โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เผ่าเลวี

ดัชนี เผ่าเลวี

ผ่าเลวี (Levites) เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของวงศ์วานอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โทราห์ของศาสนายูดาห์ เลวีมาจากชื่อของบุตรชายคนที่ 3 ของยาโคบ (อิสราเอล) กับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรก เลวีเป็นเผ่าเดียวที่พระยาห์เวห์ทรงยกเว้นไม่ให้ได้รับมรดกจากแผ่นดินคานาอัน แต่ให้มีหน้าที่เป็นปุโรหิตและผู้ปฏิบัติงานในสถานนมัสการ.

28 ความสัมพันธ์: พระยาห์เวห์พลับพลาพันธสัญญาเดิมยาโคบวงศ์วานอิสราเอลศาสนายูดาห์สิเมโอนสุหนัตหนังสือกันดารวิถีหนังสืออพยพหนังสือปฐมกาลหนังสือโยชูวาอาโรนคัมภีร์ไบเบิลคานาอันนักบวชโมเสสโทราห์เผ่ากาดเผ่ามนัสเสห์เผ่ารูเบนเผ่าสิเมโอนเผ่าอาเชอร์เผ่าอิสสาคาร์เผ่าดานเผ่านัฟทาลีเผ่าเศบูลุนเผ่าเอฟราอิม

พระยาห์เวห์

หรียญเงินราวสี่ศตวรรษก่อนคริสตกาลที่พบในอิสราเอล เชื่อว่าบุคคลที่ประทับอยู่บนสุริยบัลลังก์มีปีกนั้นคือพระยาห์เวห์ พระยาห์เวห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 647-8 (Yahweh) พระเยโฮวาห์ (Jahovah) พระยะโฮวา (ศัพท์พยานพระยะโฮวา) (Yahova) ยฮวฮ (ศัพท์ศาสนายูดาห์) (יהוה; YHWH) เป็นพระนามของพระเป็นเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม (ทานัค) ในคัมภีร์ไบเบิลฉบับภาษาไทยเล่มเก่านั้นปรากฏพระนามนี้อยู่หลายครั้ง ในคัมภีร์ดั้งเดิมเขียนด้วยอักษร 4 ตัว แต่เนื่องจากอักษร 4 ตัว (ยฮวฮ|YHWH) นั้นผู้เขียนไม่ได้ใส่สระไว้ ทำให้การออกเสียงที่ถูกต้องถูกถ่ายทอดต่อกันมาโดยการพูด คัมภีร์ดั้งเดิมหรือต้นฉบับปรากฏพระนามนี้ประมาณ 7 พันครั้ง ในฉบับภาษาไทยเล่มเก่า ๆ ยังปรากฏพระนามนี้อยู่ การแปลในยุคต่อ ๆ มาได้เปลี่ยนพระนามมา 3 ครั้ง ปัจจุบันสะกดพระนามนี้ว่า ยาห์เวห์ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Yahweh การทับศัพท์ เยโฮวาห์ มีต้นกำเนิดมาจากการที่นักวิชาการชาวยุโรปถอดอักษรฮีบรู יהוה เป็นอักษรโรมัน 4 ตัวได้เป็น YHWH แล้วผสมสระจึงได้การออกเสียงเป็น "เยโฮวาห์" ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Jehovah การทับศัพท์นี้แพร่หลายไปในภาษาต่าง ๆ รวมทั้งพระคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยฉบับเก่า ๆ เช่น ฉบับ 1971 ยังปรากฏพระนาม "เยโฮวาห์" นี้อยู่ นอกจากนี้ยังมีการทับศัพท์ว่า "ยะโฮวา" ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Yahovah ในคัมภีร์ไบเบิล ฉบับ 1940 อีกด้วย แต่ในปัจจุบันนักวิชาการนิยมทับศัพท์ใหม่ว่า ยาห์เวห์ ตามหลักฐานที่ค้นพบและเป็นที่ยอมรับมากที่สุด ยฮวฮ คือพระนามของพระเป็นเจ้าสูงสุด ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1940 หรือ "เยโฮวาห์" ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971 หรือ "ยาห์เวห์" ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 2011 แต่เพื่อให้เกิดความเป็นสากลในทุกนิกาย ทั้งใน โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เมื่อออกพระนามพระเป็นเจ้าจะออกเสียงว่า "พระเจ้า" และ "ยฮวฮ" ในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) ทุกฉบับ ในภาษาฮีบรู ยาห์เวห์ แปลว่า เราเป็นผู้ซึ่งเราเป็น หรือแปลได้อีกว่า เราอยู่(ด้วย) ซึ่งก็คือ พระองค์ทรงฤทธิ์ที่จะเป็นอะไรก็ได้ตามพระประสงค์ของพระอง.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและพระยาห์เวห์ · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลา

ลับพลา (tabernacle) ได้ถูกกล่าวถึงในพระธรรมอพยพ พระเจ้าทรงบัญชาให้โมเสส สร้างสถานนมัสการพระเจ้าขึ้น เป็นเต็นท์ที่ประทับ และจัดทำองค์ประกอบต่าง ๆ ของสถานนมัสการนั้นขึ้น.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและพลับพลา · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและพันธสัญญาเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ยาโคบ

ป็นบุตรคนที่สองของอิสอัค กับนางเรเบคาห์ ยาโคบมีพี่ชายฝาแฝดชื่อ เอซาว แต่ทั้งสองแตกต่างกัน เอซาว ตัวแดงมีขนทั่วตัว เป็นนายพรานมือแม่น เป็นที่รักของอิสอัค ขณะที่ยาโคบ เป็นเด็กเงียบ ๆ อยู่กับบ้าน แต่เป็นที่รักของนางเรเบคาห์ ผู้เป็นแม.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและยาโคบ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์วานอิสราเอล

ัญลักษณ์ 12 ชนเผ่าของอิสราเอล ซึ่งสลักไว้บนกำแพงเมืองกรุงเยรูซาเลม วงศ์วานอิสราเอล (Israelites; בני ישראל Bnai Yisraʾel; ܒܢܝ ܐܝܣܪܐܝܠ; Δώδεκα φυλές του Ισραήλ; بنى اسرائيل) แปลว่าลูกหลานของอิสราเอล จึงหมายถึงประชาชนที่อาศัยในบริเวณดินแดนคานาอันในตะวันออกใกล้ สมัยโบราณราวศตวรรษที่ 15-16 ก่อนคริสตกาล ซึ่งเชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากยาโคบ ต่อมาเป็นชาวยิวซี่งอาศัยในแคว้นยูเดียและชาวสะมาเรียในแคว้นสะมาเรีย ในคัมภีร์อัลกุรอานเรียกว่า วงศ์วานอิสรออีล วงศ์วานอิสราเอล ที่หมายถึงชนเผ่าที่สืบเชื้อสายมาจากยาโคบ (มีฉายาว่าอิสราเอล) มีทั้งหมด 12 ชนเผ่า ซึ่งประชากรที่อยู่ในชนเผ่าดังต่อไปนี้ถือเป็นประชากรของอาณาจักรอิสราเอล.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและวงศ์วานอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ใหม่!!: เผ่าเลวีและศาสนายูดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สิเมโอน

มโอน (Simeon) หรือ สิเมโอนผู้รับเอาพระเจ้า (Simeon the God-receiver) เป็นชาวเยรูซาเลม ตามพระวรสารนักบุญลูกาแล้ว เขาได้พบกับมารีย์ โยเซฟ และพระกุมารเยซู ทั้งหมดเข้าในพระวิหารเพื่อทำสวดภาวนาครบรอบ 40 วันของพระกุมาร ตามธรรม‍บัญ‌ญัติของโมเสส ตามคัมภีร์ไบเบิล ก่อนหน้านั้นผู้เฒ่าสิเมโอนได้รับการบอกกล่าวจากพระวิญญาณบริสุทธิ์ ว่าเขาจะยังไม่ตายจนกว่าจะได้พบกับพระคริสต์ เมื่อสิเมโอนได้พบกับพระเยซูและอุ้มเอาพระเยซูไว้แล้ว เขาจึงได้สรรเสริญพระเจ้าว่า ข้าแต่องค์เจ้านาย บัดนี้ขอทรงให้ทาสของพระองค์ไปเป็นสุข ตามพระดำรัสของพระองค์ และยังได้พยากรณ์เป็นนัยถึงการที่ทารกผู้นี้จะถูกตรึงกางเขน.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและสิเมโอน · ดูเพิ่มเติม »

สุหนัต

ีตาน (ختان; Khitan) คนไทยมักเรียกว่า สุหนัต (สุ-หนัด) หมายถึง พิธีการขริบหนังหุ้มปลายตามข้อกำหนดในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม คำว่า สุหนัต มาจากคำว่า "ซูนัต" ในภาษามลายู ซึ่งมาจากคำว่า "ซุนนะฮ์" ในภาษาอาหรับ ซึ่งหมายถึงแบบแผนการปฏิบัติของนบีมุฮัมมัด พิธีสุหนัตเกิดขึ้นครั้งแรกในศาสนายูดาห์ ซึ่งเริ่มทำพิธีนี้ครั้งแรกในสมัยของอับราฮัม การเรียกว่า "เข้าสุนัต" มาจากวลี "มาซุก ญาวี" หรือ "มะโซะยาวี" (แปลว่า เข้าญาวี) ในภาษามลายู หมายถึง เข้า (ศาสนาของ) คนญาวี (มลายูมุสลิม) ด้วยการขริบหนังที่ปลายอวัยวะเพศ การขริบหนังองคชาตเป็นประเพณีของชาวยิว ชาวมุสลิม และคริสต์ศาสนิกชนบางนิกาย เช่นเดียวกับเผ่าหลายเผ่าในแอฟริกา ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นนิยมขริบเนื่องจากเหตุผลทาง.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและสุหนัต · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือกันดารวิถี

หนังสือกันดารวิถี (Book of Numbers; במדבר; Αριθμοί) เป็นหนังสือเล่มที่ 4 ในเบญจบรรณ เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของวงศ์วานอิสราเอลที่ต่อเนื่องมาจากหนังสืออพยพ หนังสือกันดารวิถีแปลมาจากคัมภีร์ฮีบรู (במדבר ba-midbar) ซึ่งแปลว่า "ในถิ่นทุรกันดาร..." ซึ่งเป็นคำแรกของคัมภีร์ฉบับนี้ แต่ในภาษาอังกฤษ ใช้ชือว่า The Book of Numbers เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงการทำสำมะโนประชากรอิสราเอลถึงสองครั้ง ที่ภูเขาซีนาย และที่โมอับ ในขณะที่ภาษาไทยใช้ชื่อว่า "หนังสือกันดารวิถี" เนื่องจากหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงพงศาวดารของอิสราเอลช่วงที่ต้องใช้ชีวิตในถิ่นทุรกันดาร (ทะเลทราย) เป็นเวลา 40 ปี ก่อนจะได้เข้าสู่แผ่นดินคานาอัน เนื้อหาในหนังสือกันดารวิถีนี้ จะแบ่งส่วนสำคัญออกได้เป็น ส่วน.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและหนังสือกันดารวิถี · ดูเพิ่มเติม »

หนังสืออพยพ

หนังสืออพยพ (Exodus; ואלה שמות; Ἔξοδος) เป็นหนังสือเล่มที่สองในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นเล่มที่สองในหมวดเบญจบรรณ ซึ่งเชื่อกันว่าโมเสสเป็นผู้เขียนขึ้น คำว่า "อพยพ" แปลจากภาษาอังกฤษซึ่งแปลอีกทอดจากภาษากรีก โดยหมายถึง การแยกออกจากกัน แต่ในภาษาฮีบรู มาจากคำขึ้นต้นซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "ต่อไปนี้เป็นชื่อของ..." หนังสืออพยพประกอบด้วยเนื้อหาที่อาจสรุปย่อได้ดังนี้.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและหนังสืออพยพ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

ใหม่!!: เผ่าเลวีและหนังสือปฐมกาล · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือโยชูวา

หนังสือโยชูวา (Book of Joshua; ספר יהושע; Ιησούς του Ναυή) เป็นหนังสือเล่มที่ 6 ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นบันทึกถึงประวัติศาสตร์อิสราเอลในช่วงอายุของโยชูวา ซึ่งรับบทบาทเป็นผู้นำอิสราเอลต่อจากโมเสส กล่าวถึงการยึดครองแผ่นดินคานาอัน อันเป็นแผ่นดินพันธสัญญาที่พระเจ้าทรงประทานให้แก่อับราฮัม การแบ่งดินแดนคานาอัน ตามที่โมเสสได้บัญชาไว้ และสิ้นสุดเมื่อโยชูวาเสียชีวิต เชื่อกันว่า "โยชูวา" เป็นผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ด้วยตัวของท่านเอง ยกเว้นในบทสุดท้ายที่กล่าวถึงมรณกรรมของโยชูวา และเอเลอาซาร์ น่าจะถูกบันทึกโดยบุตรชายของเอเลอาซาร.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและหนังสือโยชูวา · ดูเพิ่มเติม »

อาโรน

อาโรน (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ ฮารูน (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Aaron; אַהֲרֹן Ahărōn; هارون Hārūn) เป็นพี่ชายของโมเสส และเป็นผู้เผยพระวจนะของพระยาห์เวห์ ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นปุโรหิตประจำเผ่าเลวี และเป็นมหาปุโรหิตองค์แรกของวงศ์วานอิสราเอล เมื่อโมเสสยังศึกษาอยู่ในราชสำนักอียิปต์จนกระทั่งลี้ภัยไปอยู่มีเดียน อาโรนกับมีเรียมพี่สาวยังอาศัยอยู่กับญาติที่ภาคตะวันออกของอียิปต์และเริ่มมีชื่อเสียงมากจากการใช้วาทศิลป์ เมื่อคราวที่โมเสสขอให้ฟาโรห์ปล่อยตัวชาวอิสราเอลจากการเป็นเชลย อาโรนก็ได้ทำหน้าที่เป็นนบี (โฆษก) ให้กับพี่ชายของตนเมื่อต้องพูดกับชาวอิสราเอลและเจรจากับฟาโรห์ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดนักว่าอาโรนมีชีวิตอยู่เมื่อใด แต่คาดว่าราว 1600 ถึง 1200 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและอาโรน · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและคัมภีร์ไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

คานาอัน

แผนที่ประเทศอิสราเอลปัจจุบัน ตามคัมภีร์ฮีบรู คานาอันคือบริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นสีแดง คานาอัน (ฟินิเชีย: 𐤊‏𐤍‏𐤏‏𐤍‏, Kana'n; כְּנָעַן‎ kna-an; كنعان Kanaʿān) คือ ดินแดนของชนเผ่าที่พูดภาษาเซมิติกราวปลายสหัสวรรตที่ 2 ก่อนคริสต์กาล ปัจจุบันครอบคลุมพื้นที่ลิแวนต์ใต้ในตะวันออกกลาง ตรงกับบริเวณที่ตั้งประเทศอิสราเอล เลบานอน ดินแดนปาเลสไตน์ และบางส่วนของประเทศซีเรียและประเทศอียิปต์ มีชายฝั่งทางทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คำว่า คานาอัน ปรากฏอยู่บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิ้ล หรือพันธสัญญาเดิม โดยบรรยายว่าเป็นดินแดนที่พระยาห์เวห์สัญญามอบให้แก่วงศ์วานอิสราเอล หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:อาณาจักรโบราณ.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและคานาอัน · ดูเพิ่มเติม »

นักบวช

นักบวช หรือ บรรพชิต เป็นผู้สละชีวิตฆราวาสเข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: เผ่าเลวีและนักบวช · ดูเพิ่มเติม »

โมเสส

มเสสกับแผ่นจารึก, พ.ศ. 2202 (1659), โดยแร็มบรันต์ โมเสสเมื่อลงมาหลังจากเข้าเฝ้าพระเจ้าที่ภูเขาซีนาย, พ.ศ. 2181 (1638), โดย ไรเบรา เดอ โจเซ รูปปั้นของโมเสส โดยมีเกลันเจโล โมเสส (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ มูซา (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Moses; מֹשֶׁה; موسى มูซา) เป็นผู้บัญญัติกฎและผู้เผยพระวจนะแก่วงศ์วานอิสราเอล ซึ่งเป็นที่มาของคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ หรือคัมภีร์เบญจบรรณในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ อีกทั้งยังเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ตามคติของศาสนาอิสลาม และเป็นศาสดาตามคติของศาสน.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและโมเสส · ดูเพิ่มเติม »

โทราห์

ทราห์ (Torah; תּוֹרָה โทราห์; التوراة เตารอต; Τορά) เป็นชื่อของชุดคัมภีร์ชุดแรกในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มแรกในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ หมายถึง บทบัญญัติ ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยแปลว่า ธรรมบัญญัติ หรือ พระบัญญัติ ภายหลังได้มีการแปลเป็นภาษากรีกจึงมีชื่อเรียกใหม่ว่า เบญจบรรณ (Pentateuch) หมายถึง ที่บรรจุห้าอัน คือหนังสือ 5 เล่มแรกของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ได้แก.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและโทราห์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่ากาด

ผ่ากาด เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ กาด เป็นชื่อของบุตรชายคนที่ 7 ของยาโคบ หรือ อิสราเอล ซึ่งเกิดกับ นางศิลปาห์ สาวใช้ของนางเลอาห.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่ากาด · ดูเพิ่มเติม »

เผ่ามนัสเสห์

มนัสเสห์ เป็นบุตรชายคนโต ของโยเซฟ และนางอาเสนัท ก่อนที่ยาโคบ และครอบครัวของท่านจะย้ายเข้ามายังอียิปต์ ด้วยเหตุนี้ ยาโคบจึงยกให้บุตรชายทั้งสองคนของโยเซฟ เทียบเท่าบุตรชายคนอื่น ๆ ของตน ดังนั้นในอิสราเอลจึงมี 12 เผ่าตามจำนวนบุตรชายของยาโคบ แต่จะนับพงศ์พันธุ์ของโยเซฟ ออกเป็น 2 เผ่า คือ เอฟราอิม และมนัสเสห์ คำว่า มนัสเสห์ มีรากศัพท์มาจากภาษาฮีบรู แปลว่า การทำให้ลืม เพราะเมื่อมีบุตรคนนี้ โยเซฟ ได้กล่าวว่า "เพราะว่าพระเจ้าโปรดให้ข้าพเจ้าลืมความยากลำบากทั้งปวง และบรรดาพงศ์พันธุ์ของบิดาเสีย".

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่ามนัสเสห์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่ารูเบน

ผ่ารูเบน เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดเบญจบรรณ และตามคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ รูเบน เป็นชื่อของบุตรชายคนโตของยาโคบ หรือ อิสราเอล กับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรกของ.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่ารูเบน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าสิเมโอน

ผ่าสิเมโอน เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย สิเมโอน เป็นชื่อของบุตรชายคนที่สองของยาโคบ หรือ อิสราเอล กับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรกของ.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่าสิเมโอน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าอาเชอร์

ผ่าอาเชอร์ เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย กาด เป็นชื่อของบุตรชายคนที่ 8 ของยาโคบ หรือ อิสราเอล ซึ่งเกิดกับ นางศิลปาห์ สาวใช้ของนางเลอาห.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่าอาเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าอิสสาคาร์

ผ่าอิสสาคาร์ เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย ชื่อของเผ่าอิสสาคาร์นี้ ตั้งขึ้นตามชื่อบรรพบุรุษของพวกเขา อันได้แก่ อิสสาคาร์ ซึ่งเป็นบุตรชายคนที่เก้าของยาโคบ หรือ อิสราเอล ที่เกิดกับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรกของยาโคบ โดยอิสสาคาร์นั้น เป็นบุตรชายคนที่ 5 ที่นางเลอาห์มีให้แก.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่าอิสสาคาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าดาน

ผ่าดาน เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย ดาน เป็นชื่อของบุตรชายคนที่ 5 ของยาโคบ หรือ อิสราเอล ซึ่งเกิดกับ นางบิลฮาห์ สาวใช้ของนางราเชล.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่าดาน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่านัฟทาลี

ผ่านัฟทาลี เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย ดาน เป็นชื่อของบุตรชายคนที่ 6 ของยาโคบ หรือ อิสราเอล ซึ่งเกิดกับ นางบิลฮาห์ สาวใช้ของนางราเชล.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่านัฟทาลี · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าเศบูลุน

ผ่าเศบูลุน เป็น 1 ในบรรดา 12 เผ่าของอิสราเอล ตามบันทึกในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ในหมวดพระธรรมเบญจบรรณ และตามพระคัมภีร์โตราห์ในศาสนายูดาย ชื่อของเผ่าเศบูลุนนี้ ตั้งขึ้นตามชื่อบรรพบุรุษของพวกเขา อันได้แก่ เศบูลุน ซึ่งเป็นบุตรชายคนที่สิบของยาโคบ หรือ อิสราเอล ที่เกิดกับนางเลอาห์ ภรรยาคนแรกของยาโคบ โดยเศบูลุนนั้น เป็นบุตรชายคนที่ 6 ที่นางเลอาห์มีให้แก.

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่าเศบูลุน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าเอฟราอิม

อฟราอิม เป็นบุตรชายคนที่สอง ของโยเซฟ และนางอาเสนัท ก่อนที่ยาโคบ และครอบครัวของท่านจะย้ายเข้ามายังอียิปต์ ด้วยเหตุนี้ ยาโคบจึงยกให้บุตรชายทั้งสองคนของโยเซฟ เทียบเท่าบุตรชายคนอื่น ๆ ของตน ดังนั้นในอิสราเอลจึงมี 12 เผ่าตามจำนวนบุตรชายของยาโคบ แต่จะนับพงศ์พันธุ์ของโยเซฟ ออกเป็น 2 เผ่า คือ เอฟราอิม และมนัสเสห์ คำว่า เอฟราอิม มีรากศัพท์มาจากภาษาฮีบรู แปลว่า มีลูกดก ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อมีบุตรคนที่สองนี้ โยเซฟ ได้กล่าวว่า "เพราะว่าพระเจ้าโปรดให้ข้าพเจ้ามีพงศ์พันธุ์ทวีขึ้นในดินแดนที่ข้าพเจ้าได้รับความทุกข์ใจ".

ใหม่!!: เผ่าเลวีและเผ่าเอฟราอิม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »