โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เร่ว

ดัชนี เร่ว

ร่วเป็นพืชล้มลุก มีเหง้าหรือลำต้นอยู่ในดิน จัดเป็นพืชวงศ์เดียวกับ กระวาน ข่า ขิง ชื่อวิทยาศาสตร์:Amomum villosum Wall.

7 ความสัมพันธ์: พืชกระวานวงศ์ขิงอันดับขิงขิงข่า (พืช)โรคริดสีดวงทวาร

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ใหม่!!: เร่วและพืช · ดูเพิ่มเติม »

กระวาน

กระวาน หมายถึงพืชสองชนิดที่มีความใกล้เคียงกัน 2 สกุล คือ กระวานเทศ (สกุล Elettaria) และกระวานไทย (สกุล Amomum) ทั้งสองสกุลเป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เนปาล และภูฏาน ในปัจจุบัน กัวเตมาลาเป็นแหล่งปลูกและส่งออกกระวานที่สำคัญของโลก รองลงมาคืออินเดีย กระวานทั้งสองชนิดได้แก.

ใหม่!!: เร่วและกระวาน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ขิง

ืชวงศ์ขิง (Zingiberaceae) เป็นพืชที่มีเหง้า มีด้วยกัน 47 สกุล ประมาณ 1,000 ชนิดพืชตระกูลขิงหลายชนิดมีความสำคัญในฐานะเป็นไม้ดอกไม้ประดับ บ้างก็ใช้เป็นเครื่องเทศ หรือยาสมุนไพร พืชสำคัญได้แก่ ขิง ข่า ดาหลา กร.

ใหม่!!: เร่วและวงศ์ขิง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับขิง

อันดับขิง หรือ Zingiberales เป็นอันดับของพืชมีดอก เป็นอันดับที่มีสมาชิกเป็นพืชที่รู้จักกันดีหลายชนิด เช่น ขิง ข่า ขมิ้น กระวาน กล้วย สาคู เฮลิโคเนี.

ใหม่!!: เร่วและอันดับขิง · ดูเพิ่มเติม »

ขิง

ง เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ แทงหน่อหรือลำต้นเทียมขึ้นเป็นกอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันเป็นสองแถว ใบรูปหอกเกลี้ยงๆ กว้าง 1.5 - 2 ซม.

ใหม่!!: เร่วและขิง · ดูเพิ่มเติม »

ข่า (พืช)

ป็นพืชที่มีลำต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า "เหง้า" อยู่ในวงศ์ขิง เป็นไม้ล้มลุก เป็นพืชสมุนไพรที่นำมาใช้ในการประกอบอาหารในประเทศไทยและอินโดนีเซีย ข่ามีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กฎุกกโรหินี (กลาง) ข่าหยวก (เหนือ) ข่าหลวง (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เหนือ) สะเอเชย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ เสะเออเคย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน).

ใหม่!!: เร่วและข่า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

โรคริดสีดวงทวาร

รคริดสีดวงทวาร (hemorrhoids (อังกฤษอเมริกัน) หรือ haemorrhoids (อังกฤษบริติช) หรือ piles) เป็นโครงสร้างหลอดเลือดในช่องทวารหนัก ในสภาพปกติจะมีลักษณะเป็นนวมและช่วยในการกลั้นอุจจาระ เมื่อบวมหรืออักเสบจะมีพยาธิสภาพเป็น หัวริดสีดวง อาการของโรคริดสีดวงทวารขึ้นอยู่กับชนิดที่เป็น แบบภายในมักจะเลือดออกเป็นสีแดงสดโดยไม่เจ็บเมื่อถ่ายอุจจาระ ขณะที่แบบภายนอกบ่อยครั้งจะเจ็บและบวมที่บริเวณทวารหนัก และถ้าเลือดออกก็จะสีคล้ำกว่า อาการบ่อยครั้งจะดีขึ้นหลังจาก 2-3 วัน แต่แบบภายนอกอาจจะเหลือติ่งหนัง (acrochordon) แม้หลังจากอาการหายแล้ว แม้ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคริดสีดวงทวาร แต่ก็เชื่อว่าปัจจัยที่เพิ่มแรงดันในท้องหลายอย่างมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งท้องผูก ท้องร่วง และนั่งถ่ายเป็นเวลานาน ริดสีดวงทวารยังสามัญกว่าในช่วงตั้งครรภ์ด้วย การวินิจฉัยจะเริ่มที่การตรวจดูที่บริเวณ หลายคนเรียกอาการทุกอย่างที่เกิดรอบบริเวณทวารหนัก-ไส้ตรงอย่างผิด ๆ ว่า "โรคริดสีดวงทวาร" แต่ก็ควรตัดสาเหตุร้ายแรงของอาการให้แน่นอนก่อน การส่องกล้องแบบ Colonoscopy หรือ sigmoidoscopy บางครั้งสมควรใช้เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและกันเหตุที่ร้ายแรงกว่า บ่อยครั้ง อาการไม่จำเป็นต้องรักษา การรักษาเริ่มต้นจะเป็นการเพิ่มการรับประทานใยอาหาร, ดื่มน้ำให้มาก ๆ, ทานยา NSAID เพื่อลดเจ็บ, และพักผ่อน ยาที่เป็นครีมอาจใช้ทาที่บริเวณ แต่ประสิทธิผลของยาเช่นนี้ไม่มีหลักฐานที่ดี อาจทำหัตถการเล็กน้อยได้จำนวนหนึ่งหากอาการรุนแรงหรือไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาแบบอนุรักษ์ โดยการผ่าตัดจะสงวนไว้สำหรับโรคที่ไม่ดีขึ้น ประชากรประมาณ 50%-66% จะมีปัญหาริดสีดวงทวารอย่างน้อยหนึ่งครั้งในชีวิต ชายและหญิงพบบ่อยพอ ๆ กัน คนอายุ 45-65 ปีจะมีปัญหามากที่สุด เป็นปัญหาสำหรับคนมั่งมีมากกว่า และปกติจะหายได้ดี การกล่าวถึงโรคนี้เป็นครั้งแรกที่รู้มาจากบันทึกในกระดาษปาปิรัสของชาวอิยิปต์ช่วง 1700 ปีก่อน..

ใหม่!!: เร่วและโรคริดสีดวงทวาร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Amomum xanthioides

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »