โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ. เค. โรว์ลิง

ดัชนี เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

118 ความสัมพันธ์: บริสตอลบารัก โอบามาชาลส์ ดิกคินส์บูคาเรสต์บีบีซีวันฟอบส์พ.ศ. 2508พรรคอนุรักษนิยมพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์พอตเตอร์มอร์กลอสเตอร์เชอร์กอร์ดอน บราวน์การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557การวิจัยการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551ภาคีนกฟีนิกซ์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนมหาวิทยาลัยเอดินบะระมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์ยูเอสเอทูเดย์รอยเตอร์สรางวัลแบฟตารูเบอัส แฮกริดลัทธิคอมมิวนิสต์วอร์เนอร์บราเธอส์วิสัญญีแพทย์สภายุโรปสัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ (ภาพยนตร์)สิทธิมนุษยชนสถาปัตยกรรมจอร์เจียนสถานีรถไฟลอนดอนคิงส์ครอสสงครามกลางเมืองสเปนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตีเวน สปีลเบิร์กสตีเวน คิงสโมสรฟุตบอลฟูลัมอัล กอร์อัลบัส ดัมเบิลดอร์อัลฟอนโซ กวารอนองค์การแพทย์ไร้พรมแดนฮอกวอตส์ฮิลลารี คลินตันผู้เสพความตายทวิตเตอร์ทำเนียบขาว...ดอริส เลสซิงดิอินดีเพ็นเดนต์คริส โคลัมบัสคริสตจักรแห่งอังกฤษควิดดิชในยุคต่าง ๆตู้พิศวงซี. เอส. ลิวอิสซีเอ็นบีซีประเทศมอริเชียสประเทศสกอตแลนด์ประเทศอังกฤษประเทศโปรตุเกสประเทศเวลส์ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกีนิก ฮอร์นบีนิวส์ออฟเดอะเวิลด์นิทานของบีเดิลยอดกวีนีกอลา ซาร์กอซีแอมะซอน (บริษัท)แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแองกลิคันคอมมิวเนียนแฮร์รี่ พอตเตอร์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (ภาพยนตร์)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (ภาพยนตร์)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ (ภาพยนตร์)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนีแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี (ภาพยนตร์)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบันแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (ภาพยนตร์)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสมแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (ภาพยนตร์)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2แท็บลอยด์โรลส์-รอยซ์โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งโรเบิร์ต เอฟ. เคนเนดีโอปราห์ วินฟรีย์โคคา-โคล่าโปร์ตูไมค์ นิวเวลล์ไวโอลินคอนแชร์โต (ไชคอฟสกี)ไทม์เบวูล์ฟเก้าอี้ว่างเสียงเพรียกจากคักคูเอดินบะระเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจมส์ และ ลิลี่ พอตเตอร์เจน ออสเตนเดวิด แคเมอรอนเดวิด เยตส์เดอะการ์เดียนเดอะสมิธส์เดอะซันเดอะนิวยอร์กไทมส์เดอะแคลชเดอะไทมส์เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์เซเวอร์รัส สเนปเนลสัน แมนเดลา14 มีนาคม31 กรกฎาคม ขยายดัชนี (68 มากกว่า) »

บริสตอล

ริสตอล เป็นเมืองที่อยู่ในทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ โดยมีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 433,100 คนกับประชากรในแถบชานเมืองอยู่ 1,070,000 คน เป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในอันดับ 6 ของอังกฤษและอันดับ 8 ของสหราชอาณาจักร โดยเมืองบริสตอลเป็นหนึ่งในเมืองหลักของอังกฤษตะวันตกเฉียงใต้ ใน ค.ศ. 1155 เมืองบริสตอลได้รับพระบรมราชานุญาต และใน ค.ศ. 1373 ได้สถานะเป็นเทศมณฑล ชื่อของเมืองบริสตอลเป็นภาษาอังกฤษเก่า หมายถึง ที่ซึ่งมีตะพาน เมืองนี้เคยเป็นเมืองท่ามากว่า 800 ปีแต่ตอนนี้เรือมีขนาดใหญ่กว่าเมื่อก่อนจึงย้ายเมืองท่าไปที่เมืองแอวันมอทแทน บริสตอล ในอดีตเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทาส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเมืองนี้ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง แต่ปัจจุปันได้มีโรงงานมากมายมาตั้งอยู่ที่เมืองนี้ และเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงคองคอร์ดก็ได้สร้างที่เมืองนี้.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ ดิกคินส์

ลส์ จอห์น ฮัฟแฟม ดิกคินส์ (Charles John Huffam Dickens; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1812 – 9 มิถุนายน ค.ศ. 1870) นักประพันธ์ชาวอังกฤษ และมีนามปากกาว่า “โบซ” (Boz) เกิดที่เมืองแลนด์พอร์ท แฮมเชียร์ อังกฤษใต้ สหราชอาณาจักร เป็นบุตรเสมียนฝ่ายเงินเดือนกองทัพเรือ ในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและชาลส์ ดิกคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

บูคาเรสต์

ูคาเรสต์ (Bucharest; București บูคูเรชติ) เป็นเมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศโรมาเนีย เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโรมาเนีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศที่ และตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแดมโบวิตา เมืองบูคาเรสต์มีระบุไว้ในเอกสารมาตั้งแต่ปี 1459 จากนั้นก็หายไปอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง จนกลางเป็นเมืองหลวงของโรมาเนียในปี 1862 เป็นเมืองมีจุดแข็งในเรื่องเป็นศูนย์กลางของสื่อมวลชนโรมาเนีย วัฒนธรรมและศิลปะ มีสถาปัตยกรรมหลายรูปแบบ ที่รวม สถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์ (นีโอคลาสสิก), สถาปัตยกรรมหลังสงคราม (เบาเฮาส์และอาร์ตเดโค), ยุคคอมมิวนิสต์และยุคใหม่ ในช่วงระหว่าง 2 สงครามโลก ความงามด้านสถาปัตยกรรมของเมืองทำให้เมืองมีชื่อเล่นว่า "ปารีสน้อยแห่งตะวันออก" (Micul Paris) และถึงแม้อาคารหลายหลังและเขตในศูนย์กลางประวัติศาสตร์จะถูกทำลายในช่วงสงครามหรือแผ่นดินไหว รวมถึงโครงการปรับปรุงโครงสร้างเมืองของนิโคไล เชาเชสกู แต่ก็มีอาคารสวยงามหลงเหลืออยู่ ในปีหลัง ๆ เมืองมีความรุ่งเรืองด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม จากข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและบูคาเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

บีบีซีวัน

ีบีซีวัน (BBC One) เป็นช่องโทรทัศน์สำคัญของบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ (บีบีซี) ในสหราชอาณาจักร เริ่มการแพร่ภาพเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและบีบีซีวัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟอบส์

อดีตอาคารสำนักงานใหญ่นิตยสารฟอบส์ในนครนิวยอร์ก ฟอบส์ (Forbes) เป็นชื่อของนิตยสารเกี่ยวกับธุรกิจและการเงินในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1917 โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมือง เจอร์ซีซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ นอกจากนี้ ทางนิตยสารยังตีพิมพ์เกี่ยวกับ ลำดับเศรษฐีของโลก ลำดับของดารา และลำดับบริษัทที่น่าสนใจในสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ปัจจุบันมีฉบับภาษาไทยในชื่อ "Forbes Thailand" หมวดหมู่:นิตยสารข่าว หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์ หมวดหมู่:นิตยสารอเมริกัน.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและฟอบส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนุรักษนิยม

รรคอนุรักษนิยม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและพรรคอนุรักษนิยม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

รรคแรงงาน (Labour Party) เป็น พรรคการเมืองกลาง-ซ้ายในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นหนึ่งในสามพรรคการเมืองใหญ่ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) ซึ่งเก่าแก่ที่สุดในสหราชอาณาจักร โดยเข้าควบรวมพรรคเสรีนิยมในช่วงต้นยุคปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์

รีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์บนกระดาษการ์ด พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์ เป็นบทความสั้น ๆ ของนักเขียน เจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งเธอเขียนขึ้นมาหลังจากแฮร์รี่ พอตเตอร์จบลง มีทั้งหมด 800 คำ 2 หน้ากระดาษด้วยกัน โดยเธอกล่าวว่า "สองสามเดือนก่อน นักเขียนจำนวนหนึ่งได้รับเชิญให้เขียนการ์ดด้วยลายมือสำหรับการประมูล โดย Waterstone's ในวันที่ 10 มิถุนายน รายได้ทั้งหมดจะมอบให้กับ English PEN ซึ่งเป็นสมาคมของนักเขียน และสมาคม Dyslexia Society" เนื้อเรื้องนั้นเกี่ยวกับการที่เจมส์ พอตเตอร์ และซิเรียส แบล็ก ต้องปะทะกับตำรวจมักเกิล ซึ่งเกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและพรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พอตเตอร์มอร์

อตเตอร์มอร์ เป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่มุ่งเน้นไปที่เนื้อหาต่าง ๆ ของแฮร์รี่ พอตเตอร์ที่ไม่ได้ถูกเล่าในหนังสือ มานำเสนอเป็นรูปแบบต่าง ๆ ก่อตั้งโดยเจ. เค. โรว์ลิง ผู้เขียน ซึ่งได้ร่วมมือกันกับบริษัทโซนีในการพัฒนาเว็บไซต์ ตัวเว็บไซต์ได้มีการรวบรวมทั้งเนื้อหาที่ไม่เคยถูกเล่าถึง ภาพกราฟิกต่าง ๆ หนังสือเสียง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้อย่างครบถ้วน พอตเตอร์มอร์เปิดให้ทดลองใช้บริการในวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 ก่อนที่จะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 2012.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและพอตเตอร์มอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กลอสเตอร์เชอร์

กลอสเตอร์เชอร์ (Gloucestershire) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักร ที่มีฐานะเป็นมณฑลภูมิศาสตร์ และมณฑลนอกเมโทรโพลิตัน กลอสเตอร์เชอร์ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษเป็นส่วนหนึ่งของค็อตสวอลล์, ลุ่มแม่น้ำเซเวิร์นและฟอเรสต์ออฟดีนทั้งหมด กลอสเตอร์เชอร์มีเขตแดนติดกับมณฑลเกว้นท์ในเวลส์ และมณฑลแฮรฟอร์ดเชอร์, มณฑลวูสเตอร์เชอร์, มณฑลวอริคเชอร์, มณฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์, มณฑลวิลท์เชอร์, มณฑลซอมเมอร์เซ็ท และมณฑลบริสตอลในอังกฤษ ในฐานะมณฑลบริหารกลอสเตอร์เชอร์ไม่รวมเซาท์กลอสเตอร์เชอร์ที่มีการปกครองระบบการบริหารเป็นของตนเอง กลอสเตอร์เชอร์แบ่งการปกครองเป็นเจ็ดแขวง: กลอสเตอร์, ทูคสบรี, เชลท์แนม, ค็อตสวอลล์, สเตราด์, ฟอเรสต์ออฟดีน (ดิสตริคท์)ฟอเรสต์ออฟดีน และเซาท์กลอสเตอร์เชอร์ โดยมีกลอสเตอร์เป็นเมืองหลวงของมณฑล นอกจากกลอสเตอร์ก็ยังมีเมืองหลักอื่นๆ เช่นเชลท์แนม, สเตราด์, ไซเร็นเซสเตอร์ และทูคสบรี กลอสเตอร์เชอร์มีเนื้อที่ 3,150 ตารางกิโลเมตร และมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 839,000 คน ถัวเฉลี่ย 266 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและกลอสเตอร์เชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ดอน บราวน์

มส์ กอร์ดอน บราวน์ (James Gordon Brown; 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นชาวสกอตแลนด์ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรและควบตำแหน่งลอร์ดแห่งสภาการคลัง, รัฐมนตรีการสวัสดิการสังคม และหัวหน้าพรรคแรงงาน ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในฐานะหัวหน้าพรรคแรงงานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลังในรัฐบาลของนายโทนี แบลร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและกอร์ดอน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557

มีการลงประชามติว่าประเทศสกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่ในวันที่ 18 กันยายน 2557 หลังความตกลงระหว่างรัฐบาลสกอตแลนด์และสหราชอาณาจักร มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ซึ่งกำหนดการจัดการลงประชามตินี้ในวันที่ 21 มีนาคม 2556 ผ่านรัฐสภาสกอตแลนด์เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 และได้รับพระบรมราชานุญาตในวันที่ 17 ธันวาคม 2556 คำถามลงประชามติที่คณะกรรมการการเลือกตั้งแนะนำจะเป็น "สกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่" ผู้ออกเสียงลงคะแนนตอบได้เพียงใช่หรือไม่ ผู้อยู่อาศัยทุกคนในสกอตแลนด์ที่มีอายุเกิน 16 ปีสามารถออกเสียงลงมติได้โดยมีข้อยกเว้นบางประการ รวมมีกว่า 4 ล้านคน ข้อเสนอเอกราชต้องการคะแนนเสียงข้างมากปรกติจึงจะผ่าน เยสสกอตแลนด์ (Yes Scotland) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักสนับสนุนเอกราช ขณะที่เบตเทอร์ทูเกเธอร์ (Better Together) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักคัดค้านเอกราช ขณะที่กลุ่มรณรงค์ พรรคการเมือง ธุรกิจ หนังสือพิมพ์และปัจเจกบุคคลสำคัญอื่นอีกมากเกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน ปัญหาสำคัญที่ถูกหยิบยกระหว่างการรณรงค์มีเงินตราซึ่งสกอตแลนด์หลังได้รับเอกราชจะใช้ รายจ่ายสาธารณะและน้ำมันทะเลเหนือ การนับคะแนนเริ่มหลังปิดการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งเมื่อ 22:00 BST (21:00 UTC) ของวันที่ 18 กันยายน เช้าวันที่ 19 กันยายน 2557 เมื่อนับการลงมติทั้งหมดแล้ว 55.3% ลงมติคัดค้านเอกราช หลังจากนั้น อเล็กซ์ ซัลมอนด์ นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคแห่งชาติสกอตเพื่อแสดงความรับชอบต่อผลประชามต.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

การวิจัย

อลิน เลวี วอร์เนอร์ (Olin Levi Warner) การวิจัยชูคบเพลิงแห่งความรู้ (พ.ศ. 2439) ห้องสมุดรัฐสภาสหรัฐฯ อาคารโทมัส เจฟเฟอร์สัน, วอชิงตัน ดีซี การวิจัย (research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้ว.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

ภาคีนกฟีนิกซ์

มาชิกภาคีบางส่วน ภาคีนกฟีนิกซ์ (Order of the Phoenix) เป็นองค์การลับในชุดหนังสือบันเทิงคดีแฮร์รี่ พอตเตอร์ เขียนโดย เจ. เค. โรว์ลิง อัลบัส ดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้ง เพื่อต่อสู้กับลอร์ดโวลเดอมอร์และสมุนผู้เสพความตาย ภาคีฯ เป็นชื่อของหนังสือเล่มที่ห้าในชุด ชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและภาคีนกฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน

มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน (University of Aberdeen) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1495 เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสามของสกอตแลนด์ และอันดับห้าของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเมืองแอเบอร์ดีน ทางด้านตะวันออกของสกอตแลนด์ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนถูกตั้งขึ้นโดย William Elphinstone องค์พระสันตปาปาแห่งเมืองแอเบอร์ดีน มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีชื่อเสียงทางด้านงานวิจัยและการเรียนการสอนทางด้านการแพทย์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกฎหมาย โดยเฉพาะสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์นั้น ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีศูนย์ Medical Science ที่มีความทันสมัยที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนยังเป็นศูนย์กลางการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ของสก็อตแลนด์อีกด้วย มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนมีชื่อเสียงทางด้านกฎหมายเป็นอย่างมากและได้รับการจัดอันดับให้อยู่ใน Top 10 ของ UK โดยนอกจากจะมีหลักสูตรทางด้านกฎหมายสาขาต่างๆที่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นแล้ว ยังมีหลักสูตร Energy law ที่ครอบคลุมทั้ง Oil & Gas, Renewable Energy, Energy Market, Upstream และ Downstream อีกด้ว.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและมหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเอดินบะระ

ตึกโอลด์คอลเลจ ที่ตั้งของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ (The University of Edinburgh; Universitas Academica Edinburgensis) ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1583 เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 4 ของสกอตแลนด์ ถัดจาก มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูวส์ (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1410) มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1451) และ มหาวิทยาลัยอเบอร์ดีน (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1495) มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้านการสอนและการวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร เอดินบะระเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในสหราชอาณาจักร เอดินบะระเป็นสมาชิกของกลุ่มรัสเซล (Russell Group) ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเดียวของสกอตแลนด์ (และมหาวิทยาลัยเดียวในสหราชอาณาจักร นอกเหนือจาก เคมบริดจ์ และอ๊อกซฟอร์ด) ที่เป็นสมาชิกของ Coimbra Group และ LERU สองกลุ่มมหาวิทยาลัยชั้นนำของยุโรป และยังเป็นสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัย Universitas 21 อีกด้วย ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 มหาวิทยาลัยเอดินบะระได้กลายเป็นศูนย์กลางของยุครู้แจ้งของยุโรป (European Enlightenment) และกลายเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่สำคัญที่สุดของทวีปยุโรป.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและมหาวิทยาลัยเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ (University of Exeter) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ปัจจุบันมีพื้นที่ทำการเรียนการสอน และทำการวิจัยรวมทั้งสิ้น 3 วิทยาเขต ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเอ็กซิเตอร์ มณฑลเดวอน จำนวน 2 วิทยาเขต และในมณฑลคอร์นวอลล์ 1 วิทยาเขต มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ได้รับตำแหน่ง มหาวิทยาลัยแห่งปี จากไทมส์ไฮเออร์เอ็ดดูเคชัน ในปีค.ศ. 2007 และ เดอะซันเดย์ไทมส์ ในปีค.ศ. 2013 และได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรอยู่ในอันดับที่ 7 จาก เดอะไทมส์ และ เดอะซันเดย์ไทมส์ (2015) และอันดับที่ 10 โดย เดอะการ์ดเดียน (2013) และ เดอะคอมพลีทยูนิเวอร์ซิตีไกด์ (2014) อีกทั้งยังได้รับการจัดอันดับให้อยู่ภายในสิบอันดับแรกมาตลอด ของการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชาติ ตั้งแต่มีการเริ่มทำการสำรวจในปี ค.ศ. 2005 มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์เป็นสมาชิกของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ชั้นนำของสหราชอาณาจักร รวมถึงกลุ่ม Universities UK สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งยุโรป(EUA) สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งเครือจักรภพ(ACU) และเป็นสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสมาคม MBAs(AMBA).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์

มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์ (University of St Andrews) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในสกอตแลนด์ และเป็นอันดับสามในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ ก่อตั้งระหว่างปี ค.ศ. 1410 - 1413 ตั้งอยู่ที่รอยัลเบอระออฟเซนต์แอนดรูส์ (Royal Burgh of St Andrews) ในเมืองไฟฟ์ บนชายฝั่งตะวันออกของสกอตแลนด์ มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงว่าเป็นเลิศแห่งหนึ่งในโลกและเป็นที่นิยมโดยชนชั้นสูงเป็นอย่างมาก มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นที่รู้จักกันมากขึ้นในประเทศไทยหลังจากที่เจ้าชายวิลเลียม รัชทายาทอันดับสองของสหราชอาณาจักร เสร็จมาศึกษาต่อที่นี่ ด้วยจำนวนนักเรียนกว่า 40% เป็นชาวอังกฤษ เซนต์แอนดรูส์จึงได้รับขนานนามว่า “มหาวิทยาลัยอังกฤษของสกอตแลนด์” นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นนานาชาติสูงมาก โดยมีนักเรียนหนึ่งในสี่มาจากประเทศต่างๆ กว่า 75 ประเทศทั่วโลก ในปัจจุบันเซนต์แอนดรูว์ถูกจัดอันดับโดยนิตยสารต่างๆ ให้เป็นมหาวิทยาลัย Top 10 ในสหราชอาณาจักรที่มีการสอนและผลงานวิจัยที่เป็นเลิศในทุกแขนงวิชา โดยเฉพาะสาขาจิตวิทยาและภาษาอังกฤษ ตลอดระยะเวลาหลายร้อยปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้ผลิตศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั่วโลกมากมาย ยกตัวอย่างเช่น โรเบิร์ต วัตสัน วัตต์ นักประดิษฐ์ที่ประดิษฐ์เรดาร์ซึ่งมีบทบาทสำคัญกับชัยชนะของบริเทนในสงครามโลกครั้งที่สอง และ จอห์น เนเปีย ผู้คิดค้นล็อกกาลิธึม เป็นต้น.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและมหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอทูเดย์

อาคารสำนักงานใหญ่ของ ยูเอสเอ ทูเดย์ ในเมืองแมกลีน รัฐเวอร์จิเนีย ยูเอสเอทูเดย์ (USA Today) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันของสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์โดยบริษัทแกนเนตต์ ก่อตั้งโดยอัล นูฮาร์ธ ถือเป็นหนังสือพิมพ์ที่มียอดขายมากที่สุดกว่าหนังสือพิมพ์ใดในสหรัฐอเมริกา (เฉลี่ย 2.11 ล้านเล่ม ในวันธรรมดา) และในบรรดาหนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่ภาษาอังกฤษทั่วโลกแล้ว มียอดขายเป็นอันดับ 2 รองจาก เดอะไทมส์ออฟอินเดีย ที่ขายได้ 3.14 ล้านเล่มต่อวัน ยูเอสเอทูเดย์ ออกวางขายใน 50 รัฐของสหรัฐอเมริกา แคนาดา วอชิงตันดีซี เปอร์โตริโก และเกาะกวม.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและยูเอสเอทูเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

รอยเตอร์ส

อาคารสำนักงานใหญ่ที่กรุงลอนดอน สำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) คือผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ให้แก่สำนักข่าวต่างๆ ของโลก สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยรอยเตอร์สได้รับรายได้ส่วนมาก (กว่าร้อยละ 90) จากการให้บริการข้อมูลทางการเงินต่างๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นต้น และการให้บริการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตต่างๆ โดยปัจจุบันนี้รอยเตอร์สมีส่วนแบ่งการตลาดในด้านการบริการข้อมูลทางการเงินมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 23 รองจาก บลูมเบิร์ก (Bloomberg) ที่ควบคุมส่วนแบ่งการตลาดมากถึงร้อยละ 33 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 รอยเตอร์สได้รวมกิจการกับบริษัททอมสัน คอร์ปอเรชัน (Thomson Corporation) ผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินรายใหญ่จากแคนาดาที่มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 11 โดยบริษัทใหม่ได้ใช้ชื่อว่า ทอมสัน รอยเตอร์ส (Thomson Reuters) และจะกลายเป็นผู้ให้บริการทางการเงินรายใหญ่ที่สุดของโลกด้วยส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 34 แซงหน้าบลูมเบิร์กที่มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 33.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและรอยเตอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลแบฟตา

รางวัลแบฟตา รางวัลสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์บริติช (British Academy of Film and Television Arts) หรือ แบฟตา (BAFTA) เป็นรางวัลการแจกรางวัลประจำปีของสหราชอาณาจักร ที่มอบรางวัลให้กับภาพยนตร์ โทรทัศน์ รายการสำหรับเด็ก และสื่อเชิงโต้ตอบ การแจกรางวัลเริ่มมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1947 ในฐานะเดอะบริติชฟิล์มอะแคเดมี โดย เดวิด ลีน, อเล็กซานเดอร์ คอร์ดา, คาโรล รีด, ชาลส์ ลอตัน, โรเจอร์ แมนเวลล์ และคนอื่น ๆ ต่อมาในปี ค.ศ. 1958 สถาบันได้รวมกับ The Guild of Television Producers and Directors และก่อตั้งเป็น The Society of Film and Television ซึ่งต่อมาก็ได้เปลี่ยนมาเป็น The British Academy of Film and Television Arts (BAFTA) ในปี 1976 สัญลักษณ์รางวัลที่มองเป็นรูปหน้ากากออกแบบโดย Mitzi Cunliffe ประติมากรชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและรางวัลแบฟตา · ดูเพิ่มเติม »

รูเบอัส แฮกริด

รูเบอัส แฮกริด ผู้รักษากุญแจและประตูฮอกวอตส์ เป็นครึ่งยัก มีแม่เป็นยักษ์ สูงกว่าผู้ชายธรรมดา2เท่า เคยเรียนที่ฮอกวอตส์ สมัยเดียวกับทอมริดเดิ้ลถูกไล่ออกตอนปี3โดยเนื้อเรื่องอยู่ในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับเป็นคนนำแฮรรี่ออกจากบ้านที่ ก๊อดดริก ฮอลโล่ หลังจากวอลเดอมอร์ สูญเสียพลัง และเป็นคนพาแฮร์รี่ ไปฮอกวอตส์ และพูดถึงประวัติของแฮร์รี่บางส่วนรูเบอัส แฮกริด ศาสตราจารย์สอนวิชาดูแลสัตวิเศษ หลัง ซิลวาล์นัส เค็ตเทิลเบลิน.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและรูเบอัส แฮกริด · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วอร์เนอร์บราเธอส์

วอร์เนอร์บราเธอส์ (Warner Bros.) เป็นบริษัทในธุรกิจภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริกา สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เบอร์แบงก์ รัฐแคลิฟอร์เนีย บริษัทประกอบด้วยบริษัทย่อยหลายบริษัทได้แก.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและวอร์เนอร์บราเธอส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสัญญีแพทย์

วิสัญญีแพทย์ (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน)) คือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการให้ยาชาและยาสลบ โดยมักทำงานร่วมกับแพทย์ผ่าตัดเพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดของคนไข้ก่อนทำการผ่าตัดเพียงชั่วคราว ผู้ที่จะเป็นวิสัญญีแพทย์ได้ต้องจบการศึกษาแพทยศาสตร์บัณฑิตก่อน แล้วจึงจะมาต่อเฉพาะทาง สาขาวิสัญญีวิทยา ใช้เวลาศึกษาประมาณ3ปี ส่วนพยาบาลก็สามารถเรียนรู้ฝึกทักษะเกี่ยวกับวิสัญญีวิทยาได้ โดยการฝึกเป็นวิสัญญีวิทยา ใช้เวลาในการศึกษษประมาณ1ปีและทำงานภายในการควบคุมดูแลของวิสัญญีแพทย์ หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:วิสัญญีวิทยา หมวดหมู่:แพทย์เฉพาะทาง หมวดหมู่:การแพทย์เฉพาะทาง หมวดหมู่:วิสัญญีแพทย์ sl:Anesteziolog.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและวิสัญญีแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

สภายุโรป

รป (Council of Europe, ตัวย่อ CoE, Conseil de l'Europe) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลส่วนภูมิภาค (regional intergovernmental organisation) ที่ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสภายุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่

ัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ (Fantastic Beasts and Where to Find Them) เป็นหนังสือชุดพิเศษในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่เขียนโดยเจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งเขียนมอบให้แก่การกุศล โดยสมมติว่าหนังสือเล่มนี้เป็นสมบัติของแฮร์รี่ พอตเตอร์ ในหนังสือเล่มนี้เป็นของโรงเรียนฮอกวอตส์ที่นักเรียนปีหนึ่งทุกคนต้องซื้อ มีชื่อสัตว์เรียงลำดับตัวอักษร A ถึง Z ที่มีชีวิตอยู่ และยังแยกประเภทความดุร้ายไว้ด้วย รวมถึงบอกเล่าความเป็นมาอย่างละเอียดของสัตว์วิเศษหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น บาสิลิสก์ ฮิปโปกริฟฟ์ เซนเทอร์ ยูนิคอร์น กัปปะ พิกซี่ มนุษย์หมาป่า เป็นต้น รายได้ของหนังสือเล่มนี้ได้ถูกมอบให้แก่การกุศล.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ (ภาพยนตร์)

ัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ (Fantastic Beasts and Where to Find Them) เป็นภาพยนตร์จินตนิมิต กำกับโดยเดวิด เยตส์ ร่วมอำนวยการสร้างและเขียนบทโดยเจ. เค. โรว์ลิง โดยอิงจากหนังสือที่มีชื่อเดียวกันที่เธอเป็นผู้เขียนเอง ภาพยนตร์เรื่องนี้มีเนื้อเรื่องที่แยกออกมาจากภาพยนตร์ชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ นำแสดงโดยเอดดี เรดเมย์น, แคทเธอริน วอเตอร์สตัน, อลิสัน ซูดอล, แดน ฟ็อกเลอร์, ซามันทา มอร์ตัน, เอซรา มิลเลอร์, เฟธ วูด-แบลกโรฟ, เจนน์ เมอร์เรย์, โคลิน ฟาร์เรล, จอน วอยต์และรอน เพิร์ลแมน สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ เข้าฉายที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิมนุษยชน

ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H. Weston, March 20, 2014, Encyclopedia Britannica,, Retrieved August 14, 2014 โดยไม่คำนึงถึงชาติ สถานที่ ภาษา ศาสนา ชาติพันธุ์กำเนิดหรือสถานภาพอื่นใด สิทธิมนุษยชนใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาในแง่ที่เป็นสากล และสมภาคในแง่ที่เหมือนกับสำหรับทุกคนThe United Nations, Office of the High Commissioner of Human Rights,, Retrieved August 14, 2014 สิทธิดังกล่าวต้องการความร่วมรู้สึกและหลักนิติธรรมGary J. Bass (book reviewer), Samuel Moyn (author of book being reviewed), October 20, 2010, The New Republic,, Retrieved August 14, 2014 และกำหนดพันธะต่อบุคคลให้เคารพสิทธิมนุษยชนของผู้อื่น สิทธิดังกล่าวไม่ควรถูกพรากไปยกเว้นอันเป็นผลของกระบวนการทางกฎหมายที่ยึดพฤติการณ์แวดล้อมจำเพาะ ตัวอย่างเช่น สิทธิมนุษยชนอาจรวมเสรีภาพจากการจำคุกโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การทรมานและการประหารชีวิตMerriam-Webster dictionary,, Retrieved August 14, 2014, "rights (as freedom from unlawful imprisonment, torture, and execution) regarded as belonging fundamentally to all persons" ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ สถาบันโลกและภูมิภาค การกระทำของรัฐและองค์การนอกภาครัฐก่อพื้นฐานของนโยบายสาธารณะทั่วโลก แนวคิดสิทธิมนุษยชนเสนอว่า "หากวจนิพนธ์สาธารณะสังคมโลกยามสงบสามารถกล่าวเป็นภาษาศีลธรรมร่วมได้ สิ่งนั้นคือสิทธิมนุษยชน" การอ้างอย่างหนักแน่นโดยลัทธิสิทธิมนุษยชนยังกระตุ้นกังขาคติและการอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหา สภาพและการให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมายซึ่งสิทธิมนุษยชนตราบจนทุกวันนี้ ความหมายแน่ชัดของคำว่า "สิทธิ" นั้นมีการโต้เถียงและเป็นหัวข้อการอภิปรายทางปรัชญาต่อไป ขณะที่มีการเห็นพ้องต้องกันว่าสิทธิมนุษยชนครอบคลุมสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม การคุ้มครองจากการเป็นทาส การห้ามพันธุฆาต เสรีภาพในการพูดMacmillan Dictionary,, Retrieved August 14, 2014, "the rights that everyone should have in a society, including the right to express opinions about the government or to have protection from harm"หรือเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษา แต่ยังเห็นไม่ลงรอยกันเกี่ยวกับว่าสิทธิใดบ้างต่อไปนี้ควรรวมอยู่ในกรอบทั่วไปของสิทธิมนุษยชน นักคิดบางคนเสนอว่าสิทธิมนุษยชนควรเป็นข้อกำหนดพื้นฐานเพื่อเลี่ยงการละเมิดที่ร้ายแรงที่สุด ขณะที่บางคนมองว่าเป็นมาตรฐานขั้นสูง ความคิดพื้นฐานดังกล่าวจำนวนมากซึ่งขับเคลื่อนขบวนการสิทธิมนุษยชนพัฒนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองและความเหี้ยมโหดของฮอโลคอสต์ จนลงเอยด้วยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในกรุงปารีสในปี 2491 คนโบราณไม่มีแนวคิดสิทธิมนุษยชนสากลสมัยใหม่แบบเดียวกัน การบุกเบิกวจนิพนธ์สิทธิมนุษยชนอย่างแท้จริงนั้นคือมโนทัศน์สิทธิธรรมชาติซึ่งปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของประเพณีกฎหมายธรรมชาติยุคกลางซึ่งโดดเด่นขึ้นระหว่างยุคภูมิธรรมยุโรปโดยมีนักปรัชญาอย่างจอห์น ล็อก, ฟรานซิส ฮัตชิสัน (Francis Hutcheson) และฌ็อง-ฌัก บือลามาคี (Jean-Jacques Burlamaqui) และซึ่งมีการเสนออย่างโดดเด่นในวจนิพันธ์การเมืองของการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติฝรั่งเศส จากรากฐานนี้ การให้เหตุผลสิทธิมนุษยชนสมัยใหม่กำเนิดขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาจเป็นปฏิกิริยาต่อความเป็นทาส การทรมาน พันธุฆาตและอาชญากรรมสงคราม โดยความตระหนักถึงความเปราะบางของมนุษย์ในตัวและเป็นเงื่อนไขก่อนความเป็นไปได้ของสังคมยุติธรรม.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสิทธิมนุษยชน · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมจอร์เจียน

หาสน์แบบสถาปัตยกรรมจอร์เจียนทีซอลสบรีในอังกฤษ ดันเฟิร์มไลน์ในสกอตแลนด์ที่สร้างระหว่างระหว่างปี ค.ศ. 1807 ถึง ปี ค.ศ. 1811 สถาปัตยกรรมจอร์เจียน (Georgian architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1720 จนถึง ค.ศ. 1840 ซึ่งตรงกันกับรัชสมัยพระเจ้าจอร์จสี่พระองค์ในราชวงศ์แฮโนเวอร์ที่ครองราชย์ในสหราชอาณาจักร ได้แก่ พระเจ้าจอร์จที่ 1 พระเจ้าจอร์จที่ 2 พระเจ้าจอร์จที่ 3 และพระเจ้าจอร์จที่ 4 ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1714 มาจนกระทั่งถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1830.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสถาปัตยกรรมจอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟลอนดอนคิงส์ครอส

นชาลาที่ 8 ของสถานีรถไฟลอนดอนคิงส์ครอส รถไฟจอดในชานชาลา สถานีรถไฟลอนดอนคิงส์ครอส (London King's Cross railway station) เป็นสถานีรถไฟที่สำคัญแห่งหนึ่งในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสถานีรถไฟลอนดอนคิงส์ครอส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน สปีลเบิร์ก

ตีเวน อัลลัน สปีลเบิร์ก เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1946 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ผู้สร้างหนัง สปีลเบิร์กรับรางวัลออสการ์ 3 ครั้ง.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสตีเวน สปีลเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน คิง

ตีเฟน เอ็ดวิน คิง เป็นนักเขียนนิยายเขย่าขวัญ ชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2490 เคยใช้นามปากกาว่า ริชาร์ด บาร์คแมน (Richard Bachman) และ จอห์น สวิเธน (John Swithen) เขียนนวนิยายเรื่องแรกคือ Carrie ในปี พ.ศ. 2516 ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Doubleday & Co.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสตีเวน คิง · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลฟูลัม

มสรฟุตบอลฟูลัม (Fulham Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลในพรีเมียร์ลีกของฟุตบอลอังกฤษ ก่อตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2422 (ค.ศ. 1879) สนามเหย้าปัจจุบันใช้สนามเครเวนคอตทิจในกรุงลอนดอน โดยฟูแลมอยู่ภายใต้การครอบครองของโมฮัมเหม็ด อัลฟาเยด นักธุรกิจชาวอียิปต์ได้มอบเงินลงทุนจำนวนมหาศาลในการซื้อนักเตะเข้าทีม ฟูลัมเคยดึงนักเตะชื่อดังอย่าง กาเบรียล โอแบร์กต็อง นักเตะทีมชาติฝรั่งเศสมาด้วยค่าตัว 40 ล้านปอนด์ ทำผลงานได้ดีมากและใน2015-16ทำให้ทีมคว้าแชมป์ฟุตบอลพรีเมียร์ลีกสมัยแรกได้สำเร็จในปี 2015-2016ซึ่งในช่วงท้ายฤดูกาลนั้นฟูลัมจำเป็นต้องชนะใน 3 นัดสุดท้ายเพื่อลุ้นแชมป์โดยนัดสุดท้ายฟูลัมชนะพอร์ทสมัธ1-0จากแดนนี เมอร์ฟี อดีตนักเตะลิเวอร์พูล ทำให้ฟูลัมเลื่อยอันดับไปอยู่ที่ 1 ที่จะมีการปรับเปลี่ยนทีมซึ่งทำให้ฟูลัมซึ่งคว้าแชมป์สมัยแรกเป็นทีมได้ไปเล่นฟุตบอลยุโรปซึ่งในฤดูกาล 2015-2016 ฟูลัมซึ่งได้โควตาเล่นฟุตบอลยูฟ่าแชมป์เปียร์ลีก (เปลี่ยนชื่อจากยูฟ่าคัพ) ฝ่าด่านทีมดังอย่างชัคเตอร์ โดห์เนตค์, ยูเวนตุส, ฮัมบูร์ก เข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ ในยุคของ รอย ฮอดจ์สัน แต่ก็แพ้ อัตเลตีโกมาดริด ทีมจากสเปน ไป 2-1 อย่างน่าเสี.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและสโมสรฟุตบอลฟูลัม · ดูเพิ่มเติม »

อัล กอร์

'''อัล กอร์''' หลังดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐ อัลเบิร์ต อาร์โนลด์ "อัล" กอร์ จูเนียร์ (Albert Arnold "Al" Gore Jr.) (เกิด 31 มีนาคม พ.ศ. 2491) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน นักธุรกิจ เขาเป็นประธานของช่องรายการโทรทัศน์อเมริกัน เคอร์เรนท์ ทีวี (Current TV) ซึ่งชนะรางวัลเอ็มมี่ปี 2550, ประธานบริษัท เจเนอเรชั่น อินเวสท์เมนท์ แมเนจเมนท์ (Generation Investment Management LLP), หนึ่งในคณะกรรมการบริษัท แอปเปิ้ล (Apple Inc.), ประธาน องค์กรพันธมิตรเพื่อการปกป้องสภาพอากาศ (Aliance for Climate Protection), และที่ปรึกษาอย่างไม่เป็นทางการแก่ผู้บริหารระดับสูงของกูเกิ้ล (Google) และในปี พ.ศ. 2550 นายอัล กอร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันต.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและอัล กอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลบัส ดัมเบิลดอร์

อัลบัส เพอร์ซิวาล วูลฟริก ไบรอัน ดัมเบิลดอร์ (Albus Percival Wulfric Brian Dumbledore) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง มีบทบาทเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ในเนื้อหาเกือบทั้งหมดของเรื่อง ต่อมามีการเปิดเผยในเนื้อเรื่องว่าดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้งภาคีนกฟีนิกซ์ซึ่งเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อต่อสู้กับตัวร้ายของเรื่องคือลอร์ดโวลเดอมอร์ มีการกล่าวว่าอัลเฟรด ดันน์ (Alfred Dunn) อดีตอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนเซนต์ไมเคิล (St Michael's Primary School) ที่โรว์ลิ่งเคยเรียนอยู่ เป็นแรงบันดาลใจในการให้กำเนิดตัวละครนี้ ในภาพยนตร์สองภาคแรกนั้นผู้ที่รับบทเป็นดัมเบิลดอร์คือริชาร์ด แฮร์ริสซึ่งเสียชีวิตลงก่อนหนังภาคสองจะได้เข้าฉาย ดังนั้นเซอร์ไมเคิล แกมบอนจึงได้รับบทดัมเบิลดอร์ในภาคต่อๆ ม.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและอัลบัส ดัมเบิลดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟอนโซ กวารอน

อัลฟอนโซ กวารอน อัลฟอนโซ กวารอน โอโรซโก เกิดวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและอัลฟอนโซ กวารอน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การแพทย์ไร้พรมแดน

องค์การแพทย์ไร้พรมแดน (Médecins Sans Frontières,, เมดแซ็งซ็องฟรงเตียร์) หรือ แอมแอ็สเอ็ฟ (MSF) เป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ก่อตั้งเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม โดยมุ่งช่วยเหลือประเทศที่ตกอยู่ในภาวะสงคราม หรือประเทศกำลังพัฒนาที่ประสบปัญหาโรคระบาด องค์การแพทย์ไร้พรมแดน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2514 โดยพัฒนามาจากกลุ่มความช่วยเหลือทางการแพทย์และผ่าตัดโดยรีบด่วน (Groupe d'Intervention Médicale et Chirurgicale en Urgence, กรุปแด็งแตร์ว็องซียงเมดีกาเลชีรูร์ฌีกาล็องนูร์ฌ็องส์) ซึ่งเป็นกลุ่มแพทย์อาสาสมัครชาวฝรั่งเศส ที่ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมภายหลังการเกิดสงครามกลางเมืองในประเทศไนจีเรีย (พ.ศ. 2510 - พ.ศ. 2513) ปัจจุบันบริหารงานโดยคณะกรรมการซึ่งมีสำนักงานอยู่ที่นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ ดำเนินงานโดยแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ประมาณ 3,000 คน ปฏิบัติงานในโครงการต่าง ๆ สำหรับในสหรัฐอเมริกา องค์การนี้ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Doctors Without Borders องค์การแพทย์ไร้พรมแดน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี ค.ศ. 1999 จากการเป็นผู้นำ ให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์ในทวีปต่าง.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและองค์การแพทย์ไร้พรมแดน · ดูเพิ่มเติม »

ฮอกวอตส์

รงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ (Hogwarts School of Witchcraft and Wizardry) ย่อเป็น ฮอกวอตส์ เป็นโรงเรียนสอนเวทมนตร์สมมติของประเทศสก็อตแลนด์ซึ่งเปิดสอนนักเรียนอายุระหว่างสิบเอ็ดถึงสิบแปดปี และเป็นฉากท้องเรื่องหลักในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิง หกเล่มแรก โรว์ลิงแนะว่าเธออาจได้ชื่อมาโดยไม่ตั้งใจจากต้นฮอกวอร์ต (Croton capitatus) ซึ่งเธอเห็นที่คิวการ์เดนส์ก่อนเขียนแฮร์รี่ พอตเตอร์ แม้ว่าชื่อ "เดอะฮอกวอตส์" และ "ฮอกก์วอตส์" จะปรากฏในหนังสือ How To Be Topp by Geoffrey Willans ของไนเจล โมส์เวิร์ธเมื่อปี 2497 แล้ว โรงเรียนฮอกวอตส์ได้รับคะแนนเสียงเป็นสถานศึกษาที่ดีที่สุดของสกอตแลนด์อันดับที่ 36 ในการจัดอันดับออนไลน์เมื่อปี 2551 เอาชนะโรงเรียนลอเรตโตของเอดินบะระ ซึ่งผู้อำนวยการการจัดอันดับเครือข่ายโรงเรียนอิสระ โรงเรียนฮอกวอตส์ถูกเพิ่มเข้าไปในรายการโรงเรียน "เพื่อความสนุก".

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและฮอกวอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิลลารี คลินตัน

ลลารี ไดแอน ร็อดแดม คลินตัน เกิดวันที่ 26 ตุลาคม..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและฮิลลารี คลินตัน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้เสพความตาย

ลอร์ดโวลเดอมอร์ (กลาง) เบลลาทริกซ์ เลสแตรงจ์ (ซ้าย) ลูเซียส มัลฟอย (ขวา) และผู้เสพความตายสวมหน้ากาก (หลัง) ผู้เสพความตาย (Death Eater) เป็นตัวละครสมมติในชุดนวนิยายและภาพยนตร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์ พวกเขาเป็นกลุ่มพ่อมดแม่มด นำโดยลอร์ดโวลเดอมอร์ ที่แสวงการทำให้ชุมชนพ่อมดแม่มดบริสุทธิ์โดยการกำจัดผู้ที่เกิดจากมักเกิล (คือ พ่อมดแม่มดที่เกิดจากพ่อแม่ที่ไม่มีเวทมนตร์) พวกเขายังพยายามสร้างระเบียบใหม่ผ่านกระทรวงเวทมนตร์และทำให้เกิดความกลัวในหมู่ชุมชนพ่อมดแม่มดโดยการข่มขวัญและสังหารข้าราชการคนสำคัญและศัตรูอื่นของผู้เสพความตาย ซึ่งหมายถึง สมาชิกภาคีนกฟีนิกซ์เป็นหลัก ผู้เสพความตายระบุได้จากตรามารบนต้นแขนซ้าย สัญลักษณ์ที่โวลเดอมอร์สร้างขึ้นเพื่อเรียกตัวเขาไปยังผู้เสพความตายทันทีหรือกลับกัน เครื่องแต่งกายปกติของพวกเขารวมเสื้อคลุมมีหมวกคลุมสีดำ และหน้ากาก กลุ่มผู้เสพความตายปรากฏครั้งแรกในนวนิยาย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี แต่สมาชิกนั้นปรากฏตั้งแต่เล่มก่อน ๆ แล้ว เช่น ลูเซียส มัลฟอย และเซเวอร์รัส สเนป.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและผู้เสพความตาย · ดูเพิ่มเติม »

ทวิตเตอร์

ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จำพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 280 ตัวอักษร ว่าตนเองกำลังทำอะไรอยู่ โดยเรียกการส่งข้อความนี้ว่า ทวีต (Tweet) ซึ่งแปลว่า เสียงนกร้อง ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและทวิตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี. โดยเป็นสถานที่พำนักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาทุกคนตั้งแต่ประธานาธิบดีจอห์น แอดัมส์ ในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและทำเนียบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ดอริส เลสซิง

อริส เมย์ เลสซิง (Doris Lessing, CH, OBE) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1919 – 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013) ดอริส เลสซิงเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอังกฤษผู้เกิดในเปอร์เชียผู้เขียนนวนิยายเช่น The Grass is Singing และ The Golden Notebook.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและดอริส เลสซิง · ดูเพิ่มเติม »

ดิอินดีเพ็นเดนต์

อินดีเพ็นเดนต์ (The Independent) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1986 โดยIndependent News & Media ฉบับวันราชการเรียกกันสั้นๆ ว่า “อินดี้” และฉบับวันอาทิตย์เรียกกันสั้นๆ ว่า “ซันดี้” “ดิอินดีเพ็นเดนต์” เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับล่าที่สุดฉบับหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและดิอินดีเพ็นเดนต์ · ดูเพิ่มเติม »

คริส โคลัมบัส

ริส โคลัมบัส เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1958 มีผลงานเกี่ยวข้องกับภาพยนตร์เรื่องแรกคือเรื่อง Reckless ที่เขาทำการเขียนบทภาพยนตร์ให้ เขาเริ่มมีชื่อเสียงในการกำกับภาพยนตร์เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ภาค 1 และ 2.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและคริส โคลัมบัส · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ควิดดิชในยุคต่าง ๆ

วิดดิชในยุคต่าง ๆ (Quidditch Through the Ages) เป็นหนังสือจำลองจากหนังสือเรียนใน โรงเรียนเวทมนตร์คาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ที่รวบรวมประวัติความเป็นมาของไม้กวาด อธิบายวิวัฒนาการของควิดดิชในแต่ละยุค รวมไปถึงกฎกติกาและการเล่นสมัยใหม่ ตำนานของควิดดิช กีฬาสุดฮิตในโลกของพ่อมดแม่มด ลูกสนิชสีทอง พัฒนากรของควิดดิช จวบจนกระทั่งเป็นควิดดิชในปัจจุบัน ซึ่งทั้งหมดนี้ผ่านช่วงเวลาต่าง ๆ นานกว่าหกศตวรรษ นอกจากนี้ ยังอธิบายวิธีเล่ อย่างละเอียด กลเม็ดต่าง ๆ ที่ใช้กันในปัจจุบัน ทีมควิดดิชที่เป็นขวัญใจของพ่อมดแม่มดทั่วโลก สุดยอดทีมควิดดิชของเอเชียและที่อื่น.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและควิดดิชในยุคต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ตู้พิศวง

ตู้พิศวง (The Lion, the Witch and the Wardrobe) เป็นนิยายแฟนตาซีเยาวชนในชุดตำนานแห่งนาร์เนีย เขียนโดยซี.เอส. ลิวอิส ใน ค.ศ. 1950 ฉบับภาษาไทยถูกตีพิมพ์หลายครั้ง บางฉบับใช้ชื่อว่า เมืองในตู้เสื้อผ้า แปลโดย อ. สนิทวงศ์ ฉบับล่าสุดจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ แปลโดยสุมนา บุณยะรัตเวช พิมพ์ครั้งแรก..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและตู้พิศวง · ดูเพิ่มเติม »

ซี. เอส. ลิวอิส

ลฟ์ สเตเปิลส์ ลิวอิส (Clive Staples Lewis; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 — 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) หรือรู้จักในนาม ซี.เอ.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและซี. เอส. ลิวอิส · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอ็นบีซี

200pxคอนซูเมอร์ นิวส์ แอนด์ บิสซิเนส แชนแนล (Consumer News and Business Channel) หรือ ซีเอ็นบีซี (CNBC) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิลที่เสนอข่าวสารเกี่ยวกับตลาดหุ้นทั่วโลก ตลอด 24 ชั่วโมง สังกัด บรรษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2532 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองรัฐนิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันซีเอ็นบีซีบริหารงานโดย เอ็นบีซียูนิเวอร์แซล ในเครือของสถานีโทรทัศน์เอ็นบีซี ของสหรัฐอเมริกา สำหรับสถานีโทรทัศน์ซีเอ็นบีซีในประเทศไทยนั้นสามารถรับชมผ่าน ทรูวิชั่นส์ ช่อง 73 ระบบดิจิตอล และช่อง 44 ในระบบอนาล็อก.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและซีเอ็นบีซี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเชียส

มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและประเทศมอริเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวลส์

วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 1825 (ค.ศ. 1282) โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษทรงเข้ายึดครอง ต่อมาเมืองหลวงของเวลส์ถูกย้ายจากคายร์นาร์วอน (ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าชายเวลส์) มาที่คาร์ดิฟฟ์ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี (Пётр Ильи́ч Чайко́вский; Pyotr Ilyich Tchaikovsky) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ปีเตอร์ อิลิช ไชคอฟสกี เป็นคีตกวีชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ที่เมืองโวทคินสค์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ที่ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ไชคอฟสกีเกิดในครอบครัวผู้มีอันจะกิน ชีวิตของเขาเต็มไปด้วยความขัดแย้งระหว่างความหรูหราและการอดมื้อกินมื้อ ข่าวอื้อฉาว และความต้องการเป็นที่ยอมรับ เขาได้รับการศึกษาจากวิทยาลัยดนตรีแห่งนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ภายใต้การดูแลของอันทอน รูบินสไตน์ จากนั้นถูกเรียกให้ไปเป็นครูสอนวิชาเรียบเรียงเสียงประสานให้แก่น้องชายของรูบินสไตน์ที่กรุงมอสโก ที่มอสโกนี่เองที่เขาได้ประพันธ์ผลงานสำคัญหลายชิ้น เป็นต้นว่าซิมโฟนีหมายเลขหนึ่ง ชื่อ ความฝันในเหมันตฤดู เขาสมรสในปี พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ด้วยความมุ่งมั่นที่จะรักษาความขัดแย้งภายในตนว่าเขาเป็นพวกรักร่วมเพศ แต่ความล้มเหลวของชีวิตแต่งงาน ที่เป็นที่โจษจันว่าอยู่กันอย่างไร้ความรักกับเจ้าสาวที่เป็นศิษย์ของเขาเอง ทำให้เขาเกือบฆ่าตัวตายสำเร็จ อารมณ์ของเขามั่นคงขึ้นในปี พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880) เมื่อเขาได้ออกเดินทางไปทั่วทวีปยุโรป ประเทศอิตาลีได้สร้างแรงบันดาลใจให้เขาประพันธ์ผลงานหลายชิ้น รวมทั้งบทเพลงชื่อ คราพริชิโอ อิตาเลียน (capriccio italien) เขาประสบความสำเร็จหลายครั้งและได้พบปะกับคีตกวีเลื่องชื่อร่วมสมัย เป็นต้นว่า โยฮันเนส บราห์ม แอนโทนิน ดโวชาค ฯลฯ เขาเดินทางไปถึงสหรัฐอเมริกาเพื่อเปิดการแสดง ไชคอฟสกีเสียชีวิตในปีพ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ด้วยอหิวาตกโรคแต่บางกระแสกล่าวว่าเขาถูกบังคับให้ดื่มยาพิษฆ่าตัวตาย จากข้อหารักร่วมเพศ เพลงของเขาเป็นสะพานเชื่อมระหว่างดนตรีตะวันตกกับดนตรีรัสเซีย ด้วยการนำเสนอแบบร่วมสมัย ซึ่งรวมถึงคีตกวีโมเดสต์ มูสซอร์กสกี และ กลุ่มคีตกวีทั้งห้า ซึ่งเขาได้สร้างมิตรภาพกับพวกเขาเหล่านั้นไว้ด้ว.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

นิก ฮอร์นบี

นิก ฮอร์นบี นิค ฮอร์นบี้ (Nick Hornby) เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน ค.ศ. 1957 เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ ผลงานที่เป็นที่รู้จักเช่นผลงานประพันธ์เรื่อง Fever Pitch, High Fidelity และ About a Boy เป็นต้น.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและนิก ฮอร์นบี · ดูเพิ่มเติม »

นิวส์ออฟเดอะเวิลด์

นิวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ (News of the World) เป็นอดีตหนังสือพิมพ์ชื่อดังของอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1843 ต่อมาได้ขายกิจการให้เจ้าพ่อสื่อจากออสเตรเลีย รูเพิร์ท เมอร์ด็อค ปิดกิจการลงเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและนิวส์ออฟเดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

นิทานของบีเดิลยอดกวี

นิทานของบีเดิลยอดกวี (The Tales of Beedle the Bard) เป็นหนังสือนิทานเด็ก ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง เพื่อเป็นหนังสือประกอบสำหรับนิยายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยหนังสือเล่มนี้ เป็นหนังสือสมมติที่ถูกอ้างถึงใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นนิยายเล่มสุดท้ายในชุดอีกด้วย เดิมที.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและนิทานของบีเดิลยอดกวี · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

แอมะซอน (บริษัท)

แอมะซอน.คอม (Amazon.com -) เป็นเว็บไซต์ในลักษณะอีคอมเมิร์ซ โดยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองซีแอตเทิล ในรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา แอมะซอนเป็นเว็บไซต์ขายของออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีขนาดใหญ่กว่าอันดับ 2 ซึ่งคือ สเตเปิลส์ ประมาณสามเท่าตัว เจฟฟ์ เบซอสก่อตั้งแอมะซอนในปี พ.ศ. 2537 และเริ่มเปิดให้บริการออนไลน์ในปี พ.ศ. 2538 โดยเริ่มต้นจากการขายหนังสือออนไลน์ และขยายกิจการทั้งในด้าน วีเอสเอช ดีวีดี ซีดีเพลง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ วิดีโอเกม เสื้อผ้า เฟอร์นิเจอร์ อาหาร ฯลฯ เว็บไซต์แอมะซอนเองยังมีเว็บไซต์ย่อยแยกออกมาสำหรับขายของในประเทศอื่นนอกเหนือจากสหรัฐอเมริกา ได้แก่ แคนาดา สหราชอาณาจักร เยอรมนี ฝรั่งเศส จีน และ ญี่ปุ่น ซึ่งนอกจากนี้ ประเทศนอกเหนือจากนี้ยังสามารถซื้อของผ่านแอมะซอน โดยการส่งสินค้าข้ามประเทศได้.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแอมะซอน (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล หรือ องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International หรือ Amnesty หรือ AI) เป็นองค์การพัฒนาเอกชนที่มีจุดประสงค์ "ในการค้นคว้าและดำเนินการป้องกันและยุติการทำร้ายสิทธิมนุษยชน และเพื่อแสวงหาความยุติธรรมสำหรับผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิ" แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ก่อตั้งขึ้นที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

แองกลิคันคอมมิวเนียน

แองกลิคันคอมมิวเนียน (Anglican Communion) เป็นองค์การระหว่างประเทศของคริสตจักรระดับชาติและระดับภูมิภาคที่ถือนิกายแองกลิคัน มีการร่วมสมานฉันท์กับคริสตจักรแห่งอังกฤษในฐานะเป็นคริสตจักรแม่ในคอมมิวเนียน มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธานไพรเมต การร่วมสมานฉันท์ในที่นี้หมายถึงมีข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดหลักความเชื่อ และชาวแองกลิคันทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรใด ๆ ในคอมมิวเนียนได้ สมาชิกของแองกลิคันคอมมิวเนียนในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 80 ล้านคนทั่วโลก นับว่าเป็นนิกายในศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามรองจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกและคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และแม้จะอยู่ในแองกลิคันคอมมิวเนียนด้วยกันก็ไม่ใช่ทุกคริสตจักรในคอมมิวเนียนนี้ที่ใช้ชื่อแองกลิคัน เช่น คริสตจักรแห่งไอร์แลนด์ คริสตจักรสกอตติชอีปิสโคปัล คริสตจักรอีปิสโคปัล (สหรัฐ) เป็นต้น บางคริสตจักรก็เรียกตนแองว่าแองกลิคันเพราะถือว่าสืบสายมาจากคริสตจักรในอังกฤษ เช่น คริสตจักรแองกลิคันแห่งแคนาดา แต่ละคริสตจักรมีสิทธฺิ์กำหนดหลักความเชื่อ แนวพิธีกรรม และกระบวนการทางนิติบัญญัติเป็นของตนเอง แต่โดยมากจะถือตามคริสตจักรแห่งอังกฤษ ทุกคริสตจักรมีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มีไพรเมตเป็นประมุข อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประมุขทางศาสนาของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่ในคริสตจักรอื่น ๆ คงเป็นที่ยอมรับเฉพาะในฐานะประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในบรรดาไพรเมตในนิกายแองกลิคันจึงถือว่าอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็น บุคคลอันดับหนึ่งในบรรดาผู้ที่เท่าเทียมกัน (Primus inter pares) ชาวแองกลิคันถือว่าแองกลิคันคอมมิวเนียนเป็นคริสตจักรที่เป็นหนึ่งเดียว ศักดิ์สิทธิ์ สากล และสืบมาจากอัครทูต มีทั้งความเป็นคาทอลิกและโปรเตสแตนต์ ศาสนิกชนบางคนจึงถือว่าแองกลิคันเป็นนิกายคาทอลิกที่ไม่ยอมรับพระสันตะปาปา หรือเป็นนิกายโปรเตสแตนต์แบบหนึ่งแม้จะไม่มีนักเทววิทยาโดดเด่นอย่างคริสตจักรอื่น เช่น มาร์ติน ลูเทอร์ จอห์น น็อกซ์ ฌ็อง กาลแว็ง ฮุลดริช สวิงลีย์ หรือจอห์น เวสลีย์ สำนักงานแองกลิคันคอมมิวเนียนมีเลขาธิการคือศาสนาจารย์ แคนันเคนเนท เคียรันเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแองกลิคันคอมมิวเนียน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ ฉบับภาษาอังกฤษ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (Harry Potter and the Order of the Phoenix) คือหนังสือเล่มที่ห้าในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลเป็นภาษาไทยโดยสุมาลี จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เป็นภาคที่ยาวที่สุด ออกวางจำหน่ายเมื่อ 21 มิถุนายน ค.ศ. 2003 15 มิถุนายน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (ภาพยนตร์)

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (Harry Potter and the Order of the Phoenix) ภาพยนตร์ภาคที่ 5 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ และ เดวิด แบร์รอน ไมเคิล โกลเดนเบิร์ก เขียนบทภาพยนตร์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง นำแสดงโดย แดเนียล แรดคลิฟฟ์, รูเพิร์ท กรินท์, เอ็มม่า วัตสัน, เฮเลน่า บอนแฮม คาร์เตอร์, ร็อบบี้ โคลเทรน, วอร์วิค เดวิส, ราล์ฟ เฟนส์, ไมเคิล แกมบอน, เบรนแดน กลีสัน, ริชาร์ด กริฟฟิธส์, เจสัน ไอแซคส์, แกรี่ โอลด์แมน, อลัน ริคแมน, ฟิโอน่า ชอว์, แมกกี้ สมิธ, อิเมลด้า สทอนตัน, เดวิด ธิวลิส, เอ็มม่า ทอมป์สัน และ จูลี่ วอลเตอร์ส ทำรายได้จากการฉายทั่วโลกไปแล้ว 360.7 ล้านหรียญเพียงสัปดาห์แรก ส่วนในประเทศไทยกับการทำรายได้ในสัปดาห์เปิดตัวไปได้ 70.2 ล้านบาท ในสัปดาห์แรก.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Philosopher's Stone) เป็นนวนิยายเล่มแรกในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ และนวนิยายประเดิมของเจ. เค. โรว์ลิง โครงเรื่องติดตามแฮร์รี่ พอตเตอร์ พ่อมดหนุ่มผู้ค้นพบมรดกเวทมนตร์ของเขา พร้อมกับสร้างเพื่อนสนิทและศัตรูจำนวนหนึ่งในปีแรกที่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ ด้วยความช่วยเหลือของมิตร แฮร์รี่เผชิญกับความพยายามหวนคืนของพ่อมดมืด ลอร์ดโวลเดอมอร์ ซึ่งฆ่าบิดามารดาของแฮร์รี่ แต่ไม่สามารถฆ่าเขาได้เมื่ออายุหนึ่งขวบ บลูมส์บิวรีในกรุงลอนดอนจัดพิมพ์หนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2540 ในปี 2541 บริษัทสกอลาสติกจัดพิมพ์ฉบับสำหรับตลาดสหรัฐอเมริกาภายใต้ชื่อเรื่อง Harry Potter and the Sorcerer's Stone นวนิยายดังกล่าวชนะรางวัลหนังสืออังกฤษส่วนใหญ่ซึ่งตัดสินโดยเด็ก และรางวัลอื่นในสหรัฐอเมริกา หนังสือนี้แตะอันดับ 1 รายการบันเทิงคดีขายดีของนิวยอร์กไทมส์ ในเดือนสิงหาคม 2542 และอยู่ใกล้อันดับ 1 เป็นส่วนใหญ่ของปี 2542 และ 2543 มีการแปลเป็นภาษาอื่นอีกหลายภาษา และมีการสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน บทปริทัศน์ส่วนใหญ่ชื่นชอบมาก โดยออกความเห็นต่อจินตนาการ ความขบขัน ความเรียบง่าย ลีลาตรงไปตรงมาและการสร้างโครงเรื่องที่ฉลาดของโรว์ลิง แม้บ้างติว่า บทท้าย ๆ ดูรวบรัด มีการเปรียบเทียบงานนี้กับงานของเจน ออสเตน ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์คนโปรดคนหนึ่งของโรว์ลิง หรือโรอาลด์ ดาห์ล ซึ่งงานของเขาครอบงำเรื่องสำหรับเด็กก่อนมีแฮร์รี่ พอตเตอร์ และโฮเมอร์ นักเล่านิยายกรีกโบราณ แม้นักวิจารณ์บางส่วนคิดว่า หนังสือนี้ดูย้อนกลับไปเรื่องโรงเรียนกินนอนสมัยวิกตอเรียและเอ็ดเวิร์ด แต่นักวิจารณ์อื่น ๆ คิดว่า หนังสือนี้วางประเภทอยู่ในโลกสมัยใหม่อย่างแนบแน่นโดยมีลักษณะประเด็นจริยธรรมและสังคมร่วมสมัย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ ร่วมกับที่เหลือของชุดถูกกลุ่มศาสนาหลายกลุ่มโจมตีและห้ามในบางประเทศเพราะกล่าวหาว่านวนิยายนี้ส่งเสริมเวทมนตร์คาถา แต่นักวิจารณ์คริสตศาสนิกบางคนเขียนว่า หนังสือนี้ยกตัวอย่างมุมมองที่สำคัญของศาสนาคริสต์หลายอย่าง ซึ่งรวมอำนาจของการสละตนเองและวิธีซึ่งการตัดสินใจของบุคคลก่อเป็นบุคลิกภาพของเขา นักการศึกษาถือว่า แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ และหนังสือตามมาเป็นตัวช่วยพัฒนาการรู้หนังสือที่สำคัญเพราะความนิยม นอกจากนี้ ยังใช้หนังสือชุดนี้เป็นแหล่งตัวอย่างในเทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์สังคมวิทยาและการตล.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (ภาพยนตร์)

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter and the Philosopher's Stone (ออกฉายในบางภูมิภาคในชื่อภาคว่า the Sorcerer's Stone)) เป็นภาพยนตร์แฟนตาซีออกฉายเมื่อ..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ คือหนังสือเล่มที่สองของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดย สุมาลี (สุมาลี บำรุงสุข) ตีพิมพ์และจัดจำหน่ายในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541 และฉบับภาษาไทยในเดือนกันยายน พ.ศ. 2543 หนังสือเล่มนี้ดำเนินเรื่องต่อจากหนังสือเล่มแรกของชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ (ภาพยนตร์)

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ (Harry Potter and the Chamber of the Secrets) ภาพยนตร์ภาคที่ 2 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์ และ สตีฟ โคลฟ เขียนบทภาพยนตร์ จากน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี (ภาพยนตร์)

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี (Harry Potter and the Goblet of Fire) ภาพยนตร์ภาคที่ 4 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี ภาพยนตร์เรื่องนี้อำนวยการสร้างโดย เดวิด เฮย์แมน จากบทภาพยนตร์ของ สตีฟ โกลฟส์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง นำแสดงโดยสามนักแสดงหลักจากสามภาคแรก แดเนียล แรดคลิฟฟ์, รูเพิร์ท กรินท์ และ เอ็มม่า วัตสัน ร่วมด้วย รอบบี้ โคลเทรน, ราล์ฟ เฟนน์ส, ไมเคิล แกมบอน, มิแรนด้า ริชาร์ดสัน, แบรนแดน กลีสัน, เจสัน อิซาคส์, แกรี่ โอล์ดแมน, อลัน ริคแมน, แมคกี้ สมิธ และทิโมธี สปอลล.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

แฮรี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน เป็นหนังสือเล่มที่สามในหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง ได้รับการตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 (1999) โดยสำนักพิมพ์บลูมส์บิวรี่ ฉบับภาษาไทยแปลโดย วลีพร หวังซื่อกุล จัดพิมพ์และจำหน่ายโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ต่อมาในปีพ.ศ. 2547(2004)ได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์โดยวอร์เนอร์ บราเธอร์สและออกฉายไปทั่วโลก หนังสือเล่มนี้ดำเนินเรื่องต่อจากภาคที่สองคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ โดยภาคนี้มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกี่ยวกับตัวของแฮรี่ รวมทั้งมีการแทรกเรื่องของความรักไว้เล็กน้อย แล..โรว์ลิ่งยังได้นำตำนานความเชื่อของกรีกโบราณมาใช้ในการเขียนด้ว.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (ภาพยนตร์)

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (Harry Potter and the Prisoner of Azkaban) ภาพยนตร์ลำดับที่ 3 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์ และ คริส โคลัมบัส ผู้กำกับภาคที่ 1 และ 2 กับเดวิด เฮย์แมนเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง นำแสดงโดย แดเนียล แรดคลิฟฟ์, รูเพิร์ท กรินท์, เอ็มม่า วัตสัน,ไมเคิล แกรมบอลล์ ที่มารับตำแหน่งดัมเบิลดอร์แทนคนก่อนเนื่องจาก คนรับตำแหน่งดัมเบิลดอร์คนก่อนเสียชีวิต ภาคนี้ยังมีนักแสดงใหม่เพิ่มอีกด้วย เช่น แกรี่ โอล์แมน,เดวิด ทไวฟ,ทิโมตี้ สปอร์ เป็นตัน.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม เป็นหนังสือเล่มที่หกในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง ออกวางจำหน่ายเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 หนังสือเล่มนี้ขายได้ถึง 9 ล้านเล่มภายใน 24 ชั่วโมงแรก ถือเป็นสถิติสูงสุดในขณะนั้น ซึ่งตอนนี้ภาคที่ตามมา แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ได้ทำลายสถิตินั้นลงไปเรียบร้อยแล้ว แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม ฉบับภาษาไทยแปลโดย "สุมาลี" จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เรื่องราวในภาคนี้เป็นเรื่องของแฮร์รี่ในชั้นปีที่ 6 ที่โรงเรียนฮอกวอตส์ เล่าถึงอดีตของลอร์ดโวลเดอมอร์และการเตรียมพร้อมรับสงครามครั้งสุดท้ายของแฮร์รี่ พร้อมทั้งสอดแทรกเรื่องราวเกี่ยวกับความรัก ความสับสนทางอารมณ์ และความขัดแย้งของตัวละครต่างๆ ซึ่งอยู่ในช่วงวัยรุ่นไว้ด้ว.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (ภาพยนตร์)

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (Harry Potter and the Half-Blood Prince) ภาพยนตร์ภาคที่ 6 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยมีเดวิด แบร์รอน กับไมเคิล โกลเดนเบิร์กเป็นผู้อำนวยการสร้าง และสตีฟ โคลฟเขียนบทภาพยนตร์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งตอนแรกมีโปรแกรมให้ผู้กำกับที่ชื่อ กิลเลโม เดล โทโร มาเป็นผู้กำกับ แต่ได้รับการปฏิเสธถึง 2 ครั้ง ทำให้เดวิด เยตส์ผู้กำกับคนก่อนมากำกับในภาคนี้และจะเป็นผู้กำกับในแฮร์รี่ พอตเตอร์ในภาคที่เหลือทั้งหมด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสมเคยมีกำหนดฉายในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 แต่ถูกเลื่อนฉายโดยบริษัทวอร์เนอร์ บราเดอร์ส และเลื่อนไปอยู่ในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 สร้างความไม่พอใจให้กับแฟนๆแฮร์รี่ ทั่วโลก แต่ถึงอย่างนั้นภาพยนตร์ก็ได้สร้างสถิติใหม่นั่นคือ ภาพยนตร์ที่ทำรายได้เปิดตัวสัปดาห์แรกจากรายได้ทั่วโลกสูงสุดโดยทำรายได้รวมไปกว่า 394 ล้านเหรียญและทำลายสถิติของไอ้แมงมุม 3 ที่ทำรายได้ไป 381 ล้านเหรียญ และทำรายได้รวมในขณะนี้ไปที่ 932 ล้านเหรียญและยังคงทำรายได้เพิ่มต่อไป.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต

หน้าปกหนังสือ ฉบับสำนักพิมพ์บลูมสบิวรี ปกอังกฤษ(ครึ่ง) หน้าปกหนังสือ ฉบับอเมริกา แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เป็นหนังสือเล่มที่เจ็ด และเป็นเล่มสุดท้ายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ฉบับภาษาอังกฤษออกวางจำหน่ายในวันที่ 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2550ฉบับภาษาไทยออกจำหน่ายวันที่ 7 ธันวาคมพ.ศ. 2550 ชื่อของหนังสือนั้นประกาศบนเว็บไซต์ของโรว์ลิ่งในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และหลังจากนั้นบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์ โรว์ลิ่งได้กล่าวว่าภาคนี้ ซึ่งถือเป็นภาคสุดท้าย มีความเกี่ยวพันกับภาคที่ผ่านมาสูงมาก "ราวกับว่าเป็นครึ่งหลังของนิยายเล่มเดียวกัน" ก่อนหนังสือจะออก มีการคาดเดาเกี่ยวกับความหมายของชื่อ Deathly Hallows ผู้แต่งได้ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า "การอธิบายความหมายของ Hallows จะเผยเนื้อเรื่องมากเกินไป" และปฏิเสธที่จะตอบคำถาม ก่อนการประกาศชื่อเรื่อง โรว์ลิ่งเคยแถลงว่ามีชื่อเรื่องที่คิดไว้สามชื่อ คือ Harry Potter and the Deathly Hallows,Harry Potter and the Peverell Quest และ Harry Potter and the Elder Wand.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1 (Harry Potter and the Deathly Hallows – Part 1) เป็นภาพยนตร์แฟนตาซี-ผจญภัยภาคต่อที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งดัดแปลงมาจากนิยายเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ตอนที่ 7 ในชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ แต่เนื่องจากในภาคสุดท้ายนั้นมีรายละเอียดมากและทางผู้สร้างต้องการให้หนังจบลงอย่างสมบูรณ์แบบ จึงแบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตตอนที่ 1 และตอนที่ 2 สำหรับตอนที่ 1 เริ่มถ่ายทำเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และจะเข้าฉายในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตอนที่ 2 จะเข้าฉายในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ภาพยนตร์มีนักแสดงนำได้แก่ แดเนียล แรดคลิฟฟ์ รูเพิร์ท กรินท์ และเอ็มม่า วัตสัน กำกับการแสดงโดย เดวิด เยตส์ เขียนบทโดยสตีฟ โคลฟ อำนวยการสร้างโดย เดวิด เฮย์แมน และเดวิด แบร์รอน โดยเนื้อเรื่องของภาคนี้จะดำเนินเรื่องต่อจากภาค 6 หลังจากที่ดัมเบิลดอร์จากไปพร้อมกับปริศนาของฮอร์ครักซ์ทไว้ให้แฮร์รี่สานต่อ โลกเวทมตร์และโลกมนุษย์ได้ถูกแทรกแซงจากลอร์ดโวลเดอมอร์อย่างสมบูรณ์ แฮร์รี่ซึ่งถูกโวลเดอมอร์หมายหัวจึงต้องหลบหนีจากการตามล่า อีกทั้งยังต้องทำภารกิจของตามหาฮอร์ครักซ์ที่ดัมเบิลดอร์ทิ้งไว้ให้เขาโดยมีรอนและเฮอร์ไมโอนี่เป็นเพื่อนร่วมเดินทางโดยมีอุปสรรคและอันตรายรอพวกเขาอยู่ และผลสุดท้ายมันอาจนำมาซึ่งสงครามระหว่างแฮร์รี่และโวลเดอมอร์ แรกเริ่มเดิมทีนั้นภาพยนตร์ทั้งสองตอนมีกำหนดฉายในระบบสามมิติแต่เนื่องจากทางผู้สร้างมีเวลาน้อยในการแปลงภาพให้ออกมาเป็นสามมิติ จึงได้ระงับการฉายระบบสามมิติในส่วนของตอนที่ 1 เนื่องจากกลัวแฟนคลับที่เฝ้ารอผิดหวังกับภาพที่ออกมาไม่ดี อย่างไรก็ตามในส่วนของตอนที่ 2 ผู้สร้างยืนยันที่จะฉายในระบบสามมิติตามเดิม.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1 · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2 (Harry Potter and the Deathly Hallows – Part 2) เป็นภาพยนตร์แฟนตาซี-ผจญภัยภาคต่อในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2 · ดูเพิ่มเติม »

แท็บลอยด์

แท็บลอยด์ (tabloid) เป็นรูปแบบของหนังสือพิมพ์เป็นที่นิยมในสหราชอาณาจักร โดยทั่วไปแท็บลอยด์มีขนาดประมาณ 597×375 มิลลิเมตร (ประมาณ 23½×14 3/4 นิ้ว) ต่อหน้าที่กางออกมา แท็บลอยด์ยังคงใช้หมายถึงหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์เรื่องทั่วไปที่เนื้อหาไม่ซีเรียส เช่น ข่าวดารา หรือ ข่าวกีฬา โดยหนังสือพิมพ์ขนาดแท็บลอยด์ในประเทศไทย เช่น สตาร์ซอคเก้อร์รายวัน บางกอกทูเดย์ ข่าวหุ้น เป็นต้น หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและแท็บลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

โรลส์-รอยซ์

ตราสัญลักษณ์ โรลส์-รอยซ์ (Rolls-Royce) รถยนต์นั่งจากประเทศอังกฤษ บริษัทก่อตั้งโดย เฟดริก เฮนรี่ รอยซ์ และ ชาร์ล โรลส์ รถยนต์ของโรลส์-รอยซ์มีลักษณะเป็นรถยนต์หรูหราขนาดใหญ่ นอกจากนี้รถยนต์แล้ว ยังได้ผลิตเครื่องยนต์สำหรับอากาศยาน ให้แก่เรือเหาะ (Zeppelin) ปัจจุบันบีเอ็มดับเบิลยูเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าของโรลส์รอยซ.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและโรลส์-รอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

รคมัลติเพิล สเกลอโรซิส (multiple sclerosis, MS, disseminated sclerosis, encephalomyelitis disseminata) เป็นโรคซึ่งทำให้มีการทำลายปลอกไมอีลินซึ่งหุ้มใยประสาทของสมองและไขสันหลังเอาไว้ ทำให้ใยประสาทไม่มีปลอกไมอีลินหุ้ม เกิดเป็นเนื้อเยื่อแผลเป็น และมีอาการและอาการแสดงอื่นๆ ตามมา ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น และมักพบในเพศหญิง มีความชุกอยู่ระหว่าง 2 - 150 ต่อ 100,000 ประชากร โดยพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต เอฟ. เคนเนดี

thumb โรเบิร์ต ฟรานซิล "บ็อบบี" เคนเนดี (Robert Francis Kennedy) หรือที่รู้จักในชื่อ "บ็อบบี" หรือชื่อย่อ อาร์เอฟเค (RFK) เป็นนักการเมืองอเมริกัน และเป็นน้องชายของจอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ "แจ็ก" เคนเนดี เขาดำรงตำแหน่งเป็นอัยการสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและโรเบิร์ต เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

โอปราห์ วินฟรีย์

อปราห์ วินฟรีย์ โอปราห์ วินฟรีย์ (Oprah Winfrey) มีชื่อจริงว่า โอปราห์ เกล วินฟรีย์ (Oprah Gail Winfrey) (เกิดเมื่อ 29 มกราคม ค.ศ. 1954) เป็นพิธีกรชื่อดังประเภททอล์คโชว์ รายการ The Oprah Winfrey Show ทอล์คโชว์ที่มีเรทติ้งการชมสูงที่สุดในประวัติศาสตร์รายการโทรทัศน์ และยังเป็นผู้หญิงชาวแอฟริกัน อเมริกันที่รวยที่สุดในศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและโอปราห์ วินฟรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

โคคา-โคล่า

รื่องหมายการค้าจดทะเบียนของบริษัทโคคา-โคล่า โคคา-โคล่า โรงงานบรรจุขวด 8 มกราคม 1941 มอนทรีออล, ประเทศแคนาดา Coca-Cola โคคา-โคล่า เป็นเครื่องดื่มอัดลมที่วางขายตามร้านค้า ภัตตาคารและตู้ขายสินค้าแบบหยอดเหรียญในกว่า 200 ประเทศ ผลิตโดย บริษัทโคคา-โคล่าแห่งแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ซึ่งมักเรียกสั้น ๆ ว่า โค้ก (เครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของบริษัทโคคา-โคล่าในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1944) เดิมตั้งใจขายเป็นยาตำรับสงวนสิทธิ์ (patent medicine) เมื่อจอห์น เพมเบอร์ตันคิดค้นขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก่อนนักธุรกิจเอซา กริกส์ แคนด์เลอร์ (Asa Griggs Candler) ผลิตโคคา-โคล่า ซึ่งกลยุทธ์การตลาดของเขานำโค้กครองตลาดเครื่องดื่มอัดลมทั่วโลกตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและโคคา-โคล่า · ดูเพิ่มเติม »

โปร์ตู

ปร์ตู (Porto) หรือ โอพอร์โต (Oporto) เป็นเมืองใหญ่อันดับสอง ของประเทศโปรตุเกส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโดรูทางตอนเหนือของประเทศ และเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางเก่าแก่ของยุโรป นอกจากนี้โปร์ตูยังได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี ค.ศ. 1996 ปัจจุบันเป็นเมืองท่าที่มีชื่อเสียง อีกทั้งไวน์จากโปร์ตูเป็นที่รู้จักอย่างมาก คำว่า โปร์ตู ในภาษาโปรตุเกส หมายถึง ท่าเรือ มหาวิหารโปร์ตู.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและโปร์ตู · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ นิวเวลล์

มค์ นิวเวลล์ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2485 เขาทำงานกำกับภาพยนตร์เรื่องแรกในชื่อ The Awakening และทำการกำกับภาพยนตร์อย่างต่อเนื่องและเขาได้กำกับภาพยนตร์ในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ภาคที่4ในชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและไมค์ นิวเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลินคอนแชร์โต (ไชคอฟสกี)

วโอลินคอนแชร์โต ในบันไดเสียง ดี เมเจอร์ (Violin Concerto in D major, Op.) ผลงานประพันธ์ของปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกีในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและไวโอลินคอนแชร์โต (ไชคอฟสกี) · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์

ปกฉบับแรกของนิตยสาร Time ไทม์ (Time หรือตามเครื่องหมายการค้าคือ TIME) เป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ของสหรัฐอเมริกา เริ่มพิมพ์ฉบับแรก โดยเป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์เล่มแรกของประเทศ โดยในปัจจุบันไทม์มีจัดพิมพ์หลายแห่งทั่วโลก โดยในยุโรปใช้ชื่อว่า "ไทม์ยุโรป" (หรือที่ในอดีตเรียกว่า ไทม์แอตแลนติก) มีสำนักงานอยู่ที่ลอนดอน และออกจำหน่ายในยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงละตินอเมริกา ส่วนในเอเชีย ใช้ชื่อว่า "ไทม์เอเชีย" มีสำนักงานที่ฮ่องกง ขณะที่ "ไทม์แคนาดา" เป็นฉบับสัญชาติแคนาดาซึ่งจัดจำหน่ายในประเทศแคนาดา และ "ไทม์เซาท์แปซิฟิก" ซึ่งจัดจำหน่ายครอบคลุมออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแปซิฟิก มีสำนักงานอยู่ที่ซิดนีย์ ในปัจจุบัน นิตยสารไทม์จัดการโดยบริษัทไทม์วอร์เนอร์ สำนักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ก และมีนายริชาร์ด สเตนเจล เป็นบรรณาธิการบริหาร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

เบวูล์ฟ

ต้นฉบับเก่าแก่ของบทกวี ''เบวูล์ฟ'' หน้าแรก เบวูล์ฟ (Beowulf) เป็นบทกวีมหากาพย์เกี่ยวกับวีรบุรุษยุคอังกฤษโบราณแต่งโดยผู้ประพันธ์หลายคนที่ไม่ทราบชื่อ งานวรรณกรรมภาษาแองโกลแซกซอนชิ้นนี้คาดว่าแต่งขึ้นในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน (1958).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเบวูล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

เก้าอี้ว่าง

ก้าอี้ว่าง เป็นนวนิยายสะท้อนสังคม เขียนโดยเจ. เค. โรว์ลิ่ง วางจำหน่ายในประเทศไทยเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่งเก้าอี้ว่างถือเป็นนวนิยายผู้ใหญ่เล่มแรกของโรว์ลิ่ง หลังจากเธอใช้เวลาเขียนวรรณกรรมเยาวชนอย่างแฮร์รี่ พอตเตอร์มาเป็นเวลานานถึง 17 ปี ตัวนิยายมีเนื้อหาสะท้อนสังคม ตีแผ่ด้านมืดในจิตใจมนุษย์ ปัญหาต่างๆในสังคม ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ปัญหาของวัยรุ่น ยาเสพติด เซ็กซ์ เล่าถึงเมืองแพกฟอร์ด เมืองเล็กๆทางตะวันตกของอังกฤษ เปิดเรื่องด้วยการตายของแบร์รี่ แฟร์บราเธอร์ สมาชิกของสภาท้องถิ่นแพกฟอร์ด ซึ่งเขาถือว่าเป็นบุคคลสำคัญของแพกฟอร์ดคนหนึ่ง การตายของแบร์รี่ส่งผลกระทบต่อหลายชีวิตในแพกฟอร์ด และทำให้ตำแหน่งของแบร์รี่นั้นว่างลง ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการเตรียมการเลือกตั้งซ่อมขึ้น แต่ด้วยเบื้องหลังของการเลือกตั้งครั้งนี้คือการกำหนดชะตากรรมของ ฟีลส์ เคหะชุมชนเสื่อมโทรม เต็มไปด้วยคนติดยา ซึ่งแบร์รี่เคยมีนโยบายให้ฟื้นฟูชุมชนนี้ ทำให้การเลือกตั้งซ่อมครั้งนี้ถูกแตกออกเป็นสองฝ่าย ในขณะเดียวกันวัยรุ่นทำสงครามกับพ่อแม่ การตายของแบร์รี่เริ่มมีผลกระทบต่อทุกคน ทุกชีวิตในแพกฟอร์ดกำลังจะมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งครั้งนี้ และแพกฟอร์ดกำลังจะเปลี่ยนไปตลอดกาล.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเก้าอี้ว่าง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเพรียกจากคักคู

ียงเพรียกจากคักคู หรือ The Cuckoo's Calling เป็นนวนิยายเล่มแรกของนวนิยายสืบสวนสอบสวนคอร์โมรัน สไตรก์ เขียนโดยโรเบิร์ต กัลเบรธ ซึ่งเป็นชื่อปลอมของ เจ. เค. โรว์ลิง ผู้เขียนวรรณกรรมแฟนตาซีชื่อดังชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยเล่าถึงคอร์โมรัน สไตรก์ นักสืบเอกชนและอดีตทหารผ่านศึกที่ได้รับการว่าจ้างให้สืบคดีฆ่าตัวตายของนางแบบชื่อดัง ในตอนแรกหนังสือถูกตีพิมพ์เพียงแค่ 1,500 เล่มเท่านั้น แต่ภายหลังมีการเปิดเผยว่าโรเบิร์ต กัลเบรธคือนามแฝงของโรว์ลิง ส่งผลให้ยอดขายหนังสือเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 4000 และด้วยความสำเร็จนี้ทำได้ให้มีการเขียนภาคต่อในชื่อ The Silkworm ซึ่งได้วางจำหน่ายในปีถัดมา อีกทั้งยังได้รับการซื้อลิขสิทธ์ไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีบีบีซีวันอีกด้ว.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเสียงเพรียกจากคักคู · ดูเพิ่มเติม »

เอดินบะระ

อดินบะระ (Edinburgh เอดินเบอระ; Dùn Èideann; บางคนอ่าน/เขียนผิดเป็น: เอดินเบิร์ก) เป็นเมืองหลวงของประเทศสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของสกอตแลนด์ เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยกลาง ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงอยู่กลางเมือง เป็นที่ตั้งของปราสาทเอดินบะระอันเป็นทำเลที่ได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ในสมัยก่อน โดยรอบภูเขาถูกปรับพื้นที่เป็นคูเมืองเพื่อประโยชน์ในเชิงการทหาร รอบนอกเป็นที่ราบลดหลั่นเป็นขั้น ๆ กระจายออกโดยรอบ เอดินบะระเป็นที่ตั้งของรัฐสภาแห่งใหม่ของสกอตแลนด์ (เพิ่งแยกออกมาจากรัฐสภาของสหราชอาณาจักร) ตั้งอยู่บนถนนสายหลักของเอดินบะระคือ รอยัลไมล์ (The Royal Mile) ซึ่งสร้างตามแนวสันเขาเชื่อมโยงพื้นที่ประวัติศาสตร์ระหว่างปราสาทเอดินบะระและพระราชวัง สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณรอยัลไมล์ ปราสาทเอดินบะระ และสวนพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะปราสาทเอดินบะระเป็นปราสาทที่เป็นสถานที่เปิดตัวของหนังสือเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ เนื่องจากมีลักษณะใกล้เคียงฉากเมืองแม่มดในท้องเรื่อง เอดินบะระเป็นเมืองที่เจริญมากที่สุดเมืองหนึ่งในสหราชอาณาจักร มีศูนย์กลางเมืองตั้งอยู่รอบ ๆ ปราสาทเอดินบะระ เมืองเอดินบะระนั้นขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองแห่งเทศกาลต่าง ๆ ตัวอย่างงานสำคัญที่ถูกจัดขึ้นในเมืองเอดินบะระ ได้แก่ เทศกาลศิลปะนานาชาติ Fringe ภาพยนตร์ วิทยาศาสตร์ งานหนังสือเด็ก เพลงแจ๊ส และเพลงพื้นบ้าน ในช่วงเทศกาลเหล่านี้ โดยเฉพาะช่วงเดือนสิงหาคมหรือช่วงหน้าร้อนของสหราชอาณาจักร ที่เมืองเอดินบะระจะมีจัดงานเทศกาลประจำปีที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวมาที่เมืองนี้เป็นจำนวนมาก จนทำให้เมืองเอดินบะระติดอันดับเมืองที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดเป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอน นอกจากนั้น เมืองเอดินบะระยังเป็นเมืองที่ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองที่เป็นมิตรกับเด็ก" (The Child Friendly City) เนื่องจากภายในเมืองมีสถานที่ท่องเที่ยวที่เหมาะสำหรับเด็กมากมาย เช่น พิพิธภัณฑ์วัยเด็กและเรื่องเล่าของผู้คน (Museum of Childhood and People’s Story) สวนสัตว์ที่มีศูนย์การศึกษาที่เคลื่อนไหวได้จริง (Dynamic Education Centre) โลกแห่งผีเสื้อและแมลง (Butterfly & Insect World) และโลกทะเลลึก (Deep Sea World) เป็นต้น ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ เมืองเอดินบะระเป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหราชอาณาจักรรองจากลอนดอนและใหญ่เป็นอันดับห้าของยุโรป โดยมีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึงสามแห่งด้วยกันคือ มหาวิทยาลัยเอดินบะระ มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์ และมหาวิทยาลัยเนเปียร์ ภาพ:Edinburgh1.JPG|ปราสาทเอดินบะระ ตั้งอยู่บนยอดเขากลางเมือง ภาพ:Edinburgh2.JPG|อาคารรัฐสภาของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเอดินบะร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์

อร์ไมโอนี่ จีน เกรนเจอร์ (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2522) เป็นตัวละครในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ และ ลิลี่ พอตเตอร์

รอบครัวพอตเตอร์ จากภาพยนตร์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ เจมส์ พอตเตอร์ และ ลิลี่ (เอฟเวนส์) พอตเตอร์ เป็นตัวละครในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยทั้งสองคนนี้เป็นพ่อและแม่ที่เสียชีวิตไปแล้วของแฮร์รี่ พอตเตอร.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเจมส์ และ ลิลี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจน ออสเตน

น ออสเตน (Jane Austen; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1775 – 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1817) เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอังกฤษที่เขียนเรื่องในแนวเหมือนจริง (realism) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีผู้อ่านผลงานมากที่สุดคนหนึ่งในบรรดาวรรณกรรมภาษาอังกฤษทั้งหมด ออสเตนเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางขนาดใหญ่ในแฮมเชอร์ และใช้ชีวิตอยู่ที่นี่เกือบทั้งชีวิต เธอได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาและพี่ชาย รวมถึงการศึกษาด้วยการอ่านด้วยตนเอง การสนับสนุนจากครอบครัวเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาไปสู่การเป็นนักเขียนอาชีพ เธอเป็นนักอ่านตัวยงและเริ่มเขียนงานตั้งแต่อายุไม่ถึงยี่สิบปี ในบรรดานวนิยายทั้งหกเรื่องที่เธอเขียนจบ เรื่องที่รู้จักกันมากที่สุดได้แก่ Sense and sensibility (ค.ศ. 1811), สาวทรงเสน่ห์ (ค.ศ. 1813) และ Emma (ค.ศ. 1816) ทุกเรื่องล้วนมุ่งเน้นชีวิตสามัญของชนชั้นกลางในชนบท และตัวนางเอกมักจะเป็นหญิงสาวผู้ได้รับการอบรมบ่มสอนที่หาเรื่องใส่ตัว หรือออกอุบายเรื่องแต่งงาน อยู่ในโลกซึ่งผู้ชายเป็นใหญ่ ตัวออสเตนเองนั้นไม่เคยแต่งงาน เธอตายด้วยโรคฮอร์โมนบกพร่องเมื่ออายุ 41 ปี.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเจน ออสเตน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด แคเมอรอน

วิด วิลเลียม ดอนัลด์ แคเมอรอน (David William Donald Cameron) เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1966 เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ อีกทั้งเดวิดยังดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 53 คนปัจจุบันแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดวิด แคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด เยตส์

วิด เยตส์ เดวิด เยตส์ เกิดปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดวิด เยตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะการ์เดียน

อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะการ์เดียน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสมิธส์

เดอะสมิธส์ (The Smiths) วงดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกจากแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งในปี 1982 โดยนักร้องนำ Morrissey, กีตาร์ลีด Johnny Marr และมือเบส Andy Rourke มือกลอง Mike Joyce วงนี้อย่างมีเพลงดังอย่าง "This Charming Man" "How Soon Is Now?" และ "There Is a Light That Never Goes Out" จนเดอะสมิธส์ แยกวงในปี 1987 หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกสัญชาติอังกฤษ หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะสมิธส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซัน

อะ ซัน (The Sun) เป็นวงร็อกแนวเฮฟวีเมทัล อยู่สังกัดค่ายอาร์เอส เบเกอรี่มิวสิค และเรียลแอนด์ชัวร์ ออกอัลบั้มในช่วงปี พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะซัน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะแคลช

อะแคลช (The Clash) เป็นวงพังก์ร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งวงในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะแคลช · ดูเพิ่มเติม »

เดอะไทมส์

อห์น วอลเทอร์ ผู้ก่อตั้งและบรรณาธิการคนแรก เดอะไทมส์ (The Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1785 เดิมใช้ชื่อว่า The Daily Universal Register ก่อตั้งโดยจอห์น วอลเทอร์ ตีพิมพ์ฉบับแรกวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1785 และเปลี่ยนชื่อเป็น The Times ตั้งแต่ฉบับที่ 941 วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1788 ในปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเดอะไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซเวอร์รัส สเนป

ซเวอรัส สเนป (Severus Snape) เป็นตัวละครในหนังสือเรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นอาจารย์วิชาสอนปรุงยาในเล่ม 1-5 และเป็นอาจารย์สอนวิชาป้องกันตัวจากศาสตร์มืดในแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม สเนปเคยเป็นพวกของ ลอร์ดโวลเดอมอร์ แต่ได้หนีออกมาจากการเป็นผู้เสพความตาย และมาอยู่กับ อัลบัส ดัมเบิลดอร์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มด ฮอกวอตต์ และหัวหน้ากลุ่มภาคีนกฟีนิกซ์ ใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสมสเนปได้สังหารอัลบัส ดัมเบิลดอร์ ใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต สเนปได้บอกกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ว่า เขารักลิลี่แม่ของ แฮร์รี่ พอตเตอร์ มาก และที่ได้ฆ่า อัลบัส ดัมเบิลดอร์ไปเพราะ ดัมเบิลดอร์เป็นคนขอร้อง และสเนปโดนลอร์ดโวลเดอมอร์ฆ่าในที.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเซเวอร์รัส สเนป · ดูเพิ่มเติม »

เนลสัน แมนเดลา

นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เจ. เค. โรว์ลิงและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

J. K. RowlingJ.K. RowlingJoanne Kathleen Rowlingโจแอนน์ แคทเธอลีน โรว์ลิ่งเจ. เค. โรวลิ่งเจ. เค. โรว์ลิ่งเจ.เค. โรลลิ่งเจ.เค. โรว์ลิงเจ.เค. โรว์ลิ่ง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »