โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เบย์เบลด (อะนิเมะ)

ดัชนี เบย์เบลด (อะนิเมะ)

ลด เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งนำ "เบย์เบลด" ของเล่นที่มีลักษณะคล้ายลูกข่าง ซึ่งผลิตโดยทาการะ มาดัดแปลงเป็นหนังสือการ์ตูนในปี พ.ศ. 2542 (แต่งโดย ทาคาโอะ อาโอกิ) และได้รับการสร้างเป็นอะนิเมะในปี พ.ศ. 2544 มีความยาว 3 ภาคจบ เรื่องราวเกี่ยวกับกลุ่มเด็กๆ ที่ต้องการก้าวสู่ความเป็นสุดยอดของโลกในการแข่งเบย์เบลด ในประเทศไทย เบย์เบลด ฉบับอะนิเมะ ภาค 1 และ ภาค 2 ออกจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีลิขสิทธิ์โดย บริษัท Animedia ในชื่อเรื่องว่า "เบย์เบลด ศึกลูกข่างสะท้านฟ้า" ส่วนภาค 3 ออกจำหน่ายโดยบริษัท การ์ตูนอินเตอร์ จำกัด ในชื่อเรื่องว่า "เบย์เบลดภาค 3 ศึกอวสานลูกข่างสายฟ้า" และได้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์เคเบิล ยูบีซี (ปัจจุบันคือทรูวิชั่นส์) กับโมเดิร์นไนน์ทีวี ด้วย สำหรับฉบับหนังสือการ์ตูน ได้รับลิขสิทธิ์ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์บงก.

28 ความสัมพันธ์: ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2542พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2552การ์ตูนญี่ปุ่นกีฬามังงะลูกข่างวีซีดีอะนิเมะอะนิเมะและมังงะเด็กทรูวิชันส์ทีวีโตเกียวดาบประเทศไทยแมดเฮาส์โชงากูกัง14 พฤศจิกายน17 พฤษภาคม24 ธันวาคม29 ธันวาคม30 ธันวาคม6 มกราคม7 มกราคม8 มกราคม

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และการ์ตูนญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กีฬา

กีฬาในวัยเด็ก จากภาพคือกีฬาฟุตบอล กีฬาประเภททีมที่ให้โอกาสในการออกกำลังกายและเพิ่มทักษะในการปฏิสัมพันธ์ กีฬา เป็นกิจกรรมหรือการเล่นเพื่อความสนุกเพลิดเพลินหรือเพื่อความแข็งแรงของร่างกาย หรือเพื่อผ่อนคลายความเคร่งเครียดทางจิต รวมไปถึงกิจกรรมปกติหรือทักษะที่อยู่ภายใต้กติกาซึ่งถูกกำหนดโดยความเห็นที่ตรงกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพักผ่อน การแข่งขัน ความเพลิดเพลิน ความสำเร็จ การพัฒนาของทักษะ หรือหลายสิ่งรวมกัน กีฬาเป็นกิจกรรมที่ควบคู่กับการแข่งขัน และระบบคะแนน กีฬาหลายประเภทได้มีการจัดการแข่งขันในระดับเขต ประเทศ และระดับโลก ซึ่งกีฬาหลายชนิดได้มีการใส่เข้าและนำออกโดยการปรับปรุงของทางคณะกรรมการโอลิมปิกสากล เช่น รักบี้ ลาครอสส์ หรือ โปโล.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และกีฬา · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และมังงะ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกข่าง

ลูกข่างญี่ปุ่น ลูกข่าง เป็นของเล่นสำหรับเด็กที่หมุนบนแกนของตัวเอง ลูกข่างถือเป็นของเล่นที่เก่าแก่ที่สุดอย่างหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก มีใช้ในการละเล่นเพื่อความบันเทิง การพนันและยังรวมถึงการพยากรณ.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และลูกข่าง · ดูเพิ่มเติม »

วีซีดี

ตัวอย่างแผ่นวีซีดี วีซีดี หรือ วิดีโอซีดี (VCD หรือ Video CD) เป็นรูปแบบมาตรฐานในการจัดเก็บภาพเคลื่อนไหวลงในแผ่นซีดี รูปลักษณ์ของแผ่นวีซีดีเหมือนกับแผ่นซีดี สามารถเล่นได้กับเครื่องเล่นเฉพาะ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว เครื่องเล่นดีวีดี (DVD) เป็นต้น รูปแบบวีซีดีมาตรฐานถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1993 โดย บริษัท โซนี่ บริษัท ฟิลิปส์ บริษัท มัทซูชิตะ และ บริษัท เจวีซี ซึ่งได้อ้างอิงไว้ในหนังสือชื่อ ไวต์บุ๊ก (White Book) ธุรกิจวีซีดีเจริญรุ่งเรืองมากในแถบเอเชีย เพราะว่าเครื่องเล่นนั้นมีราคาถูก.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และวีซีดี · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะและมังงะเด็ก

การ์ตูนสำหรับเด็กและเยาวชน หมายถึง การ์ตูนที่มีเด็กและเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 3-17 ปี เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก การ์ตูนเหล่านี้จึงไม่มีความรุนแรง หรือความลามกอนาจารอยู่เลย โดยอาจสร้างขึ้นมาเพื่อการศึกษา เพื่อให้ความบันเทิง หรือเพื่อเป็นการโฆษณาของเล่นทางอ้อม และอาจแบ่งย่อยออกได้เป็นการ์ตูนสำหรับเด็กผู้ชาย และการ์ตูนสำหรับเด็กผู้หญิง การ์ตูนสำหรับเด็กผู้ชายในปัจจุบันส่วนมากมีตัวละครหลักเป็นเด็กอายุประมาณ 9-15 ปี และมักมีเนื้อหาเกี่ยวกับการผจญภัยหรือการแข่งขัน "กีฬา" ด้วยของเล่น เช่น รถแข่ง ลูกข่าง เป็นต้น หุ่นยนต์ยักษ์และสัตว์ประหลาดเป็นสิ่งที่พบได้ทั่วไปในการ์ตูนประเภทนี้ เนื้อเรื่องส่วนมากจะเป็นไปในทำนองว่า เด็กธรรมดากลุ่มหนึ่งได้รับหุ่นยนต์ สัตว์ประหลาดผู้ช่วย หรืออุปกรณ์วิเศษอย่างหนึ่งมา และต้องใช้สิ่งนั้นต่อสู้เพื่อพิทักษ์ความสงบสุขของโลกหรือดินแดนวิเศษอีกดินแดนหนึ่ง การ์ตูนสำหรับเด็กผู้หญิงส่วนใหญ่มักอยู่ในแนวสาวน้อยเวทมนตร์ กล่าวคือเด็กผู้หญิงธรรมดาคนหนึ่งหรือกลุ่มหนึ่งซึ่งมักอยู่ ป.4-ม.3 ได้รับพลังวิเศษอย่างหนึ่งมาและต้องใช้พลังนั้นต่อสู้กับผู้ร้าย หรือไม่ก็ช่วยเหลือเพื่อนและคนที่อยู่รอบข้าง สาวน้อยเวทมนตร์ทุกคนมักจะมีคฑาหรือตลับวิเศษใช้สำหรับแปลงร่างและเสกคาภา และผู้ช่วยเป็นสัตว์ประหลาดผู้ได้ตัวเล็กน่ารัก หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และอะนิเมะและมังงะเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

ทรูวิชันส์

ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และทรูวิชันส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีวีโตเกียว

ทีวีโตเกียว คอปอร์เรชัน (TV Tokyo Corporation) หรือเรียกย่อๆว่า TX เป็นสถานีโทรทัศน์ในประเทศญี่ปุ่น เป็นบริษัทลูกในเครือบริษัท นิฮอนเคะไซชิมบุง และยังเป็นสมาชิกของเครือสถานีโทรทัศน์ TX Network (TXN) ในปัจจุบันทีวีโตเกียวเป็นสถานีที่เน้นการออกอากาศอะนิเมะเป็นหลัก.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และทีวีโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ดาบ

ญี่ปุ่น หรือ คะตะนะ เป็นดาบที่มีคมด้านเดียว ดาบ เป็นชื่อเรียกของอาวุธที่มีขนาดยาวและมีคมที่ด้าน มีการใช้ทั่วโลกโดยมีชื่อเรียกและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ส่วนประกอบหลักของดาบจะประกอบด้วยสามส่วนหลักคือ คมดาบ ไว้สำหรับฟันและตัด, ปลายดาบไว้สำหรับแทง, และ ด้ามดาบไว้สำหรับจับถือ.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และดาบ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แมดเฮาส์

แมดเฮาส์ (Madhouse) เป็นบริษัทผลิตภาพยนตร์แอนิเมชันของญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1972 โดยอดีตสมาชิก 4 คนที่แยกตัวออกมาจากบริษัท มุชิโปรดักชัน ได้แก่ มารุยามะ มาซาโอะ เดซากิ โอซามุ ริน ทาโร่ และ คาวาจิริ โยชิอากิ สร้างสรรค์ผลงานแอนิเมชันมาแล้วมากมายหลายเรื่อง.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และแมดเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

โชงากูกัง

ริษัทโชงากูกัง ตึกสำนักงานเก่าโชงากูกัง ตึกสำนักงานใหม่โชงากูกัง ชิโยดะ (โตเกียว) ประเทศญี่ปุ่น สำนักพิมพ์โชงากูกัง เป็นสำนักพิมพ์ใหญ่ในประเทศญี่ปุ่น ตีพิมพ์ พจนานุกรม นิยาย หนังสือการ์ตูน และสื่อต่าง ๆ ผลิตแผ่น ลิขสิทธิ์อะนิเมะและลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ ตั้งอยู่ที่ เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งเมื่อ 8 สิงหาคม..

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และโชงากูกัง · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤศจิกายน

วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ14 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ธันวาคม

วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ24 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 ธันวาคม

วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ29 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เบย์เบลด (อะนิเมะ)และ8 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เบย์เบลด ลูกข่างสายฟ้าเบย์เบลด ศึกลูกข่างมหัศจรรย์เบย์เบลด ศึกลูกข่างสะท้านฟ้าเบย์เบลด ศึกลูกข่างทะยานฟ้า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »