โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เพลงสรรเสริญพระบารมี

ดัชนี เพลงสรรเสริญพระบารมี

ำว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) โดยการแปลเทียบเคียงจากชื่อเพลงสรรเสริญพระบารมีของไทย (แปลตามตัวว่า เพลงยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์) เพลงชนิดนี้เป็นเพลงปลุกใจชนิดหนึ่ง โดยมากจะคล้ายคลึงกับเพลงชาติ แต่มักใช้กับบรรดาพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เนื้อหาของเพลงมักเป็นไปในทางถวายพระพรแด่สถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงประเภทนี้นิยมบรรเลงในยามที่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เสด็จออกในที่สาธารณะ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในที่ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวาระโอกาสสำคัญของพระราชวงศ์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี เป็นต้น.

131 ความสัมพันธ์: บอเจ พราฟเดพ.ศ. 2313พ.ศ. 2323พ.ศ. 2347พ.ศ. 2359พ.ศ. 2376พ.ศ. 2377พ.ศ. 2387พ.ศ. 2401พ.ศ. 2402พ.ศ. 2403พ.ศ. 2407พ.ศ. 2409พ.ศ. 2414พ.ศ. 2417พ.ศ. 2420พ.ศ. 2423พ.ศ. 2424พ.ศ. 2431พ.ศ. 2439พ.ศ. 2444พ.ศ. 2449พ.ศ. 2451พ.ศ. 2452พ.ศ. 2454พ.ศ. 2455พ.ศ. 2458พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2466พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2479พ.ศ. 2484พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2496พ.ศ. 2500พ.ศ. 2505พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2522พ.ศ. 2542...พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤตพระมหากษัตริย์พระมหากษัตริย์สวีเดนพฤษภาคมก่งจินโอวก็อดเซฟเดอะควีนมาร์ชาเรอัลยุคเฮอังยฺเหวียน ชื่อไข่ราชรัฐเซอร์เบียราชวงศ์กอญัรราชวงศ์ปาห์ลาวีราชวงศ์โซกูราชอาณาจักรบัลแกเรียราชอาณาจักรกรีซราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรลิเบียราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรฮาวายราชอาณาจักรโรมาเนียราชอาณาจักรโปรตุเกสราชอาณาจักรเซอร์เบียราชอาณาจักรเนปาลราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์กรีซรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามพระมหากษัตริย์มาเลเซียรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามพระมหากษัตริย์อิตาลีรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงารายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์รายพระนามผู้ปกครองรัสเซียรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิงลาบราบ็องซอนลิเบีย ลิเบีย ลิเบียวิลเฮลมึสศรีมาน คัมภีระ เนปาลีสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ)สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีดสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สรรเสริญพระบารมีสรรเสริญธงมังกรอัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตันอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนีอัสซะลามอัลมะละกีอิสละมียามิศร์อูอีนูดาการ์ตาอีมนอสเอสตีนเอเลฟเทริอันฮีมนี อี ฟลามูริทจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิออสเตรียจักรพรรดิโคจงจักรวรรดิออสเตรียจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)จงกั๋วสฺยงลี่อวี่โจ้วเจียนคองซานเก็นคองเงอซังเงินคิมิงะโยะซอรูเด ชาฮันชาฮี อีรานซาลามะตีเย ชาห์ประเทศนิวซีแลนด์ประเทศไทยนการากูนครราชแม่น้ำไรน์โบเช ซาร์ยาครานีโกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงาโมลิทวารุสคิคฮ์โดยพฤตินัยโดยนิตินัยไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์เพลงชาติเพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวียเพลงชาติโอมานเพลงของหลี่ฮงชานเครือจักรภพแห่งประชาชาติ ขยายดัชนี (81 มากกว่า) »

บอเจ พราฟเด

อเจ พราฟเด ("Боже правде" "Bože pravde"), คำแปล: "เทวะ, โปรดประทานความเป็นธรรมแก่เรา" หรือ "เทพแห่งความยุติธรรม" เป็นชื่อของเพลงชาติอย่างเป็นทางการแห่งสาธารณรัฐเซอร์เบีย ตามมาตรา 7 แห่งรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐเซอร์เบี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและบอเจ พราฟเด · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2313

ทธศักราช 2313 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2313 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2323

ทธศักราช 2323 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2323 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2359 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2376

ทธศักราช 2376 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2376 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2377

ทธศักราช 2377 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1834.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2377 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2387

ทธศักราช 2387 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2387 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2401 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2402

ทธศักราช 2402 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1859.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2402 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2407 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2409

ทธศักราช 2409 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1866.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2409 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2417

ทธศักราช 2417 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1874.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2417 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2420

ทธศักราช 2420 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1877.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2420 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2423

ทธศักราช 2423 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1880.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2423 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2424

ทธศักราช 2424 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1881.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2424 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2431

ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2431 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา นับตั้งแต่สมัยการยึดครองของฝรั่ง.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์สวีเดน

ราชาธิปไตยแห่งสวีเดน (Monarki i Sverige) คือระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ราชอาณาจักรสวีเดนใช้มายาวนาน พระมหากษัตริย์ทรงมีตำแหน่งเป็นเพียงประมุขของประเทศเท่านั้น โดยพระองค์ไม่มีพระราชอำนาจทางการเมือง ซึ่งพระมหากษัตริย์สวีเดนทรงเป็นพระประมุขสูงสุดรวมทั้งยังได้รับความเคารพจากสังคมของสวีเดนมาโดยตลอด ทั้งนี้สวีเดนได้เริ่มใช้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญพร้อม ๆ กับการเริ่มใช้ระบบรัฐสภาที่มีพระราชพิธียุ่งยากมากมาย นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังสามารถมีพระราชโองการไปถึงรัฐบาลและกองทัพได้อีกด้วย ในปี ค.ศ. 1810 รัฐธรรมนูญสวีเดนว่าด้วยการสืบทอดราชสมบัติได้กำหนดให้ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์เป็นราชวงศ์แห่งสวีเดน อีกทั้งผู้สืบทอดราชสมบัติต้องนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งพระมหากษัตริย์สวีเดนองค์ปัจจุบันก็คือสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ก่งจินโอว

ก่งจินโอว เป็นชื่อของเพลงชาติเพลงแรกของประเทศจีน ซึ่งถือกำเนิดขึ้นในระยะสุดท้ายของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์ชิง เพลงนี้ได้ใช้เป็นเพลงชาติเพียงระยะเวลาไม่นาน เนื่องจากสาธารณรัฐจีนสามารถโค่นล้มรัฐบาลจีนราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ ชื่อของเพลงก่งจินโอว หากแปลโดยศัพท์จะแปลได้ว่า "ถ้วยทองแกร่ง" แต่ถ้าแปลเอาความหมาย จะหมายความว่า "ขอให้จักรวรรดิของเราจงเข้มแข็ง" ทำนองเพลงประพันธ์โดย ผู่ ถง (溥侗) นายทหารระดับสูงในกรมทหารรักษาพระองค์ ส่วนเนื้อร้องซึ่งเขียนขึ้นด้วยอักษรจีนตัวเต็มนั้นประพันธ์โดย เหยียน ฟู่ (嚴復) ผู้บัญชาการทหารเรือแห่งจักรพรรดินาวีต้าชิง โดยมี กัว เฉิงซิน (郭曾炘) เสนาบดีกระทรวงราชพิธี เป็นผู้ปรับปรุงเล็กน้อยและเรียบเรียงดนตรี เพลงก่งจินโอวได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติโดยรัฐบาลต้าชิง เมื่อวันที่ 13 เดือน 8 แห่งรัชกาลจักรพรรดิเซวียนถ่ง ปีที่ 3 (ตรงกับวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1911 ตามปฏิทินเกรกอเรียน) อย่างไรก็ตาม ในอีก 6 วันถัดมาได้เกิดการจลาจลที่เมืองอู่จาง (Wuchang Uprising) ซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดการปกครองของราชวงศ์ชิงด้วยการประกาศสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1912 และติดตามด้วยการสละราชสมบัติของจักรพรรดิเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เพลงนี้ไม่มีฐานะเกียรติยศใดๆ อีกต่อไป เนื่องจากเนื้อหาในเพลงนี้กล่าวสรรเสริญราชวงศ์ชิงโดยเฉพาะ จึงจัดได้ว่าเพลงนี้ควรนับเข้าเป็นเพลงสรรเสริญพระบารมี (Royal anthem) ได้เช่นกัน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและก่งจินโอว · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเซฟเดอะควีน

ลงก็อดเซฟเดอะควีน หรือ ก็อดเซฟเดอะคิง เป็นเพลงปลุกใจ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร เพลงนี้ใช้เป็นหนึ่งในสองเพลงชาติของนิวซีแลนด์ เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ทั้งยังใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์อังกฤษด้วย หากประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะคิง แต่ถ้าพระราชินีทรงเป็นประมุขก็จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะควีน ในภาษาไทยไม่นิยมแปลชื่อเพลงนี้ออกมาโดยตรง แต่มักเรียกทับศัพท์ว่า ก็อดเซฟเดอะคิง หรือ ก็อดเซฟเดอะควีน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีอังกฤษ ตามลักษณะของเพลง.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและก็อดเซฟเดอะควีน · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชาเรอัล

ลามาร์ชาเรอัล (La Marcha Real แปลตามตัวว่า "เพลงมาร์ชหลวง" แปลเทียบเป็นภาษาไทยได้ว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี") เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรสเปน และเป็นหนึ่งในเพลงชาติจำนวนไม่กี่เพลงในโลกนี้ที่ไม่มีเนื้อร้อง เพลงลามาร์ชาเรอัลนี้เป็นหนึ่งในเพลงชาติที่เก่าแก่ที่สุดในยุโรป มีที่มาที่ไปไม่ชัดเจนนัก ปรากฏหลักฐานครั้งแรกในเอกสารชื่อ Libro de Ordenanza de los toques militares de la Infantería Española (หนังสือคู่มือทหารราบสเปนว่าด้วยสัญญาณแตรเดี่ยว) พิมพ์โดยมานวยล์ เด เอสปีโนซา เมื่อปี พ.ศ. 2304 ในหนังสือเล่มดังกล่าวเรียกชื่อเพลงนี้ว่า "ลามาร์ชากรานาเดรา" (La Marcha Granadera - เพลงมาร์ชทหารรักษาพระองค์) และไม่ระบุชื่อผู้ประพันธ์ไว้ ถึง พ.ศ. 2313 พระเจ้าการ์โลสที่ 3 ได้มีพระบรมราชโองการให้ใช้เพลงลามาร์ชากรานาเดราเป็นเพลงเกียรติยศในทางราชการ เนื่องจากเพลงนี้มักจะใช้บรรเลงในเวลาที่พระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์เสด็จพระราชดำเนินในที่สาธารณะและในพระราชพิธีต่าง ๆ อยู่เสมอ ต่อมาไม่นานนัก ชาวสเปนก็รับเอาเพลงนี้มาใช้เป็นเพลงชาติและขนานนามเสียใหม่ว่า "ลามาร์ชาเรอัล" (แปลตามตัวว่า เพลงมาร์ชของพระเจ้าแผ่นดินหรือเพลงมาร์ชหลวง) ดังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ในสมัยสาธารณรัฐสเปนที่ 2 (พ.ศ. 2474-2483) เพลงลามาร์ชาเรอัลถูกงดใช้ในฐานะเพลงชาติและแทนที่ด้วยเพลง "เอลอิมโนเดเรียโก" (El Himno de Riego) สมัยนี้เป็นสมัยที่เกิดสงครามกลางเมืองเป็นระยะเวลานาน เมื่อสิ้นสุดสงครามแล้ว จอมพลฟรานซิสโก ฟรังโกได้ปกครองประเทศในฐานะผู้เผด็จการ และนำเอาเพลงลามาร์ชาเรอัลกลับมาใช้เป็นเพลงชาติอีกครั้งในชื่อเพลง "ลามาร์ชากรานาเดรา" เพลงชาติสเปนฉบับปัจจุบันนี้ได้กำหนดให้ใช้ตามรัฐธรรมนูญแห่งสเปนฉบับ พ.ศ. 2522 โดยไม่มีเนื้อร้องประกอบ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 มีพระบรมราชโองการให้ใช้เพลงลามาร์ชาเรอัลเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการสืบมาจนถึงทุกวันนี้ เพลงนี้มีใช้บรรเลงอยู่สองฉบับ คือ ฉบับสังเขป (ความยาวประมาณ 35 วินาที) และฉบับเต็ม (ความยาวประมาณ 1 นาที) ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้บรรเลงในโอกาสใ.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและมาร์ชาเรอัล · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

ยฺเหวียน ชื่อไข่

ยฺเหวียน ชื่อไข่ (16 กันยายน พ.ศ. 2402 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2459) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ โดยได้อาศัยความได้เปรียบจากการคุมกองทัพเป่ยหยาง ซึ่งเป็นปัจจัยทั้งการอยู่รอดของราชวงศ์ชิงและการก่อตั้งสาธารณรัฐ ถ้ายฺเหวียนเลือกข้างฝ่ายไหน ฝ่ายนั้นก็ได้รับชัยชนะไป กองทัพของซุนยัคเซนเองก็ใช่ว่าจะสามารถต่อต้านทัพเป่ยหยางที่มีอาวุธที่ทันสมัยกว่าได้ หลังจากได้เข้าเจรจาทั้งฝ่ายปฏิวัติและฝ่ายต้าชิงแล้ว ยฺเหวียนได้บีบให้หลงหยู่ไทเฮาประกาศให้ฮ่องเต้ปูยีสละราชสมบัติ ซุน ยัตเซนจึงลาออกจากประธานาธิบดีชั่วคราว และยกตำแหน่งนี้ให้ยฺเหวียนดำรงตำแหน่ง ภายหลังยฺเหวียนสถาปนาตนเองเป็น "จักรพรรดิหงเซียน" ปกครองจักรวรรดิจีนแต่ไม่ได้รับการยอมรับ จึงล้มเลิกจักรวรรดิและกลับมาปกครองแบบสาธารณรัฐเช่นเดิม หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน ซ.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและยฺเหวียน ชื่อไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐเซอร์เบีย

ราชรัฐเซอร์เบีย (Кнежевина Србија / ''Kneževina Srbija''.) เป็นราชรัฐเอกราชในคายสมุทรบอลข่าน ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการปฏิวัติเซอร์เบีย ช่วงระหว่างการลุกฮือของชาวเซิร..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชรัฐเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์กอญัร

ราชวงศ์กอญัร เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชวงศ์กอญัร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชวงศ์ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โซกู

ราชวงศ์โซกู เป็นพระราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ที่ก่อตั้งโดยโซกู ปาชา ข้าราชการระดับสูงของออตโตมันที่อพยพเข้ามาปกครองเขตแคว้นมัท เขตดินแดนประเทศแอลเบเนียในปัจจุบันในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยทำหน้าที่ปกครองแคว้นมัทในฐานะเมืองขึ้นของจักรวรรดิออตโตมัน การสืบทอดตำแหน่งผู้ปกครองแคว้นมัท จึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของตระกูลโซกูตลอดมา และมีพระราชวังประจำตระกูลคือ พระราชวังบูร์กาเยท (Castle Burgajet) บุคคลจากราชวงศ์โซกูที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย ที่เป็นพระมหากษัตริย์จากราชวงศ์โซกูพระองค์แรกที่ขึ้นมาปกครองราชอาณาจักรแอลเบเนีย ก่อนที่สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลีที่จะเข้ามาบุกรุกประเทศแอลเบเนียในปี ค.ศ. 1939 และขึ้นมาปกครองแอลเบเนียแทน แม้ว่าปัจจุบันในประเทศแอลเบเนียเองได้ยกเลิกระบอบกษัตริย์ลงแล้ว และปกครองในระบอบสาธารณรัฐแล้ว แต่ก็ยังมีการสืบทอดอำนาจภายในราชวงศ์โซกูต่อไป โดยอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศแอลเบเนียจนถึงปัจจุบัน โดยผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์ปัจจุบันคือ เจ้าชายเลก้า มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย โดยพระองค์ก็เรียกตัวเองว่าพระองค์เป็นกษัตริย์และอ้างว่าพร้อมที่จะปกครองประเทศแอลเบเนียอยู่เสมอ.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชวงศ์โซกู · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1832 ในการประชุมกรุงลอนดอน โดยกลุ่มประเทศมหาอำนาจซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซีย จนได้รับการรับรองจากนานาประเทศในโลกอันเป็นผลมาจากสนธิสัญญาคอนสแตนติโนเปิล ทำให้ราชอาณาจักรกรีซมีเอกราชเป็นของตนเองอย่างสมบูรณ์และมั่นคง ซึ่งไม่ต้องอยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิออตโตมันอีกต่อไป โดยเอกราชของกรีซนี้เป็นผลสำเร็จมาจากการเรียกร้องเอกราชโดยรัฐบาลพลัดถิ่นแห่งกรีซ และมาจากสงครามเรียกร้องเอกราชของกรีซ (โดยมีสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซียคอยให้การช่วยเหลือและสนับสนุน) ซึ่งในการปกครองของราชอาณาจักรนั่นมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขของประเทศมาตั้งแต่สถาปนาเอกราช จนในปี ค.ศ. 1924 พระราชวงศ์และสถาบันพระมหากษัตริย์ก็ถูกล้มล้าง จนได้สถาปนา สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2 ขึ้นมา แต่ในภายหลังก็ได้มีการฟื้นฟูพระราชวงศ์ขึ้นมาและได้สถาปนาสถาบันพระมหากษัตริย์กลับมาเป็นพระประมุขของประเทศดังเดิมอีกครั้ง จนในท้ายที่สุดในปี ค.ศ. 1974 พระราชวงศ์ก็ถูกล้มล้างอีกครั้งอันเป็นผลมาจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร ภายใต้การนำโดยพรรคการเมืองทหารของกรีซ และได้ก่อตั้งสาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3 มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1918 จนถึง ค.ศ. 1945 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียก่อตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นและราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ ราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ขณะที่บริเวณคอซอวอ วอยวอดีนา และมาซิโดเนียเป็นส่วนหนึ่งของเซอร์เบียก่อนหน้าการรวมตัว 11 ปีแรกราชอาณาจักรเรียกตนเองอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน (Kraljevina Srba, Hrvata i Slovenaca, อักษรซีริลลิก: Краљевина Срба, Хрвата и Словенаца; Kraljevina Srbov, Hrvatov in Slovencev) แต่คำว่า "ยูโกสลาเวีย" เป็นชื่อเรียกกันอย่างง่าย ๆ มาตั้งแต่ต้น เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิเบีย

ราชอาณาจักรลิเบีย (المملكة الليبية) เดิมมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหราชอาณาจักรลิเบีย เป็นรัฐลิเบียสมัยใหม่ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951 และ สิ้นสุดลงด้วยการรัฐประหารล้มล้างระบอบราชาธิปไตยและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1969.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮาวาย

ราชอาณาจักรฮาวาย (Kingdom of Hawaii) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนหมู่เกาะฮาวาย ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโปรตุเกส

ราชอาณาจักรโปรตุเกส (Kingdom of Portugal; Reino de Portugal) เป็นอาณาจักรภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส ราชอาณาจักรตั้งอยู่ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรียของยุโรป และรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 1139 จนถึงปี ค.ศ. 1910 ที่มาแทนที่ด้วยสาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง หลังจากการสังหารกษัตริย์ในลิสบอน (Lisbon Regicide) ในปี ค.ศ. 1908 และในที่สุดการปฏิวัติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (Краљевина Србија; Kingdom of Serbia) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1882 ราชรัฐเซอร์เบียปกครองโดยราชวงศ์คาราจอร์เจวิช (Karadjordjevic dynasty) มาตั้งแต..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal, नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชอาณาจักรเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กรีซ

รายพระนามกษัตริย์กรีซ เป็นรายชื่อของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงปกครองราชอาณาจักรกรีซ ราชวงศ์วิทเทลส์บัคปกครองราชบัลลังก์กรีซระหว่าง ค.ศ. 1832 จนถึง ค.ศ. 1862 เมื่อผ่านไปยังราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์กรีซ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์มาเลเซีย

ังดีเปอร์ตวนอากง (Yang di-Pertuan Agong, يڠ د-ڤرتوان اڬوڠ; ยังดีเปร์ตูวันอากง) ในภาษามลายู หมายถึง ผู้ปกครองสูงสุด เป็นตำแหน่งอย่างเป็นทางการของประมุขแห่งรัฐของมาเลเซีย เปรียบเทียบได้กับพระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมาจากเจ้าผู้ครองรัฐทั้ง 9 รัฐในมาเลเซียตะวันตก จากทั้งหมด 13 รัฐของมาเลเซีย ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี และหมุนเวียนกันไปตามลำดับ พระอัครมเหสีในยังดีเปอร์ตวนอากง มีตำแหน่งเรียกว่า รายา ประไหมสุหรี อากง (Raja Permaisuri Agong, راج ڤرماءيسوري اڬوڠ; ราจาเปร์ไมซูรีอากง).

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์มาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อิตาลี

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอิตาลี ตั้งแต่การรวมชาติอิตาลีในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์อิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา

ราชวงศ์ตูโปอูซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูปกครองประเทศตองงาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา โดยใช้ระบบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาบริหารประเทศ และนายกรัฐมนตรีแต่ละสมัยของตองงามักเป็นเชื้อพระวงศ์หรือไม่ก็เป็นเหล่าขุนนางซึ่งมาจากการเลือกของขุนนางทั้งหมด 33 คน แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของตองงาคือ ดร.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์

ทความนี้รวบรวม รายพระนามพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์ (ดัตช์: Koningen der Nederlanden) ประกอบไปด้วยรายพระนามสตัดเฮาเดอร์แห่งราชวงศ์ออเรนจ์-นัสเซาตั้งแต..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย

ักรพรรดิแห่งรัสเซีย หรือที่มักเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าพระเจ้าซาร์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองอาณาจักรซาร์รัสเซีย และจักรวรรดิรัสเซีย โดยนับตั้งแต่ ค.ศ. 1721 จะทรงใช้พระยศว่า "จักรพรรดิ" จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายคือ จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 โดยนับตั้งแต่การยกฐานะเป็นจักรวรรดิมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นแกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1809 - ค.ศ. 1917, พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1916.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง

* พระนามเดิม จักรพรรดิราชวงศ์ทรงอยู่ในราชสกุล อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; พินอิน: àixīn juéluó) แต่ตามปฏิบัติของชาวแมนจู การเรียกชื่อไม่จำเป็นต้องรวมนามสกุล.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ลาบราบ็องซอน

ลาบราบ็องซอน (La Brabançonne) หรือ เพลงแห่งบราบ็อง คือเพลงชาติของประเทศเบลเยียม ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1830 คำร้องโดยหลุยส์-อาแล็กซ็องดร์ เดอเช (Louis-Alexandre Dechet) ในนามแฝง "แฌนวาล" ("Jenneval") ทำนองโดย ฟร็องซัว ฟาน กอมเปนฮูต (François Van Campenhout) เพลงนี้ได้มีการรับรองเป็นเพลงชาติเบลเยียมอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1860 โดยมีคำร้องเป็นภาษาราชการของเบลเยียมทั้ง 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาดัตช์ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและลาบราบ็องซอน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย

ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย (หรือในอีกชื่อ "ยา บิลาดี" หมายถึง "ประเทศของข้า") เป็นบทเพลงซึ่งประพันธ์ทำนองโดย โมฮัมเหม็ด อับเดล วาฮับ (Mohammed Abdel Wahab) บทร้องโดย อัล บะชีร์ อัล อะเรบี (Al Bashir Al Arebi) เดิมใช้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรลิเบียนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากอิตาลีเมื่อ ค.ศ. 1951 จนถึง ค.ศ. 1969 เนื่องจากรัฐบาลของพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย ได้ถูกรัฐประหารโดยคณะทหารภายใต้การนำของ พันเอก มูอัมมาร์ กัดดาฟี กัดดาฟีได้นำเอาเพลงมาร์ชของอียิปต์ชื่อ "อัลลอหุ อักบัร" มาใช้เป็นเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียซึ่งสถาปนาขึ้นแทนที่รัฐบาลเดิม ตราบจนกระทั่งลิเบียได้เกิดการลุกฮือต่อต้านรัฐบาลกัดดาฟีและบานปลายไปสู่สงครามกลางเมือง ตั้งแต่ช่วงต้นปี ค.ศ. 2011 เพลง "ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย" ก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นเพลงสัญลักษณ์ของฝ่ายต่อต้านรัฐบาลกัดดาฟี ภายใต้การนำของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติมาโดยตลอด เมื่อฝ่ายสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสามารถโค่นล้มรัฐบาลกัดดาฟีได้สำเร็จในช่วงเดือนสิงหาคมของปีเดียวกัน เพลงนี้จึงได้กลับมีสถานะเป็นเพลงชาติของลิเบียอย่างเป็นทางการอีกครั้ง.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮลมึส

วิลเฮลมึส ฟัน นัสเซาเวอ (Wilhelmus van Nassouwe, วิลเลียมแห่งนัสซอ) หรือ แฮ็ตวิลเฮลมึส (Het Wilhelmus) เป็นเพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมีของเนเธอร์แลนด์ และยังเป็นเพลงชาติที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในโลกด้วย ซึ่งแม้ว่าจะไม่เคยถูกรับรองให้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการจนกระทั่งปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและวิลเฮลมึส · ดูเพิ่มเติม »

ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี

รีมาน คัมภีระ เนปาลี (श्रीमान् गम्भीर नेपाली) หรือถูกอ้างถึงในชื่อสามัญว่า "ราษฺฏฺริย คาน" (राष्ट्रिय गान, แปลว่า "เพลงชาติ") เป็นชื่อของเพลงชาติเนปาลในสมัยราชอาณาจักรจนถึงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และถูกแทนที่ด้วยเพลง "สเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี" ซึ่งได้รับการรับรองจากสภาผู้แทนราษฎรของเนปาลเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เพลง "ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี" นี้ ได้เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2505 เพื่อเป็นเพลงเกียรติยศสำหรับผู้ปกครองประเทศและเป็นเพลงชาติ ทำนองประพันธ์โดย Bakhat Bahadur Budhapirthi เมื่อ พ.ศ. 2442 บทร้องประพันธ์โดย Chakra Pani Chalise เมื่อ พ.ศ. 2467.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและศรีมาน คัมภีระ เนปาลี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ)

มเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี ชวน ณาต โชตญาโณ สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) (សម្ដេច​ព្រះ​មហា​សុមេធាធិបតី ជួន ណាត ជោតញ្ញាណោ; Chuon Nath; ค.ศ.1883–1969) อดีตสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคณะสงฆ์มหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดอุณาโลมในกรุงพนมเปญ เป็นพระสงฆ์นักปราชญ์ที่บทบาทในการนิพนธ์หนังสือ และองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนาจำนวนมาก อาทิ พจนานุกรมเขมร แต่งเพลงชาติกัมพูชา มีบทบาทด้านการจัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บาลี โดยเฉพาะตัวท่านเองมีความรู้หลายภาษา เช่น บาลี สันสกฤต อังกฤษ ฝรั่งเศส และไทย เป็นต้น เป็นพระผู้มีบทบาทในการก่อตั้งสถาบันพุทธศาสนาบัณฑิต (Institut Bouddhique) ซึ่งก่อตั้งโดยฝรั่งเศสและมีเป้าหมายเพื่อการปกป้องอิทธิพลสยามที่มาพร้อมกับพุทธศาสนานิกายธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพู.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด

(قابوس بن سعيد آل سعيد) เป็นกษัตริย์ (สุลต่าน) ของรัฐสุลต่านโอมาน พระราชสมภพเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2513 ต่อจากสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญพระบารมี

ป็นบทเพลงซึ่งบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระบารมีแห่งพระมหากษัตริย์ไทย เคยใช้เป็นเพลงชาติของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2431 - 2475 นับเป็นเพลงชาติไทยฉบับที่ 3 ทำนองทางไทยโดยพระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) เมื่อ..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและสรรเสริญพระบารมี · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญธงมังกร

ลงสรรเสริญธงมังกร เป็นเพลงชาติฉบับแรกอย่างไม่เป็นทางการของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์ชิง มีสถานะเป็นเพลงประจำกองทัพและเพลงสรรเสริญพระบารมีได้เช่นกัน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและสรรเสริญธงมังกร · ดูเพิ่มเติม »

อัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตัน

ลงชาติเนอการาบรูไนดารุสซาลาม มีชื่อว่า อัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตัน (Allah Peliharakan Sultan; الله فليهاراكن سلطن, "ขอพระเจ้าทรงพิทักษ์องค์สุลต่าน") ประพันธ์เนื้อร้องเป็นภาษามลายูโดยเปองีรัน ฮัจญี มูฮัมมัด ยูซุฟ บิน อับดุล ราฮิม ทำนองโดยอาวัง ฮัจญี เบอซาร์ บิน ซากัป เมื่อปี พ.ศ. 2490 และประกาศใช้เป็นเพลงชาติเมื่อ พ.ศ. 2494.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและอัลละฮ์เปอลีฮารากันซุลตัน · ดูเพิ่มเติม »

อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี

ลงชาติจอร์แดน มีชื่อว่า "อัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี" (السلام الملكي الأردني, ถอดเสียงด้วยอักษรโรมัน: Al-salam Al-malaki Al-urdoni) แปลว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีจอร์แดน นอกจากจะใช้เป็นเพลงชาติแล้ว ยังใช้เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดนด้วย เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและอัลซะลามอัลมะละกีอัลอูร์โดนี · ดูเพิ่มเติม »

อัสซะลามอัลมะละกี

อัสซะลามอัลมะละกี (عاش المليك, แปลเทียบเป็นภาษาไทยได้ว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี") เป็นเพลงชาติ (النشيد الوطني) ประจำราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย เนื้อหาเป็นการสรรเสริญพระเจ้า (อัลลอหฺ) และถวายพระพรกษัตริย์แห่งซาอุดิอาระเบีย เนื้อร้องประพันธ์โดย อิบราฮิม คาฟาจี (Ibrahim Khafaji - เกิด พ.ศ. 2478) ทำนองโดย อับดุล เราะห์มัน อัล-คาตีป (Abdul Rahman Al-Khateeb - เกิด พ.ศ. 2465) เริ่มใช้ในฐานะเพลงชาติเมื่อปี พ.ศ. 2493.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและอัสซะลามอัลมะละกี · ดูเพิ่มเติม »

อิสละมียามิศร์

อิสละมียามิศร์ (اسلمي يا مصر, "จงปลอดภัยเถิด อียิปต์") เป็นเพลงชาติของอียิปต์ตั้งแต่ ค.ศ. 1923 ถึง ค.ศ. 1936 ประพันธ์บทร้องโดยนักกวีชาวอียิปต์ที่มีชื่อว่ามุศเฏาะฟา ศอดิก อัรรอฟิอี เรียบเรียงทำนองโดยเศาะฟัร อะลี ปัจจุบันใช้เป็นเพลงประจำโรงเรียนนายร้อยตำรวจอียิปต.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและอิสละมียามิศร์ · ดูเพิ่มเติม »

อูอีนูดาการ์ตา

อูอีนูดาการ์ตา (O Hino da Carta) หรือสะกดแบบเก่าว่า อิงนูดาการ์ตา (Hymno da Carta) หรือเพลงสรรเสริญรัฐธรรมนูญ เป็นเพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมีของราชอาณาจักรโปรตุเกส ประกาศใช้อย่างเป็นทางการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2377 เรียบเรียงทำนองโดยพระเจ้าปีเตอร์ที่ 4 แห่งโปรตุเกส (จักรวรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งบราซิล) คำว่า "การ์ตา" ในที่นี้หมายถึงรัฐธรรมนูญที่กษัตริย์ปีเตอร์ที่ 4 ลงพระนามประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและอูอีนูดาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

อีมนอสเอสตีนเอเลฟเทริอัน

อีมนอสเอสตีนเอเลฟเทริอัน (สะกดอย่างโบราณ: Ὕμνος εἰς τὴν Ἐλευθερίαν, Ýmnos eis tīn Eleutherían; สะกดอย่างสมัยใหม่: Ύμνος εις την Ελευθερίαν, Imnos is tin Eleftherian) หรือ "เพลงสดุดีแด่เสรีภาพ" เป็นบทกวีประเภท "Hymn" (บทเพลงสรรเสริญหรือบทเพลงสดุดี) ความยาว 158 บท ซึ่งประพันธ์โดย ไดโอนิซิโอส โซโลมอส (Dionýsios Solomós) เมื่อ ค.ศ. 1823 นับเป็นบทกวีประเภท "Hymn" ที่มีความยาวมากที่สุดในโลก ทำนองประพันธ์โดย นิโคเลาส์ มันซารอส (Nikolaos Mantzaros) บทเพลงนี้ได้มีการรับรองเป็นเพลงชาติกรีซอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1865 แต่ต่อมาได้มีการนำไปใช้เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐไซปรัสด้วยอีกเพลงหนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐไซปรัสระบุว่า เพลงชาติกรีซจะใช้บรรเลงเป็นเกียรติยศแก่ประธานาธิบดีชาวไซปรัสเชื้อสายกรีกหรือบุคคลอื่นซึ่งเป็นชาวไซปรัสเชื้อสายกรีก และใช้เพลงชาติตุรกีสำหรับรองประธานาธิบดีชาวไซปรัสเชื้อสายตุรกี อย่างไรก็ตาม ไซปรัสได้ยุติการใช้เพลงชาติตุรกีหลังจากชาวไซปรัสเชื้อสายตุรกีได้แบ่งแยกประเทศเป็นประเทศใหม่เมื่อ ค.ศ. 1963 อนึ่ง เพลง "อีมนอสเอสตีนเอเลฟเทริอัน" ยังมีสถานะเป็นเพลงเกียรติยศสำหรับพระมหากษัตริย์ (เพลงสรรเสริญพระบารมี) ของกษัตริย์แห่งกรีซนับตั้งแต่ ค.ศ. 1864 เป็นต้นม.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและอีมนอสเอสตีนเอเลฟเทริอัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮีมนี อี ฟลามูริท

ีมนี อี ฟลามูริท (แอลเบเนีย: Hymni i Flamurit, แปลว่า "เพลงสรรเสริญธง") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐแอลเบเนีย ประพันธ์เนื้อร้องโดย อเล็กซานเดอร์ สตาฟเร เดรโนวา(Aleksander Stavre Drenova)นักประพันธ์ชาวแอลเบเนีย โดยตีพิมพ์ครั้งแรกในลักษณะบทกวีในหนังสือพิมพ์ Liri E snqipërisë ("เสรีภาพแห่งแอลเบเนีย") ที่กรุงโซเฟีย ประเทศบัลแกเรีย ในปี พ.ศ. 2455 ต่อมาได้พิมพ์รวมเล่มในหนังสือรวมผลงานการประพันธ์ของเดรโนวาชื่อ Ëndra e lotë ("ความฝันและน้ำตา") ซึ่งได้ตีพิมพ์ที่กรุงบูคาเรสต์ ประเทศแอลเบเนีย ส่วนทำนองเพลงชาติเป็นผลงานของนักประพันธ์ดนตรีชื่อ ชีเพรียน โปรุมเบสชู (Ciprian Porumbescu) ซึ่งเดิมทำนองเพลงนี้แต่งไว้สำหรับเพลง Pe-al hostrusteang e scris Unire (หรือ E scrispe tricolour unire).

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและฮีมนี อี ฟลามูริท · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิออสเตรีย

งประจำพระยศจักรพรรดิแห่งออสเตรีย ใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2358 จักรพรรดิแห่งออสเตรีย คือพระราชอิสริยยศที่ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2347 โดยจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 ซึ่งพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติเป็น จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และทรงปกครองจักรวรรดิออสเตรียก่อนที่จะเปลี่ยนจักวรรดิและระบอบการปกครองใหม่ พระราชอิสริยยศนี้ใช้จนกระทั่ง พ.ศ. 2461 เมื่อมีการล้มล้างจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี การเผชิญหน้ากับนโปเลียน โบนาปาร์ต ที่เข้ามาก้าวก่ายบรรดาพระราชวงศ์ในยุโรป ทำให้จักรพรรดิฟรันซ์ทรงกังวลและห่วงถึงอนาคตของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และพระราชวงศ์อิมพีเรียล จักรวรรดิอาจถูกล้มล้างและเปลี่ยนระบอบการปกครองใหม่ โดยเมื่อปี พ.ศ. 2349 ออสเตรียได้ส่งกองทัพไปทำสงครามกับฝรั่งเศสในสมรภูมิออสเตอร์ลิตส์ เนื่องจากออสเตรียไม่พอใจที่นโปเลียนเข้ามาก้าวก่ายระบอบการปกครองและพระราชสำนัก ผลของสงครามคือฝรั่งเศสนำโดยนโปเลียนเป็นฝ่ายชนะ นโปเลียนเห็นว่าเป็นโอกาสเหมาะสมของตนจึงเปลี่ยนระบอบการปกครองและตำแหน่งองค์พระประมุขของบรรดาราชวงศ์ในยุโรป รวมทั้งพระราชวงศ์โรมันอันศักดิ์สิทธิ์ของจักรพรรดิฟรานซิสด้วย โดยนโปเลียนได้แยกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ออกจากกลุ่มสมาชิกสมาพันธรัฐแห่งไรน์ แล้วทำการยุบพระอิสริยยศจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ออก เหลือเพียงจักรพรรดิแห่งออสเตรียและกษัตริย์แห่งฮังการี พระอิสริยยศนี้ได้ถูกใช้สำหรับองค์พระประมุขออสเตรีย-ฮังการีจนถึงปี พ.ศ. 2461 จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ตลอดเวลาที่ผ่านมาไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัดว่าชื่ออย่างเป็นทางการของออสเตรียคือ จักรวรรดิแห่งออสเตรีย (Empire of Austria, Kaisertum Österreich).

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและจักรพรรดิออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคจง

ักรพรรดิโคจง (เกาหลี:광무제, 光武帝) หรือ สมเด็จพระเจ้าโกจง (고종 광무제, ฮันจา:高宗光武帝, Gojong of Korea) (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2395–21 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโชซอน ลำดับที่ 26 และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเกาหลีพระองค์แรก.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและจักรพรรดิโคจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย

ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและจักรวรรดิออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)

ักรวรรดิจีน (Empire of China) เป็นการปกครองซึ่งดำรงอยู่ในช่วงสั้น ๆ ในประเทศจีนตั้งแต่ปล..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) · ดูเพิ่มเติม »

จงกั๋วสฺยงลี่อวี่โจ้วเจียน

งกั๋วสฺยงลี่อวี่โจ้วเจียน ("เมืองจีนยืนแกร่งกลางพิภพ") เป็นเพลงชาติประเทศจีน และ รัฐบาลสาธารณรัฐจีน (ระหว่าง ค.ศ. 1915–1921) กรมพิธีการ (禮制館) ได้ประกาศเพลงชาติประเทศจีนอย่างเป็นทางการในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและจงกั๋วสฺยงลี่อวี่โจ้วเจียน · ดูเพิ่มเติม »

คองซานเก็น

องซานเก็น (Kungssången) เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของสวีเดน.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและคองซานเก็น · ดูเพิ่มเติม »

คองเงอซังเงิน

องเงอซังเงิน (Kongesangen, "เพลงของพระเจ้าแผ่นดิน") เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของนอร์เวย์ ประพันธ์โดยเฮนริก เวร์เกอลันด์ ส่วนเนื้อร้องที่ใช้อยู่ในปัจจุบันประพันธ์โดยกุสตัฟ เยนเซิน สำหรับใช้ในพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 เมื่อ..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและคองเงอซังเงิน · ดูเพิ่มเติม »

คิมิงะโยะ

มิงะโยะ เป็นเพลงชาติของประเทศญี่ปุ่น และนับได้ว่าเป็นเพลงชาติที่สั้นที่สุดในโลก โดยมีความยาวเพียง 11 ห้องเพลง มีตัวโน้ตเพียง 40 ตัว เนื้อเพลงนั้นมาจากบทกลอนประเภทวะกะในยุคเฮอังของญี่ปุ่น (ระหว่าง ค.ศ. 794-1185) ส่วนทำนองเพลงนั้น ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่ในยุคเมจิ โดยทำนองแรกสุดนั้นประพันธ์โดยนักดนตรีชาวไอริชเมื่อ ค.ศ. 1869 ภายหลังราชสำนักญี่ปุ่นจึงเลือกใช้ทำนองเพลงใหม่ ซึ่งเรียบเรียงโดยนักดนตรีชาวญี่ปุ่น เป็นทำนองของเพลงคิมิงะโยะในปัจจุบัน เมื่อ ค.ศ. 1880 แม้ว่าเพลงคิมิงะโยะจะเป็นเพลงชาติของญี่ปุ่นโดยพฤตินัยมานานแล้วก็ตาม แต่การรับรองฐานะทางกฎหมายเพิ่งจะมีขึ้นในปี ค.ศ. 1999 จากการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยธงชาติและเพลงชาติของญี่ปุ่นในปีนั้น ซึ่งหลังจากการผ่านกฎหมายดังกล่าว ก็ได้มีข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการขับร้องและบรรเลงเพลงชาติในโรเรียนต่าง ๆ ของญี่ปุ่นขึ้น ด้วยเหตุผลเดียวกับธงฮิโนะมารูอันเป็นธงชาติของญี่ปุ่น กล่าวคือ เพลงคิมิงะโยะอ้างถึงในฐานะสัญลักษณ์ของลัทธิจักรวรรดินิยมและลัทธิทหารของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและคิมิงะโยะ · ดูเพิ่มเติม »

ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน

ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน (سرود شاهنشاهی ایران) เป็นชื่อของเพลงชาติของประเทศอิหร่าน (เปอร์เซีย) ในสมัยของราชวงศ์ปาห์ลาวี เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1933 และยกเลิกไปเมื่อเกิดการปฏิวัติอิสลามอิหร่าน เมื่อ ค.ศ. 1979 ทำนองโดยโมฮัมหมัด ฮาสซิม อัสฟาร์ (Mohamad Haschim Afsar) บทร้องโดย ร้อยโทดาวูด นาจมิ โมฮัดดัม (Lieut. Davood Najmi Moghaddam) เนื้อหาของเพลงโดยรวมเป็นสรรเสริญถึงความกล้าหาญของจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน · ดูเพิ่มเติม »

ซาลามะตีเย ชาห์

ซาลามะตีเย ชาห์ (سلامتی شاه, Salamati-ye Shah) มีความหมายว่า "ขอให้พระเจ้าชาห์จงเจริญ" เป็นชื่อของเพลงซึ่งถือกันว่าเป็นเพลงชาติเพลงแรกสุดของประเทศอิหร่าน (ขณะนั้นยังเรียกว่าประเทศเปอร์เซีย) เพลงนี้เริ่มมีขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชาห์โมซซัฟฟาร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร แห่งราชวงศ์กอญัร (ครองราชย์ ค.ศ. 1896 - 1907) และใช้มาจนกระทั่งถึง ค.ศ. 1933 เมื่อราชวงศ์ปาห์ลาวีแทนที่เพลงชาติเดิมด้วยเพลง "ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน" ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย อัลเฟรด ฌอง บับตีสต์ เลอแมร์ (Alfred Jean Baptiste Lemaire) นักดนตรีโยธวาทิตชาวฝรั่งเศส ส่วนบทร้องของเดิมนั้นไม่ปรากฏแน่ชัดว่ามีอยู่หรือไม่ แต่บทร้องที่พบในปัจจุบันนี้เป็นบทร้องที่แต่งขึ้นใหม่ในลักษณะของเพลงปลุกใจโดย บิจาน ตารากี (Bijan Taraqi) โดยได้รับการร้องขอจากเปมาน โซลตานี (Peyman Soltani) หัวหน้าวงดนตรีเมลาลออร์เคสตราแห่งอิหร่าน (Melal Orchestra) ส่วนดนตรีนั้นได้เรียบเรียงใหม่โดยเซียวาช เบอิไซ (Siavash Beizai) เพลง "ซาลามะตีเย ชาห์" ในโฉมใหม่นี้เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "วะตะนัม" (وطنم, Vatanam) ซึ่งแปลว่า "แผ่นดินแม่" วงเมลาลออร์เคสตราได้ทำการบรรเลงเพลง "วะตะนัม" เป็นครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 และได้รับความนิยมอย่างสูงจากชาวอิหร่าน จนกระทั่งมีการนำไปใช้อย่างผิดๆ อย่างแพร่หลายในวิทยุและโทรทัศน์ของทางการอิหร่าน โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เรียบเรียงเพลงเวอร์ชันปัจจุบัน สำหรับบทร้องที่แต่งขึ้นใหม่มีดังนี้.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและซาลามะตีเย ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นการากู

ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์. เนอการากู (โรมัน: Negaraku, ยาวี: نڬاراكو, แปลว่า "แผ่นดินของข้า") เป็นเพลงชาติของสหพันธรัฐมาเลเซีย เพลงนี้ได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติมาเลเชียเมื่อสหพันธรัฐมาลายาได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2500 ทำนองเพลงนี้เดิมใช้เป็นเพลงสรรเสริญประจำรัฐเประก์ ซึ่งเพลงนี้ได้หยิบยืมทำนองมาจากเพลงฝรั่งเศสที่มีชื่อว่า "ลา โรซาลี" (La Rosalie) อีกชั้นหนึ่ง ผู้ประพันธ์ทำนองเพลงนี้คือ ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์ (Pierre-Jean de Béranger) ชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและนการากู · ดูเพิ่มเติม »

นครราช

นครราช (នគររាជ นครราช) เป็นชื่อของเพลงชาติกัมพูชาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ มีความหมายว่า "เมืองของพระเจ้าแผ่นดิน" ทำนองของเพลงประพันธ์ขึ้นโดยอาศัยทำนองของเพลงเขมรโบราณที่มีชื่อเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2481 โดยพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสุรามฤต (เมื่อครั้งยังเป็นกรมขุนวิสุทธิ์ขัตติยวงศ์นโรดมสุรามฤต) ร่วมกันกับครูเพลงชาวฝรั่งเศส 2 คน คือ F. Perruchot และ J. Jekyll ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้น ภายหลังการราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุเสร็จสิ้นไปได้ไม่เกิน 3 เดือน (ราชาภิเษกเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) และสำเร็จเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) สมเด็จพระสังฆราชในคณะสงฆ์มหานิกาย แต่ครั้งยังเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เพลงนครราชเริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2484 ในฐานะเพลงสรรเสริญพระบารมี (Royal anthem) และเริ่มใช้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อประเทศกัมพูชาประกาศเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2496 ต่อมาใน พ.ศ. 2512 เมื่อนายพลลน นลล้มรัฐบาลของสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ และสถาปนาสาธารณรัฐเขมรขึ้นแทนที่ เพลงนครราชจึงถูกยกเลิกฐานะของเพลงชาติไป ต่อมาเมื่อรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรล่มสลายในปี..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและนครราช · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

โบเช ซาร์ยาครานี

ซาร์ยาครานี (Боже, Царя храни!, Bozhe, Tsarya khrani!) หรือ ก็อดเซฟเดอะซาร์ เพลงชาติในสมัยจักรวรรดิรัสเซีย โดยเนื้อร้องดัดแปลงมาจากเพลงชาติก่อนหน้า โมลิทวารุสคิคฮ์ แต่ใช้ทำนองใหม่ ประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2376 และเลิกใช้ในปี พ.ศ. 2460 เนื่องจากเกิดการปฏิวัติรัสเซียขึ้น.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและโบเช ซาร์ยาครานี · ดูเพิ่มเติม »

โกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงา

กเอฟาซีโอเอตูอิโอเอโอตูตองงา (Ko e fasi 'o e tu'i 'o e 'Otu Tonga) หมายถึงเพลงของกษัตริย์แห่งหมู่เกาะตองงา เป็นเพลงชาติของประเทศตองงา เมื่อก่อนนี้เป็นเพลงสำหรับกษัตริย์ (royal anthem - เพลงสรรเสริญพระบารมี) แต่ในปัจจุบันนี้ใช้เป็นเพลงชาติด้วย เนื้อร้องโดย เจ้าชายอูเอลลิงกาโตนิ งู ตูปูมาโลหิ ทำนองโดย คาร์ล กุสตาวัส ชมิต ในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและโกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงา · ดูเพิ่มเติม »

โมลิทวารุสคิคฮ์

มลิทวารุสคิคฮ์ (Молитва русских, Molitva russkikh) หรือ สรรเสริญรัสเซีย เป็นเพลงชาติของจักรวรรดิรัสเซีย โดยใช้ทำนองของเพลงชาติอังกฤษ ก็อดเซฟเดอะคิง โดยประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2359 ถึง พ.ศ. 2376 แล้วเปลี่ยนมาใช้ ก็อดเซฟเดอะซาร.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและโมลิทวารุสคิคฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

โดยพฤตินัย

ตินัย (De facto) หมายความว่า "by fact" หรือตามความเป็นจริง ซึ่งตั้งใจที่จะหมายความว่า "ในทางปฏิบัติหรือตามความเป็นจริง ที่อาจจะมิได้เป็นไปตามกฎหมายที่วางไว้" “โดยพฤตินัย” มักจะใช้คู่กับ “โดยนิตินัย” (de jure) เมื่อกล่าวถึงกฎหมาย, การปกครอง หรือวิธี (เช่นมาตรฐาน) ที่พบในประสบการณ์ที่สร้างหรือวิวัฒนาการขึ้นนอกเหนือไปจากในกรอบของกฎหมาย เมื่อใช้ในกิจการที่เกี่ยวกับกฎหมาย “โดยนิตินัย” จะหมายถึงสิ่งที่กฎหมายกำหนด และ “โดยพฤตินัย” ก็จะหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง ซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกับวลี "for all intents and purposes" ("สรุปโดยทั่วไปแล้ว") หรือ "in fact" ("ตามความเป็นจริง") ในทางการปกครอง "de facto government" อาจจะหมายถึงรัฐบาลที่มีอำนาจปกครองที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นที่ยอมรับโดยนานาชาติว่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนั้นก็อาจจะเป็นคำที่ใช้สถานการณ์ที่ไม่มีกฎหรือมาตรฐานแต่มีการปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและโดยพฤตินัย · ดูเพิ่มเติม »

โดยนิตินัย

นิตินัย (De jure) หมายความว่า "เกี่ยวกับกฎหมาย" ซึ่งตรงกันข้ามกับคำว่า “โดยพฤตินัย” (de facto) ("ในทางปฏิบัติหรือตามความเป็นจริง ที่อาจจะมิได้เป็นไปตามกฎหมายที่วางไว้") “โดยนิตินัย” เป็นคำที่ใช้ในทางกฎหมาย หรือ การปกครอง คำว่า de jure และ de facto ใช้แทนคำว่า "in principle" (ในทางมาตรฐาน) และ "in practice" (ในทางปฏิบัติ) ตามลำดับ ในบริบทของกฎหมาย de jure แปลว่า "ตามกฎหมาย" แต่สังคมอาจจะเลือกปฏิบัติ “โดยพฤตินัย” โดยไม่มีกฎหมายกำหนด กระบวนการที่เรียกว่า "กฎหมายล้าสมัย" (desuetude) อาจจะทำให้สิ่งที่ปฏิบัติโดยพฤตินัยมาแทนที่กฎหมายล้าสมัยได้ หรือในทางตรงกันข้ามสังคมอาจจะเลือกปฏิบัติ “โดยพฤตินัย” ตามความนิยมแม้ว่าจะมีกฎหมาย de jure ห้ามไม่ให้ทำ.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและโดยนิตินัย · ดูเพิ่มเติม »

ไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์

ล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ เป็นชื่อของเพลงชาติจักรวรรดิเยอรมันอย่างไม่เป็นทางการ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2414 ถึง พ.ศ. 2461 รวมระยะเวลา 47 ปี เดิมเพลงนี้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรปรัสเซีย แต่ท่วงทำนองเพลงนั้นคล้ายคลึงกับเพลงก็อดเซฟเดอะควีน ซึ่งด้วยเหตุผลดังกล่าวทั้ง 2 ข้อนี่เอง ทำให้บทเพลงนี้เป็นที่ได้รับความนิยมในบางมณฑลของเยอรมนี แต่อย่างไรก็ตาม เพลงนี้กลับไม่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาตินิยมเยอรมัน และไม่ได้รับการยอมรับจากบรรดารัฐเยอรมันตอนใต้ เช่น รัฐบาวาเรีย รัฐเวือร์ทเทมแบร์ก เป็นต้น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดิเยอรมันได้ล่มสลายลง และมีการสถาปนาสาธารณรัฐไวมาร์ขึ้นมาแทนที่ จึงได้มีการยกเลิกเพลงชาติเดิม และให้ใช้เพลง "ดาสลีดแดร์ดอยท์เชน" เป็นเพลงชาติใหม่ของเยอรมนีแทน อนึ่ง เพลง "Die Wacht am Rhein" เป็นเพลงสรรเสริญ (hymn) อีกเพลงหนึ่งที่มีการใช้ในจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งควรนับว่าเป็นเพลงชาติเยอรมนีอีกเพลงหนึ่งในยุคนั้นด้ว.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติ

ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ประกอบเพลงชาติ มักมีการใช้ภาพประกอบเพลงที่แสดงถึงความฮึกเหิมและปลุกใจให้รักชาติ (ตัวอย่างในที่นี้ เป็นภาพยนตร์เพลงชาติสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2487) เพลงชาติ (National anthem) หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้น เพื่อปลุกเร้าให้หวนระลึกถึงหรือสรรเสริญประวัติศาสตร์ชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ หรือการต่อสู้ของชนในชาติ โดยได้รับการยอมรับจากรัฐบาลของชาตินั้น ๆ อย่างเป็นทางการ หรือความตกลงใจร่วมกันของประชาชนในชาติว่า เพลงดังกล่าวเป็นเพลงประจำชาติของตน ในหนังสือ "เพลงชาติ" โดย สุกรี เจริญสุข ได้กล่าวถึงความหมายของเพลงชาติไว้ 4 ประการ คือ.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย („Химна Краљевине Југославије”) กำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1918 ภายหลังจากการรรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น และ ราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ โดยราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ได้ใช้เนื้อร้องที่ผสมกันระหว่าง เนื้อเพลงที่ตัดตอนจากเพลง โบเช ปราฟเด (ภาษาเซอร์เบีย), ลิเยปา นาชา โดโมวีโน (ภาษาโครเอเชีย) และ Naprej zastava slave (ภาษาสโลวีเนีย) โดยใช้จนถึง ค.ศ. 1929.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติโอมาน

ลงชาติโอมาน มีชื่อว่า "นาชีด อัสซาลาม อัสซุลตานี" (نشيد وطني عماني) แปลว่า "เพลงสรรเสริญสุลต่าน" ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2513 แก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงชาติโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงของหลี่ฮงชาน

ลงของหลี่ฮงชาน เป็นเพลงชาติฉบับแรกอย่างไม่เป็นทางการของจักรวรรดิจีน บทร้องประพันธ์โดย หลี่ ฮงชาน เมื่อ ค.ศ. 1896 สมัยราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงของหลี่ฮงชาน · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ

รือจักรภพแห่งประชาชาติ (Commonwealth of Nations) ชื่อเดิมคือ เครือจักรภพบริเตน (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เครือจักรภพ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 52 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของจักรวรรดิบริเตน เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่างๆของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมีปฏิญญาลอนดอนใน..

ใหม่!!: เพลงสรรเสริญพระบารมีและเครือจักรภพแห่งประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Royal AnthemRoyal anthemเพลงสรรเสริญพระมหากษัตริย์เพลงสรรเสริญพระบารมี (ประเภท)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »