โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เดชคัมภีร์เทวดา

ดัชนี เดชคัมภีร์เทวดา

หน้าปกดีวีดีภาค 2 เดชคัมภีร์เทวดา ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์จีนกำลังภายใน ชื่อภาษาอังกฤษว่า The Swordsman (ภาษาจีนกลาง: 笑傲江湖 กว่างหลิงซ่าน) นำแสดงโดย แซม ฮุย กำกับโดย หูจินเฉวียน อำนวยการสร้างโดย ฉีเคอะ ออกฉายในปี พ.ศ. 2533 ความยาว 120 นาที.

26 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2510พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534กระบี่โต๊ะโกกระบี่เย้ยยุทธจักรการเมืองกิมย้งภาพยนตร์จีนกำลังภายในภาษาอังกฤษภาษาจีนกลางภาษาไทยสฺวี เค่อหลิน ชิงเสียหลี่ เหลียนเจี๋ยหวัง จู่เสียนหู จินเฉวียนฮวงเช็งเอี๊ยงคัมภีร์ทานตะวันงักปุ๊กคุ้งตงฟางปุ๊ป้ายประเทศไทยนาทีโทรทัศน์เล่งฮู้ชงเดชคัมภีร์เทวดา 2เดชคัมภีร์เทวดา 3 หมื่นปีมีข้าคนเดียว

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

กระบี่โต๊ะโก

กระบี่โต๊ะโกหรือเก้ากระบี่ไร้พ่าย เป็นวิชาของมารกระบี่โดดเดี่ยวแสวงพ่ายเป็นเคล็ดวิชาในการทำลายอาวุธทุกอย่างเน้นการบุกอย่างเดียวไม่มีการรับเมื่อไม่รับก็ไม่พ่ายแพ้ เคล็ดวิชาเป็นการทำลายอาวุธทุกชนิดของฝ่ายตรงข้าม ในเรื่องมังกรหยกวิชาชุดนี้ก็ได้ออกมาในภาคมังกรหยก เอี้ยก่วยเจ้าอินทรี.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและกระบี่โต๊ะโก · ดูเพิ่มเติม »

กระบี่เย้ยยุทธจักร

กระบี่เย้ยยุทธจักร เฉี่ยเหงากังโอ๊ว หรือ เซี่ยวเอ้าเจียงหู ผลงานของกิมย้ง (金庸) เรื่องนี้ น.นพรัตน์ แปลครั้งแรกชื่อเรื่อง ผู้กล้าหาญคะนอง ในปี..

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและกระบี่เย้ยยุทธจักร · ดูเพิ่มเติม »

การเมือง

การเมือง (politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา '''ฮาโรลด์ ลาสเวลล์''' นักโทษคนหนึ่ง ได้นิยามการเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า "ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร" วิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใช้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใ.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กิมย้ง

thumb กิมย้ง หรือชื่อจริง จา เลี้ยงย้ง (Louis Cha Leung-yung) เป็นนักเขียนนิยายกำลังภายในที่ได้รับความนิยมมาก มักเขียนนิยายโดยแฝงเนื้อหาทางการเมืองบางอย่างไว้ โดยเฉพาะการวิจารณ์ระบบกษัตริย์ พรรคคอมมิวนิสต์ และลัทธิเชื้อชาติฮั่นเป็นใหญ่ กิมย้งมีหนังสือพิมพ์เป็นของตัวเอง ชื่อ หมิงเป้า (明報) ปัจจุบัน กิมย้ง ยังมีชีวิตอยู่ และดูแลกิจการหนังสือพิม.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและกิมย้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์จีนกำลังภายใน

กภาพยนตร์เรื่อง "พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก" ภาพยนตร์จีนกำลังภายใน เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 60 เช่น หงส์ทองคะนองศึก, The Magnificent Trio, One-Armed Swordsman ฯลฯ ผลิตในฮ่องกงและไต้หวัน ภาพยนตร์จีนกำลังภายในมักแฝงปรัชญาตะวันออกเอาไว้ บางเรื่องแฝงการหลุดพ้นจากลาภยศ กิเลส ตัณหา ราคะทั้งปวง หรือเน้นการเสียสละตนเองเพื่อผดุงคุณธรรมตามความเชื่อแห่งตน ในช่วงทศวรรษที่ 60 - 70 ฉากต่อสู้ของหนังกำลังภายในเป็นความตื่นตาตื่นใจสูงสุดของโลกภาพยนตร์ตะวันออก การหกขเมนตีลังกา ลีลาประดาบที่รวดเร็ว กลายเป็นความบังเทิงที่ได้รับความนิยม ภาพยนตร์ประเภทนี้ถูกพัฒนาขึ้นโดยผู้กำกับคิวบู๊คนสำคัญของชอว์บราเดอร์ที่ชื่อว่าหลิวเจียเหลียง ในปี 2000 ภาพยนตร์เรื่องพยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก กำกับโดยอั้งลี่ นับเป็นภาพยนตร์จีนกำลังภายในที่ออกฉายทั่วโลก และยังได้รับรางวัลออสการ์อีกด้ว.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและภาพยนตร์จีนกำลังภายใน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกลาง

ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและภาษาจีนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี เค่อ

วี เค่อ หรือในประเทศไทยมักเรียก ฉีเคอะ (Tsui Hark; จีน: 徐克, พินอิน: Xú Kè) ผู้อำนวยการสร้าง, ผู้เขียนบทและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกงชื่อดัง ที่มีผลงานมากมายโดยเฉพาะ ภาพยนตร์แอ๊คชั่นในช่วงทศวรรษที่ 80 และทศวรรษที่ 90 เช่นเดียวกับ จอห์น วู สฺวี เค่อ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1950 ที่ไซ่ง่อน เวียดนามใต้ เมื่ออายุได้ 13 ปี ครอบครัวได้เดินทางมาตั้งรกรากที่ฮ่องกง สฺวี เค่อมีความสนใจในศาสตร์ด้านภาพยนตร์ตั้งแต่เด็ก ๆ โดยร่วมกันสร้างภาพยนตร์ขนาด 8 มิลลิเมตร กับเพื่อน สฺวี เค่อ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน ในปี ค.ศ. 1975 เมื่อจบการศึกษาแล้วจึงเริ่มงานในวงการภาพยนตร์ฮ่องกงอย่างแท้จริง จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "ผู้กำกับรุ่นที่ 4" แต่ผลงานเริ่มต้นของสฺวี เค่อไม่ประสบความสำเร็จมากนัก โดยเขาเริ่มจากการกำกับละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ในแนวตลกและกังฟู จนกระทั่งมาประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรก จาก A Better Tomorrow เมื่อปี ค.ศ. 1986 จากการกำกับของจอห์น วู โดยสฺวี เค่อเป็นผู้อำนวยการสร้าง จากนั้นมา ชื่อของสฺวี เค่อ ก็เสมือนเครื่องการันตีคุณภาพของภาพยนตร์เรื่องนั้น ๆ จนกระทั่งในช่วงที่ประสบความสำเร็จและในชื่อเสียงอยู่นั้น การโฆษณาภาพยนตร์ในประเทศไทยต้องมีคำลงท้ายว่า "ฉีเคอะ กำกับ!!"ซึ่งภาพยนตร์ที่เป็นผลงานของสฺวี เค่อ ได้แก่ The Sword Man ทั้งภาคแรก, ภาคที่ 2 และภาคที่ 3 (เฉพาะภาคแรก สฺวี เค่อไม่ได้กำกับ แต่เป็นผู้อำนวยการสร้าง แต่ทว่าคนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าสฺวี เค่อเป็นผู้กำกับ), ภาพยนตร์ชุด Once Upon a Time in China หรือ หวงเฟยหง ที่นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย หรือ A Chinese Ghost Story ที่นำแสดงโดย เลสลี่ จาง และ หวัง จู่เสียนและ Black Mask ในปี ค.ศ. 1996 นอกจากนี้แล้ว ยังได้กำกับภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดอีก ในเรื่อง Double Team ในปี ค.ศ. 1997 นำแสดงโดย ชอง-โกลด ว็อง ดามม์, เดนนิส ร็อดแมน และมิกกีย์ รูร์ก และ Knock Off ในปี ค.ศ. 1998 นำแสดงโดย ชอง-โกลด ว็อง ดามม์, ร็อบ สไนเดอร์ และไมเคิล หว่อง นอกจากนี้แล้วยังได้กำกับภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง A Chinese Ghost Story หรือโปเยโปโลเย ที่เป็นความเชื่อเรื่องผีของจีนและเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาของเด็กระดับชั้นประถมตามหลักสูตรการศึกษาของจีน โดยเป็นการนำเอาผลงานเก่ากลับมาสร้างใหม่ในรูปแบบอะนิเมะชั่น ในปี..

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและสฺวี เค่อ · ดูเพิ่มเติม »

หลิน ชิงเสีย

หลิน ชิงเสีย (Brigitte Lin, Brigitte Lin Ching Hsia) อดีตนักแสดงหญิงชาวไต้หวันที่มีชื่อเสียงโด่งดังในระดับเอเชีย เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 ที่เมืองไทเป ประเทศไต้หวัน เป็นลูกคนที่ 2 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 3 คน เข้าสู่แวดวงการแสดงได้ขณะเรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษาและรอการเอนทรานซ์เข้ามหาวิทยาลัย ผู้กำกับฯและผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชื่อดัง ซ่ง ฉุนเทา เห็นแววเข้าขณะเดินเลือกซื้อของ จึงได้ติดต่อมาเล่นในภาพยนตร์เรื่อง Outside The Window ในปี ค.ศ. 1972 ที่ดัดแปลงเนื้อเรื่องมาจากนิยายของ ฉงเหยา (ผู้ประพันธ์เรื่อง องค์หญิงกำมะลอ) จากนั้นเธอก็เริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมาในแวดวงภาพยนตร์ของไต้หวัน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1983 ได้เข้าสู่แวดวงภาพยนตร์ของฮ่องกงด้วยการแสดงในภาพยนตร์กำลังภายในแฟนตาซีเรื่อง Zu Warriors from the Magic Mountain คู่กับ เจิ้ง เส้าชิว จากการกำกับของ ฉีเคอะ ทำให้มีชื่อเสียงเพิ่มขึ้นมา และได้รับรางวัลนักแสดงสมบทหญิงยอดเยี่ยมด้วย หลังจากนั้น หลิน ชิงเสีย ก็ได้มีผลงานอีกหลาย ๆ เรื่องตามมา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาพยนตร์แนวกำลังภายในหรือแอ๊คชั่นแทบทั้งนั้น เช่น Swordsman II, New Dragon Gate Inn, Police Story 3: Super Cop, Royal Tramp, Royal Tramp II และ Handsome Siblings ในปี ค.ศ. 1992 และ Swordsman III, The Bride with White Hair, The Bride with White Hair 2, The Eagle Shooting Heroes ในปี ค.ศ. 1993 Ashes of Time และChungking Express ในปี ค.ศ. 1994, Bishonen ในปี ค.ศ. 1998 จากนั้นเธอก็ได้สมรสกับนักธุรกิจชาวฮ่องกง หลี่หยวน ที่ซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1994 โดยมี เติ้ง ลี่จวิน และ ฉีเคอะ ร่วมเป็นสักขีพยานในงานด้วย ปัจจุบัน หลิน ชิงเสีย ออกวงการบันเทิงไปเพื่อทำหน้าที่แม่บ้านอย่างเดียว จนประมาณต้น ปี..

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและหลิน ชิงเสีย · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เหลียนเจี๋ย

หลี่ เหลียนเจี๋ย เป็นนักแสดงชาวจีนที่มีชื่อเสียงในฮ่องกง ซึ่งภายหลังได้มีชื่อเสียงในระดับโลก โดยมีชื่อภาษาอังกฤษที่คนทั่วไปรู้จักคือ เจ็ต ลี (Jet Li).

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและหลี่ เหลียนเจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

หวัง จู่เสียน

หวัง จู่เสียน (จีน: 王祖賢, พินอิน: Wáng Zǔxián, Joey Wong, Joey Ong Jyo Han) เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1967 ที่ไต้หวัน เป็นนักแสดงชาวไต้หวัน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากในระดับเอเชี.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและหวัง จู่เสียน · ดูเพิ่มเติม »

หู จินเฉวียน

หู จินเฉวียน (จีนตัวย่อ: 胡金铨, จีนตัวเต็ม: 胡金銓, พินอิน: Hú Jīnquán) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อภาษาอังกฤษว่า คิง ฮู (King Hu) เป็นอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีนที่มีชื่อเสียงในอดีต ได้รับการยกย่องให้เป็น "ปรมาจารย์ภาพยนตร์กำลังภายใน" หรือ "ราชาแห่งภาพยนตร์กำลังภายใน" เช่นเดียวกับ จางเชอะ หู จินเฉวียน เกิดเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1932 ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน จบการศึกษาวิชาศิลปะที่นั่น จากนั้นในปี ค.ศ. 1949 จึงได้อพยพมาอาศัยอยู่ยังฮ่องกง ที่ฮ่องกง หู จิน เฉวียนได้เข้าทำงานที่บริษัท ชอว์ บราเดอรส์ ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้กำกับ, ผู้กำกับฝ่ายศิลป์, ผู้เขียนบท จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1966 ได้มีโอกาสกำกับภาพยนตร์เป็นเรื่องแรก คือ Come Drink with Me ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และยังได้ถือเป็นการแจ้งเกิดของนักแสดงหญิงหน้าใหม่ ที่ต่อมาเธอจะกลายมาเป็นราชินีภาพยนตร์กำลังภายใน คือ เจิ้ง เพ่ยเพ่ย ในเวลาต่อมา ต่อมาในปี ค.ศ. 1971 หู จินเฉวียนยังได้กำกับภาพยนตร์อีกเรื่อง คือ A Touch of Zen ซึ่งนับได้ว่าเป็นภาพยนตร์กำลังภายในเรื่องแรกที่ได้มีโอกาสเผยแพร่ไปในระดับนานาชาติ คือ ได้มีชื่อเข้าชิงรางวัลปาล์มทองคำ ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ในปี ค.ศ. 1975 และถือเป็นต้นแบบให้กับ หลี่ อัน ผู้กำกับฯในรุ่นต่อมาอีกหลายสิบปี สร้างเป็นภาพยนตร์กำลังภายในเรื่องใหม่ คือ Crouching Tiger, Hidden Dragon ในปี ค.ศ. 2000 ซึ่งโด่งดังและประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ในทศวรรษที่ 90 หู จินเฉวียนยังคงมีผลงานอีกต่อไป ได้แก่ The Swordman ในปี ค.ศ. 1990 และPainted Skin ในปี ค.ศ. 1993 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีทั้งสองเรื่อง หู จินเฉวียน ได้รับรางวัลม้าทองคำ ไลฟ์ไทม์แอคชีเมนต์ ในปี ค.ศ. 1997 เพื่อเป็นเกียรติแก่ผลงานที่มีมาทั้งชีวิต และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ปีเดียวกัน ที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและหู จินเฉวียน · ดูเพิ่มเติม »

ฮวงเช็งเอี๊ยง

ฮวงเช็งเอี๊ยง หรือ ฟงชิงหยาง คือผู้อาวุโส ฝ่ายกระบี่ของสำนักหัวซาน เป็นผู้ถ่ายทอดวิชาเก้ากระบี่เดียวดาย หรือ เก้ากระบี่ต๊กโกว ให้กับเล่งฮู้ชงตัวเอกของเรื่อง ประวัติความเป็นมาของฮวงเช็งเอี๊ยงในการฝึกกระบี่เก้าเดียวดายนั้นไม่แน่ชัดแต่สันนิษฐานว่าได้จากการพบบันทึกของผู้คิดค้น ต๊กโกวคิ้วป้าย แล้วนำมาศึกษาเอง เนื่องจากสำนักหัวซานมีความขัดแย้งกันเองในสำนักจนแตกเป็น 2ฝ่ายคือ สายกระบี่ และสายลมปราณ สายกระบี่มุ่งเน้นในท่วงท่าวิชากระบี่เป็นหลัก ส่วนสายปราณมุ่งเน้นในความสมบูรณ์ของปราณเป็นสำคัญเพื่อเสริมอานุภาพของท่ากระบี่ ฮวงเช็งเอี๊ยงมีฝีมือเป็นที่เกรงขามของฝ่ายลมปราณ ฝ่ายลมปราณจึงออกอุบายใช้สาวงามล่อลวงฮวงเช็งเอี๊ยงในคืนวันเกิดศึกใหญ่ซึ่งยอดฝีมือทั้ง 2ฝ่ายต่างล้มตายลงเป็นอันมาก เป็นเหตุให้สำนักหัวซานเสื่อมโทรมลง หลังจากฮวงเช็งเอี๊ยงรู้ความจริงจึงเกิดความเบื่อหน่ายต่อยุทธจักรและเร้นกายที่ผาสำนึกผิด หมวดหมู่:ตัวละครในนิยายกำลังภายใน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและฮวงเช็งเอี๊ยง · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ทานตะวัน

ัมภีร์ทานตะวัน เป็นชื่อของสุดยอดคัมภีร์ยุทธ์วิชาหนึ่งในนิยายกำลังภายในของกิมย้ง ปรากฏครั้งแรกจากเรื่อง กระบี่เย้ยยุทธจักร.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและคัมภีร์ทานตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

งักปุ๊กคุ้ง

งักปุ๊กคุ้ง หรือ เยฺว่ ปู้ฉวิน ตามสำเนียงกลาง เป็นตัวละครในเรื่อง กระบี่เย้ยยุทธจักร เขาเป็นปรมาจารย์ยุทธแห่งหัวซาน ซึ่งเป็นอาจารย์ของเหล็งฮู้ชง โดยมีฉายาว่า กระบี่วิญญูชน มีความมักใหญ่ใฝ่สูงจนน่ากลัว และ ทำการใส่ร้ายป้ายสีเหล็งฮู้ชงเพื่อฝึกเพลงกระบี่ปราบมาร งักปุ๊กคุ้ง แซ่งัก นามปุกคุ้ง เป็นเจ้าสำนักฮั้วซัว ผู้สืบทอดเพลงกระบี่และลมปราณเมฆม่วงแห่งสำนักฮั้วซัว หนึ่งใน 5 สำนักกระบี่แห่งบู๊ลิ้ม ภาพภายนอกเป็นผู้กล้าที่ได้ชื่อว่าเป็นจอมยุทธ์ผู้ทรงคุณธรรม เป็นเจ้าสำนักกระบี่อันเลื่องชื่อที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นสำนักมาตรฐานของยุทธจักร จนได้รับฉายาจากบรรดาจอมยุทธ์ว่า “กระบี่วิญญูชน” งักปุ๊กคุ้ง นอกจากจะเป็นเจ้าสำนักของยอดสำนักกระบี่แล้ว ในด้านของชาติพันธุ์ เจ้าตัวยังเชื่อมั่นด้วยว่า ต้นตระกูลงักของตนมีวีรบุรุษกู้ชาติอยู่หลายคน โดยหนึ่งในผู้ที่มีชื่อเสียงที่สุดของตระกูลงักก็คือ ‘งักฮุย (เย่ว์เฟย) ’ ยอดขุนพลแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ งักปุ๊กคุ้งเชื่อมั่นใน ‘คุณธรรม’ ของตนจนถึงกับเดินทางรอนแรมพาเหล่าศิษย์ฮั้วซัวไปเคารพสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของงักฮุย หมวดหมู่:ตัวละครในนิยายกำลังภายใน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและงักปุ๊กคุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ตงฟางปุ๊ป้าย

ตงฟางปุ๊ป้าย หรือสำเนียงฮกเกี้ยนว่า ตังฮึงปุ๊กป้าย (จีนตัวเต็ม: 東方不敗; จีนตัวย่อ: 东方不败; พินอิน: Dōngfāng Bùbài) เป็นตัวละครสำคัญตัวหนึ่งในนิยายกำลังภายในเรื่อง กระบี่เย้ยยุทธจักร หรือ เดชคัมภีร์เทวดา เป็นประมุขพรรคสุริยันจันทรา แห่งผาไม้ดำ บรรลุยอดวิชาทานตะวันถึงขั้นไร้เทียมทาน วิชานี้ฝึกได้เฉพาะผู้ชายเท่านั้น และผู้ฝึกต้องตอนตัวเองเสียก่อนมิเช่นนั่นจะถูกธาตุไฟเข้าแทรก ทำให้ผู้ฝึกวิชานี้กลายเป็นครึ่งหญิงครึ่งชาย ตงฟางรวบรวมชนเผ่าชาวเขาได้เป็นจำนวนมาก หวังล้มล้างราชสำนักและตั้งตัวเป็นใหญ่แทน โดยคำว่า "ตงฟางปุ๊ป้าย" นั้นแปลว่า บูรพาไม่แพ้ เป็นผู้มีวรยุทธสูงส่งพิสดาร เคลื่อนที่ได้รวดเร็วในพริบตา สามารถใช้เข็มแทนกระบี่เป็นอาวุธเล่นงานศัตรู ตงฟางปุ๊ป้ายจับ เย่นหวอสิง อดีตประมุขไปขังไว้ใต้ทะเลสาบนับสิบปี แล้วตั้งตนเป็นประมุขแทน ต่อมา เล่งฮู้ชง มาช่วยเหลือไว้ ตงฟางปุ๊ป้ายรักและเทิดทูน ธิดาเทพอิ๋งอิ๋ง ลูกสาวของเย่นหวอสิงมาก เพราะอิจฉาในความงามของอิ๊งอิ๋ง แต่ไม่เคยริษยา ตงฟางปู้ไป้มีคนรักเป็นผู้หญิงชื่อซือซือซึ่งเป็นคนรักตั้งแต่สมัยตงฟางปุ๊ป้ายยังคงเป็นชายอยู่ หลังจากตงฟางปุ๊ป้ายตอนตนเองเพื่อฝึกวิชาก็ได้มีลักษณะร่างกายและจิตใจเปลี่ยนเป็นหญิงไปเรื่อย ๆ แต่ซือซือก็ยังคงซื่อสัตย์รักใคร่และอยู่เคียงข้างตงฟางปุ๊ป้ายอยู่ตลอดเวลาและพร้อมจะทำทุกอย่างตามที่ตงฟางปุ๊ป้ายบัญชา ปรกติตงฟางปู๋ไปอาศัยอยู่กระท่อมในอุทยานใช้ชีวิตเรียบง่าย และโปรดการปักผ้าเป็นที่สุด ต่อมาเย่นหวอสิง เล่งหูชง และพรรคพวก เข้ามาจู่โจมที่ผาไม้ดำ ซึ่งในขณะนั้นเล่งหูชงไม่รู้ว่านางที่หลับนอนกับตนนั้นมิใช่ตงฟางปุ๊ป้าย แต่จริง ๆ แล้วคือ ซือซือ ซึ่งเป็นหญิงคนรักของตงฟางนั่นเอง ขณะสู้กับเล่งหูชงตงฟางปุ๊ป้ายเสียสมาธิ ทำให้พลาดท่าถูกทำร้ายจนสาหัส อันที่จริงแล้ว ตงฟางปุ๊ป้ายนั้นปรากฏอยู่ในกระบี่เย้ยยุทธจักรเพียงแค่ไม่กี่หน้า และเป็นกะเทยที่ไม่มีเค้าความสวยงามเลย แต่ทว่าเมื่อได้มีการดัดแปลงมาเป็นละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่องแล้ว มักกำหนดให้ตัวละครตัวนี้กลายเป็นคนสวย หรือให้นักแสดงหญิงที่สวยมารับบทนี้อยู่เสมอ ๆ เช่น หลิน ชิงเสีย ในฉบับภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและตงฟางปุ๊ป้าย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นาที

นาที อักษรย่อ น. (Minute) สมัยก่อนใช้คำว่า นาที เป็นหน่วยวัดเวลา โดยหนึ่งหน่วยเท่ากับ ของชั่วโมง.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและนาที · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์

อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น โลจี เบร์ด ชาวสกอตแลน.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เล่งฮู้ชง

ล่งฮู้ชง (令狐冲) เป็นตัวเอกของ เรื่อง กระบี่เย้ยยุทธจักร นิยายของกิมย้ง เป็นตัวละครที่มีเอกลักษณ์อย่างยิ่ง คือ แม้เป็นคนที่อารมณ์เฮฮา แต่ในใจเขานั้นถวิลหาความสุขอันแท้จริงอย่างคำว่า ยิ้มเย้ยยุทธจักร อันหมายถึง หัวเราะความเป็นไปแห่งโลกความจริง บุคคลเช่นนี้หาได้ยากยิ่งในทุกสังคม จิตใจคนเราต้องการความยิ่งใหญ่ ชื่อเสียง เงินทอง ฯลฯ "หากแต่มีใครที่คิดหาความสงบอันแท้จริง และ ยิ้มเย้ยยุทธจักร" เล่งฮู้ชงเมื่อครั้งเป็นศิษย์สำนักกระบี่ฮั้วซัว.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและเล่งฮู้ชง · ดูเพิ่มเติม »

เดชคัมภีร์เทวดา 2

ัมภีร์เทวดา 2 (Swordsman II) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติจีน ค.ศ. 1992 เขียนบทและผลิตโดย ฉีเคอะ กำกับภาพยนตร์โดย ชิง เสี่ยวถัง นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย,กวน จือหลิน,หลิน ชิงเสีย,หลี่ เจียซิน ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคสอง ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง เดชคัมภีร์เทวดา โดยมีภาคที่ 3 คือ เดชคัมภีร์เทวดา 3 หมื่นปีมีข้าคนเดียว โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ ฉีเคอะได้หยิบเอาตัวละคร “ตงฟังปุ๊ป้าย” ฉายาบูรพาไม่แพ้ ประมุขพรรคสุริยันจันทรา แห่งผาไม้ดำ ผู้ยอมสูญเสียความเป็นชาย เพื่อบรรลุยอดวิชาทานตะวันถึงขั้นเป็นผู้ที่ไร้เทียมทาน มาเป็นตัวละครเอกของเรื่อง.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและเดชคัมภีร์เทวดา 2 · ดูเพิ่มเติม »

เดชคัมภีร์เทวดา 3 หมื่นปีมีข้าคนเดียว

ัมภีร์เทวดา 3 หมื่นปีมีข้าคนเดียว (Swordsman III,The East Is Red) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้สัญชาติจีน ค.ศ. 1993 เขียนบทและผลิตโดย ฉีเคอะ กำกับภาพยนตร์โดย ชิง เสี่ยวถัง นำแสดงโดย หวัง จู่เสียน,หลิน ชิงเสีย ภาพยนตร์ชุดนี้เป็นภาคสุดท้าย ต่อจากภาพยนตร์เรื่อง เดชคัมภีร์เทวดา 2.

ใหม่!!: เดชคัมภีร์เทวดาและเดชคัมภีร์เทวดา 3 หมื่นปีมีข้าคนเดียว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

The Swordsman (1990 film)เดชคำภีร์เทวดา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »