โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เชลล์ยูนิกซ์

ดัชนี เชลล์ยูนิกซ์

ลล์ยูนิกซ์ (Unix shell) เป็นโปรแกรมเชลล์สำหรับรับคำสั่งคอมมานด์ไลน์บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ หรือระบบปฏิบัติการอื่นที่เหมือนยูนิกซ์ เช่น ลินุกซ์ เทียบได้กับโปรแกรม command.com หรือ cmd.exe บนไมโครซอฟท์วินโดวส์ บนยูนิกซ์ ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเลือกเชลล์ที่ต้องการใช้ได้ ซึ่งเชลล์แต่ละตัวจะมีรูปแบบคำสั่ง และ ขีดความสามารถแตกต่างกันออกไป เชลล์จะถูกเรียกใช้ได้หลายทางด้วยกันคือ.

16 ความสัมพันธ์: บอร์นเชลล์บิล จอยพ.ศ. 2522กะโนมกนูลินุกซ์ซีเชลล์แบชแพลนไนน์ไมโครซอฟท์ วินโดวส์เชลล์เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชันเทลเน็ตเคดีอีCmd.exeRC

บอร์นเชลล์

อร์นเชลล์ (Bourne shell; อักษรย่อ: sh) เป็นโปรแกรมเชลล์มาตรฐานการในการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางบรรทัดคำสั่ง บนยูนิกซ์ เวอร์ชัน 7 โปรแกรมนี้แทนที่ Thomson shell ในยูนิกซ์รุ่นก่อนหน้านั้นซึ่งใช้ชื่อโปรแกรม sh เหมือนกัน ผู้ที่พัฒนาคือ สตีเฟน บอร์น (Stephen Bourne) ที่ AT&T Bell Laboratories และออกเผยแพร่เมื่อ..

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และบอร์นเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

บิล จอย

thumb บิล จอย (Bill Joy ชื่อเต็ม William N. Joy) เกิด ค.ศ. 1954 เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ เมื่อ ค.ศ. 1982 และทำงานอยู่กับซันจนถึง ค.ศ. 2003 บิลเป็นบุคคลสำคัญในการสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของเบิร์กเลย์ชื่อ BSD ซึ่งเป็นรากฐานของระบบปฏิบัติการในยุคปัจจุบันหลายตัว อย่างเช่น FreeBSD NetBSD และ OpenBSD ผลงานอื่นๆ ของบิล คือ TCP/IP โปรแกรมแก้ไขข้อความ vi NFS และเชลล์แบบ csh บิลจอยยังมีส่วนสำคัญในการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์ SPARC ภาษาจาวา และ JINI.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และบิล จอย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

กะโนม

รงการ GNOME เป็นการสร้างแพลตฟอร์มทางคอมพิวเตอร์ ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรี โดยมีเป้าหมายคือสร้างชุดเครื่องมือที่ช่วยให้นักพัฒนาสามารถสร้างโปรแกรมขึ้นมาได้ง่าย รวมไปถึงสภาวะการทำงานแบบเดสก์ท็อป (desktop environment - ซอฟต์แวร์ที่ใช้เรียกซอฟต์แวร์อื่น ทำหน้าที่จัดการกับไฟล์และระบบหน้าต่าง) มีซอฟต์แวร์จำนวนมากที่ถูกพัฒนาขึ้นใต้โครงการ GNOME ซึ่งมักจะถูกนำไปรวมเป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการบางชนิด เช่น ลินุกซ์ หรือ โซลาริส เป็นต้น GNOME เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ GNU และเป็นสภาวะการทำงานแบบเดสก์ท็อปหลักของ GNU ด้วย GNOME.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และกะโนม · ดูเพิ่มเติม »

กนู

ำหรับ กนู ที่เป็นสัตว์ป่าแอฟริกา ดูที่: เครื่องหมายการค้าของกนู โครงการ กนู (GNU) เป็นชื่อของโครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการ ริเริ่มโดยริชาร์ด สตอลแมน เมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการเพื่อให้เป็นซอฟต์แวร์เสรี ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้ แก้ไข ปรับปรุง หรือจำหน่ายฟรี โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ โครงการกนู ประกอบไปด้วย เคอร์เนล ไลบรารี คอมไพเลอร์ โปรแกรมระบบ และ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ คำว่า กนู (IPA: /ɡəˈnuː/ เกอะนู หรือ /ˈnjuː/ นยู ในบางประเทศ) เป็นคำย่อแบบกล่าวซ้ำ มาจากคำเต็มว่า GNU's Not Unix (กนูไม่ใช่ยูนิกซ์) เพราะระบบกนูพัฒนาให้เหมือนระบบยูนิกซ์แต่ไม่ได้ใช้ซอร์สโคดของยูนิกซ์เล..

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และกนู · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเชลล์

ซีเชลล์ (Zsh หรือ Z Shell) เป็น เชลล์ยูนิกซ์ ที่สามารถใช้เป็นเชลล์ปฏิสัมพันธ์ และเป็นตัวแปลคำสั่งภาษาที่ทรงพลังสำหรับการเขียนเชลล์สคริปต์ ซีเชลล์เป็นส่วนขยายของบอร์นเชลล์ที่ได้รับการปรับปรุงเป็นอย่างมาก รวมถึงการเพิ่มฟังก์ชั่นบางประการของแบช เคเชล และทีซีเชล.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และซีเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แบช

แบช (bash: Bourne-again shell) เป็นเชลล์ยูนิกซ์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับโครงการกนู ชื่อเต็มของโปรแกรมล้อเลียนเชลล์อีกตัวคือ บอร์นเชลล์ (Bourne shell) แบชเขียนมาใช้แทนบอร์นเชลล์ซึ่งเขียนขึ้นสำหรับยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 โดย สตีเฟน บอร์น (Stephen Bourne) เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และแบช · ดูเพิ่มเติม »

แพลนไนน์

แพลนไนน์ (Plan 9) เป็นระบบปฏิบัติการตัวหนึ่งซึ่งนำแนวคิดต่อมาจากยูนิกซ์ พัฒนาโดยห้องปฏิบัติการวิจัยเบลล์ แพลนไนน์ไม่ได้พัฒนามาจากยูนิกซ์โดยตรง แต่มีหลักการทำงานใกล้เคียงกันมาก แพลนไนน์ถูกพัฒนาเป็นการภายในห้องปฏิบัติการมาช่วงระยะหนึ่ง ก่อนจะเผยแพร่สู่สาธารณชนใน ค.ศ. 1993 ในปัจจุบันทางห้องปฏิบัติการวิจัยเบลล์ไม่สนใจหาผลประโยชน์เชิงพาณิชย์กับแพลนไนน์อีกต่อไป และประกาศให้ใช้สัญญาแบบโอเพ่นซอร์ส รุ่นล่าสุดคือ 4th edition.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และแพลนไนน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

เชลล์

ลล์ (shell) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่โต้ตอบผู้ใช้ และมักหมายถึงระหว่างผู้ใช้กับระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้เป็น แบบชุดคำสั่ง หรือคอมมานด์ไลน์ (command line interface, CLI) และแบบกราฟิก (graphic user interface, GUI) แบบคำสั่งและแบบกราฟิกต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน แบบกราฟิกจะใช้ง่ายและเหมาะกับงานประเภทตกแต่งภาพและวิดีโอ ส่วนแบบคำสั่งเหมาะกับงานบางอย่าง โดยสามารถระบุต้องเจาะจงโดยละเอียดเช่นย้ายไฟล์โดยใช้ไวลด์การ์ด * เป็นต้น เชลล์ที่ใช้ในไมโครซอฟท์วินโดวส์รุ่นหลัง ๆ จะเป็นวินโดวส์เอกซ์พลอเรอร์ ในขณะที่ในรุ่นเก่า ๆ จะเป็นโปรแกรมเมเนเยอร์ สำหรับยูนิกซ์ เชลล์มักหมายถึงเชลล์ยูนิกซ์ ที่ใช้สั่งทางคอมมานด์ไลน์ ตัวอย่างยูนิกซ์เชลล์ที่นิยม เช่น บอร์นเชลล์ คอร์นเชลล์ และ C เชลล.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชัน

ร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชั่น (Berkeley Software Distribution -BSD; Berkeley Unix) เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ที่พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มต้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 70 ชื่อบีเอสดียังคงมีอยู่ในระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งสืบทอดมาจากดิสทริบิวชั่นนี้ เช่น FreeBSD, NetBSD, และ OpenBSD เป็นต้น บีเอสดีจัดว่าเป็นยูนิกซ์ที่ใช้กันแพร่หลายสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับเวิร์กสเตชันในยุคนั้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสัญญาอนุญาตใช้งานของบีเอสดีนั้นไม่ซับซ้อน ทำให้บริษัทอื่น ๆ นำเทคโนโลยีไปพัฒนาในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 80 จนสร้างความคุ้นเคยในวงกว้าง ถึงแม้ว่าในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 90 บีเอสดีจะถูกแทนที่ด้วย System V รีลีส 4.x และ OSF/1 แต่ในระยะหลังนี้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบปฏิบัติการโดยใช้ซอร์สโค้ดที่เปิดเผยของบีเอสดีเป็นแกนหลัก.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และเบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชัน · ดูเพิ่มเติม »

เทลเน็ต

นา หมวดหมู่:โพรโทคอลชั้นโปรแกรมประยุกต์ หมวดหมู่:มาตรฐานอินเทอร์เน็ต หมวดหมู่:โพรโทคอลบนอินเทอร์เน็ต หมวดหมู่:Clear text protocols หมวดหมู่:ประวัติอินเทอร์เน็ต หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์เครือข่ายที่ใช้พื้นฐานจากอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บริหารระยะไกล หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับเครือข่ายบนยูนิกซ์ หมวดหมู่:ผลิตภัณฑ์ที่ออกในปี พ.ศ. 2512.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และเทลเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

เคดีอี

KDE หรือชื่อเต็ม K Desktop Environment เป็นสภาพแวดล้อมในการทำงานแบบเดสก์ท็อป (Desktop Environment) ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรี พัฒนาบนทูลคิท Qt ของบริษัท Trolltech และทำงานได้บนระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์เกือบทุกรุ่น เช่น ลินุกซ์, BSD, AIX และ Solaris รวมถึงมีรุ่นที่ใช้งานได้บน Mac OS X และไมโครซอฟท์วินโดวส์ KDE มีโครงการพี่น้องที่พัฒนาไปพร้อมกันอย่าง KDevelop ซึ่งเป็นชุดเครื่องมือสำหรับการพัฒนาโปรแกรม และ KOffice ชุดโปรแกรมสำนักงาน ในรุ่น 4.1 ได้แก้ไขในเรื่องบั๊กทั้งหมดและหน้าตาของชุดตกแต่งพลาสมา รวมถึงการตั้งค่า TaskBar ดีมากยิ่งขึ้น และส่วนการติดต่อที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์กว่า KDE 4.0.X ปัจจุบันรุ่น 4.8.0.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และเคดีอี · ดูเพิ่มเติม »

Cmd.exe

ร้อมท์คำสั่ง (Command Prompt) หรือที่รู้จักกันในชื่อ cmd.exe หรือ cmd (ชื่อไฟล์ปฏิบัติการ) เป็นอินเทอร์พรีเตอร์บรรทัดคำสั่งบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นที วินโดวส์ซีอี โอเอส/2 และ eComStation และเป็นส่วนประกอบคู่กับ COMMAND.COM ในระบบจำพวกดอสและวินโดวส์ 9x (ในวินโดวส์ 9x เรียกว่า "พร้อมท์ MS-DOS" (MS-DOS Prompt)) และมีความคล้ายคลึงกับเชลล์ยูนิกซ์ที่ใช้บนระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยโปรแกรมพร้อมท์คำสั่งรุ่นแรกสำหรับวินโดวส์เอ็นทีถูกพัฒนาโดย Therese Stowell.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และCmd.exe · ดูเพิ่มเติม »

RC

RC หรือ Rc หรือ rc สามารถหมายถึง * RC ย่อมาจาก Ryohin Corporation Co., Ltd.

ใหม่!!: เชลล์ยูนิกซ์และRC · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Unix Shellยูนิกซ์เชลล์เชล(ระบบปฏิบัติการ)เปลือกระบบยูนิกซ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »