของสนามบินและสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดและการจราจรหนาแน่นที่สุดในประเทศ ซือริชได้ถูกก่อตั้งมานานกว่า 2,000 ปี โดยชาวโรมันช่วง 150 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งขณะนั้นซือริชมีชื่อเรียกว่า Turicum อย่างไรก็ตามร่องรอยการเข้าอยู่อาศัยในซือริชได้ถูกค้นพบว่ายาวนานถึง 6,400 ปีแล้ว ในช่วงยุคกลาง ซือริชได้รับเอกราชเมื่อปี..

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและซือริช · ดูเพิ่มเติม »

แว่นตา

แว่นตาสมัยใหม่ แว่นตาเป็น เลนส์ที่สวมอยู่ในกรอบ สำหรับใส่ข้างหน้าตา ปกติเพื่อปรับแก้การมองเห็น ป้องกันตา หรือเพื่อป้องกัน รังสีเหนือม่วง โดยแว่นตานี้ จะถูกใช้เนื่องจากหลายๆกรณี อาทิ เช่น คนที่มีปัญหาทางด้านสายตา ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น สายตายาว ผู้มีปัญหาทางตาเช่นโรคต้อบางชนิดที่จำเป็นต้องป้องกันนัยต์ตาไม่ให้โดนลมปะทะ หรือในบางครั้ง ยังสามารถใช้เป็นแว่นตาสำหรับใส่เล่น(แฟชั่น ได้อีกด้วย) และข้อดีอย่างนึงคือ สามารถกันรังสีต่างๆที่ออกมาจากคอมพิวเตอร์ ทำให้ช่วยในเรื่องของการถนอมสายตาได้อีกด้วย แว่นสมัยใหม่โดยทั่วไปทำจากโลหะหรือพลาสติก ซึ่งจะมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป สำหรับกรอบแว่นสายตาที่มีกรอบเป็นพลาสติกมีคุณสมบัติเรื่องของความเบาของตัวแว่น ทำให้ผุ้ใช้รู้สึกสบายตา ไม่ปวดศีรษะ แต่มีข้อเสียในเรื่องของความทนทาน สำหรับกรอบแว่นสายตาที่มีกรอบเป็นโลหะนี้ จะมีน้ำหนักที่ค่อนข้างมาก แต่มีข้อดีคือความทนทาน ในปัจจุบันมีแว่นตาหลากหลายรูปทรงให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็นทรงสี่เหลี่ยม ทรงกลม ทรงรี ซึ่งแว่นตาแต่ละรูปทรง สามารถมีส่วนช่วยในเรื่องของการปรับรูปหน้าผู้ใส่ได้ ขึ้นอยู่กับการเลือกเฟ้นของผู้ใช้เอง อาทิเช่น กรอบแว่นตาทรงสี่เหลี่ยมจะเหมาะกับทั้งคนที่มีหน้ากลมและหน้ายาว เป็นต้น.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและแว่นตา · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

เรอเน เดการ์ต

รอเน เดการ์ต (René Descartes) เป็นทั้งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ นอกจากที่เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่ เขายังเป็นผู้คิดค้นระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียนซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาด้านแคลคูลัสต่อมา เดการ์ตได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ แนวคิดของเขามีผลต่อนักคิดร่วมสมัยไปถึงนักปรัชญารุ่นต่อ ๆ มา โดยรวมเรียกว่าปรัชญากลุ่มเหตุผลนิยม (rationalism) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและเรอเน เดการ์ต · ดูเพิ่มเติม »

เลนส์

ลนส์ จากภาษาอังกฤษ lens อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและเลนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนาร์โด ดา วินชี

ลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1519) เป็นอัจฉริยบุคคลที่มีความสามารถหลากหลาย เป็นทั้ง สถาปนิกแบบเรอเนซองส์ นักดนตรี นักกายวิภาคศาสตร์ นักประดิษฐ์ วิศวกร ประติมากร นักเรขาคณิต นักวาดภาพ นักดาราศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ ดา วินชี มีงานศิลปะที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น เช่น พระกระยาหารมื้อสุดท้าย และ โมนา ลิซ่า งานของ ดา วินชี ยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่วางรากฐานด้านการบิน รวมถึงวิศวกรรมโยธา ด้วยความที่เป็นบุรุษที่มีจิตวิญญาณที่รักในศาสตร์หลายแขนง เลโอนาร์โดทำให้เกิดจิตวิญญาณของสหวิทยาการในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นบุคคลสำคัญของยุคนั้น นักประวัติศาสตร์และนักวิชาการหลายคนต่างยกย่องเลโอนาร์โดเป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลมและเป็นผู้รู้รอบด้าน หรือ "ชายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา" (Renaissance Man) บุคคลที่มี "ความอยากรู้อยากเห็นอย่างไม่มีข้อกังขา" และ "จินตนาการที่สร้างสรรค์ขึ้นเรื่อย ๆ".

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและเลโอนาร์โด ดา วินชี · ดูเพิ่มเติม »

เส้นผ่านศูนย์กลาง

เส้นผ่านศูนย์กลาง (Diameter) เส้นผ่านศูนย์กลาง (อังกฤษ: diameter) คือเส้นตรงซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลางของรูปวงกลมไปบรรจบกับเส้นรอบวงทั้งสองข้าง ซึ่งรูปวงกลมนั้นอาจมาจากหน้าตัดของทรงกระบอก ทรงกรวย หรือทรงกลมก็ได้ เส้นผ่านศูนย์กลางมีความยาวเป็นสองเท่าของเส้นรัศมี เป็นคอร์ดที่ยาวที่สุดในรูปวงกลม และแบ่งรูปวงกลมออกเป็นรูปครึ่งวงกลมสองส่วนเท่าๆ กัน และสามารถเปลี่ยนไปได้ทุกทิศทางไม่กำหนด เส้นผ่านศูนย์กลางจะสร้างมารถคำนวณได้โดยหาค่ารัศมีแล้วคูณสอง เพราะว่าความยาวของรัศมีหนึ่งเส้นเท่ากับครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลาง ในทางวิศวกรรมศาสตร์ เส้นผ่านศูนย์กลางสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ ⌀ (ยูนิโคด: U+8960) ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปวงกลมเล็กๆ ขีดทับด้วยเส้นตรงเอียงลงทางซ้าย มีประโยชน์ในการบ่งบอกขนาดของรูปวงกลม หมวดหมู่:เรขาคณิตมูลฐาน หมวดหมู่:ความยาว.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและเส้นผ่านศูนย์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

เจลาติน

ลาติน (gelatin) มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า gélatine เป็นของแข็งโปร่งแสง ไม่มีสี เปราะ และแทบไม่มีรสชาติ ได้มาจากการแปรรูปคอลลาเจน (collagen) ที่มีอยู่ในผิวหนัง กระดูก รวมทั้งเนื้อเยื่อเกี่ยวพันของสัตว์ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่นิยมนำมาทำการผลิต เจลาตินจัดอยู่ในกลุ่มอาหาร มี E number คือ E441 มีการนำเจลาตินมาใช้ในการเป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น เครื่องสำอาง ยา อาหาร และฟิล์มถ่ายรูป โดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมอาหารซึ่งเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเจลาตินโดยเจลาตินส่วนนี้เรียกว่า edible gelatin ซึ่งใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารชนิดต่างๆ เช่น ขนมหวาน ไอศครีม โยเกิร์ต เป็นต้น ตลาดที่ใหญ่รองลงมาคืออุตสาหกรรมการผลิตยาโดยใช้เจลาตินในการเคลือบเม็ดยาและผลิตเป็นแคปซูล ทั้งชนิดแคปซูลแข็งและแคปซูลนิ่ม เจลาตินเป็นโปรตีนที่ได้การไฮโดรไลซ์คอลลาเจนด้วยความร้อนหรือใช้สารอื่นช่วย เช่น กรดหรือเบส ทำให้โครงสร้างคอลลาเจนถูกทำลายและเปลี่ยนแปลงเป็นสารเจลาติน ในการสลายพันธะในคอลลาเจน ส่วนประกอบหลักที่พบในเจลาตินเป็นสายเกลียวของ α β และ γ วัตถุดิบในการสกัดเจลาตินคือกระดูก เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และลำไส้บางส่วนของสัตว์เช่น โคกระบือ สุกร และม้า เป็นต้น พันธะระหว่างโมเลกุลของคอลลาเจนถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่จัดเรียงตัวได้ง่ายขึ้น เจลาตินหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวกลับเมื่อได้รับความเย็น เจลาตินสามารถก่อเจลแบบกึ่งของแข็งร่วมกับน้ำ เมื่อละลายเจลาตินในน้ำจะได้สารละลายที่มีความหนืดสูงและก่อเจลเมื่อทำให้เย็น องค์ประกอบทางเคมีของเจลาตินแทบจะเหมือนคอลลาเจนเริ่มต้น เจลาตินเป็นสารประเภท Heterogenous polypeptide ที่ผสมกันระหว่าง  α-Chain (one chain) β-Chain (two α-Chain covalent crosslink) และ γ-chain (three α-Chain covalent crooslink)ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน 50.5% ออกซิเจน 25.2% ไนโตรเจน 17% ไฮโดรเจน 6.8% ซึ่งเกิดจากการสูญเสียสภาพตามธรรมชาติหรือสกัดจากคอลลาเจนที่สามารถหาได้จาก กระดูก หนังสัตว์เช่น หมู วัว ปลา โดยการใช้กรดและความร้อนเพื่อทำให้คอลลาเจนเสียสภาพและมีโมเลกุลเล็กลงจนกลายเป็นเจลาติน ดังนั้นโครงสร้างของเจลาตินจึงมีความคล้ายกับคอลลาเจน หรือกล่าวคือเป็นโมโนเมอร์ของคอลลาเจน (Collagen monomer) เรียกว่าโทรโปคอลลาเจน (Tropocollagen) เกิดจากพันธะโพลีเปปไทด์ 3 สายพันกันเป็นเกลียว (Triple helix) ที่มีหมู่อะมิโนจำนวนมาก.

ใหม่!!: เลนส์สัมผัสและเจลาติน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Contact lensคอนแทกต์เลนส์คอนแทคเลนส์คอนเทคเลนส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »