โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เครื่องบินขับไล่

ดัชนี เครื่องบินขับไล่

รื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้น.

108 ความสัมพันธ์: บีเออี ซีแฮร์ริเออร์พานาเวีย ทอร์นาโดภาษาฝรั่งเศสภาษารัสเซียภาษาอังกฤษภาษาเยอรมันมิตซูบิชิมิตซูบิชิ เอฟ-1มิตซูบิชิ เอฟ-15เจมิตซูบิชิ เอฟ-2มิโคยันมิโคยัน มิก-29มิโคยัน มิก-31มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-15มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25มุมปะทะยาส 39ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูนระบบกำหนดตำแหน่งบนโลกระเบิดระเบิดมือราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)ราชอาณาจักรโรมาเนียร่มชูชีพล็อกฮีด มาร์ตินล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2สหภาพโซเวียตสหราชอาณาจักรสงครามกลางเมืองสเปนสงครามฤดูหนาวสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามเกาหลีสงครามเย็นอากาศยานอาวุธนิวเคลียร์อินฟราเรดฮัล เอชเอฟ-24 มารุตจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที-50 โกลเดนอีเกิลขีปนาวุธอากาศสู่พื้นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศดัซโซลท์ มิราจ 2000ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1ดัซโซลท์ มิราจ IIIดัซโซลท์-เบร์เกต์ ซูเปอร์ เอตังดาร์ทดาโซราฟาล...ซุคฮอยซุคฮอย ซู-11ซุคฮอย ซู-15ซุคฮอย ซู-17ซุคฮอย ซู-24ซุคฮอย ซู-27ซุคฮอย ซู-30ซุคฮอย ซู-33ซุคฮอย ซู-34ซุคฮอย ซู-35ซุคฮอย ซู-57ซุคฮอย ซู-7ซุคฮอย ซู-9ซ้าบซ้าบ 35 ดราเคนซ้าบ 37 วิกเก้นประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศอังกฤษประเทศอิตาลีประเทศเยอรมนีปืนกลนอร์ทอเมริกัน พี-51 มัสแตงนอร์ทอเมริกันเอวิเอชันนาซีเยอรมนีแฟร์ไชลด์รีพับลิค เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2แมคดอนเนลล์ดักลาสแอร์วิน รอมเมิลแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2โบอิงโทรทัศน์ไอเอไอ คเฟอร์เช็งยาง เจ-6เมสเซอร์ชมิทท์ เบเอฟ 109เมสเซอร์ชมิตต์เรดาร์เอ-6 อินทรูเดอร์เอฟ-117 ไนท์ฮอว์กเอฟ-14 ทอมแคทเอฟ-15 อีเกิลเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิลเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอนเอฟ-22 แร็พเตอร์เอฟ-5เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทเอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริกเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์เอ็ม61 วัลแคนเจเอฟ-17เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111เครื่องบินทิ้งระเบิดเฉิงตู เจ-10เฉิงตู เจ-20 ขยายดัชนี (58 มากกว่า) »

บีเออี ซีแฮร์ริเออร์

ริติชแอร์โรว์สเปช ซีแฮร์ริเออร์ หรือ บีเออี ซีแฮร์ริเออร์ เป็นเครื่องบินขับไล่ โจมตี และลาดตระเวนทางทะเลขึ้นลงแนวดิ่ง/ระยะสั้น พัฒนามาจากฮ็อคเกอร์-ซิดเดลี่ย์ แฮริเออร์ เข้าประจำการครั้งแรกในกองทัพราชนาวีอังกฤษ ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และบีเออี ซีแฮร์ริเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

พานาเวีย ทอร์นาโด

right พานาเวีย ทอร์นาโด (Panavia Tornado) ทอร์นาโด เป็นเครื่องบินระหว่างชาติ โดยความร่วมมือทางเทคโนโลยี จากบริษัท 3 บริษัท คือ บริษัท บีเอซี ของอังกฤษ บริษัทเมสเซอร์สมิทท์ เบอลโกว์ โบลห์ม แห่งเยอรมัน และ บริษัทแอลิตาเลีย ของอิตาลี รวมกันทางด้านเทคโนโลยีตั้งเป็นบริษัท พานาเวีย โดยทั้ง 3 บริษัทได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลทั้ง 3 ประเทศ เพื่อพัฒนาและสร้างเครื่องบินรบเอนกประสงค์สองที่นั่งและสามารถทำงานได้หลายรูปแบบเพื่อใช้สำหรับกองทัพนาโต ระบบเครื่องยนต์ไอพ่นมีระบบสันดาปท้ายช่วยให้สามารถทำความเร็วได้ถึง 2.2 มัค หรือ 2,335 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นเครื่องบินขับไล่แบบแรกที่ใช้ระบบเทคโนโลยี ฟลาย-บาย-ไวร์ และติดตั้งเรดาร์แบบที่สามารถช่วยให้บินต่ำได้ด้วยความเร็วระดับสูง สามารถบรรทุกระเบิดได้สูงสุดถึง 18,000 ปอน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และพานาเวีย ทอร์นาโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ

มิตซูบิชิ กรุ๊ป เป็นเครือบริษัทข้ามชาติของญี่ปุ่นโดยมีบริษัทในเครือกว่า 30 บริษัท ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิตซูบิชิ · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ เอฟ-1

right มิตซูบิซิ เอฟ-1 (Mitsubishi F-1) มิตซูบิซิ เอฟ-1 เป็นเครื่องบินรบความเร็วใต้เสียงแบบแรกที่สร้างโดยบริษัทมิตซูบิชิ เฮวี่ อินดัสทรีย์สของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิตซูบิชิ เอฟ-1 · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ เอฟ-15เจ

มิตซูบิชิ เอฟ-15เจ/ดีเจ อีเกิล (Mitsubishi F-15J/DJ Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ของญี่ปุ่น พัฒนาโดยมีฐานมาจาก แมคดอนเนลล์ดักลาส เอฟ-15 อีเกิลของสหรัฐอเมริกา ผลิตขึ้นภายใต้สิทธิโดยมิตซูบิชิ เฮวี่ อินดัสทรีย์ส ประจำการในกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิตซูบิชิ เอฟ-15เจ · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ เอฟ-2

มิตซูบิชิ เอฟ-2 เครื่องบินรบหลากบทบาท ที่ผลิตโดย บริษัท มิตซูบิชิ เฮวี่ อินดัสทรีย์ส ของญี่ปุ่น ร่วมกับ ล็อกฮีด มาร์ติน ของสหรัฐอเมริกาโดยต้นแบบ คือ เอฟ-16 ด้วยอัตราส่วนการผลิตของญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา เท่ากับ 60/40 โดยเริ่มการผลิตในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิตซูบิชิ เอฟ-2 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน

ริษัทผลิตอากาศยานรัสเซียมิก หรือ อาร์เอสเค มิก (Russian Aircraft Corporation MiG, RSK MiG) เป็นบริษัทของรัสเซีย เดิมทีเคยเป็นมิโคยัน หรือ สำนักงานออกแบบมิโคยัน-กูเรวิชค์ (Mikoyan, Mikoyan-i-Gurevich Design Bureau (Микоян и Гуревич, МиГ) มันเป็นสำนักงานออกแบบอากาศยานทางทหารซึ่งเน้นไปที่เครื่องบินขับไล่ ในอดีตเคยเป็นสำนักงานออกแบบของสหภาพโซเวียตและก่อตั้งขึ้นโดยอาร์เทม มิโคยันและมิไคล์ กูเรวิชค์จึงเป็นที่มาของคำว่ามิก (MiG) เมื่อมิโคยันเสียชีวิตลงในปีพ.ศ. 2513 ชื่อกูเรวิชค์ก็ถูกนำออกแม้ว่ายังคงใช้คำย่อว่ามิกเหมือนเดิม บริษัทยังได้ทำการสร้างและออกแบบเครื่องจักรอย่างเฮลิคอปเตอร์คามอฟ เครื่องบินของมิกถูกใช้โดยจีน เกาหลีเหนือ และเวียดนามเหนือในการปะทะกับสหรัฐอเมริกาและสัมพันธมิตร สหภาพโซเวียตได้ขายเครื่องบินจำนวนมากที่เป็นมิกเช่นกัน รัฐบาลรัสเซียกำลังวางแผนที่จะรวมมิโคยันเข้ากับอิลยูชิน ไอร์คัท ซุคฮอย ตูโปเลฟ และยาโกเลฟเข้าด้วยกันเพื่อสร้างบริษัทใหม่ชื่อยูไนเต็ด แอร์คราฟท์ คอร์เปอร์เรชั่น"." เดอะนิวยอร์กไทมส์ 22 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน มิก-29 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-31

มิโคยัน มิก-31 (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่า ฟ็อกซ์ฮาวนด์) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นความเร็วเหนือเสียง สัญชาติรัสเซีย พัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทน มิก-25 ฟ็อกซ์แบท โดยใช้แผนแบบของ มิก-25 โดยบริษัทมิโคยัน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน มิก-31 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-15

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-15 (Микоян и Гуревич МиГ-15; USAF/DoD designation: Type 14; NATO reporting name: Fagot) เป็นเครื่องบินขับไล่เจ็ตที่พัฒนาโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ สำหรับสหภาพโซเวียต มิก-15 เป็นเครื่องบินรบแบบเจ็ตที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกเพื่อรวมปีกกวาดเพื่อให้ได้ความเร็วสูง ในการสู้รบกับเกาหลีใต้นักบินได้รับมอบหมายให้โจมตีภาคพื้นดินอย่างรวดเร็วและได้รับการตอบโต้อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องบินอเมริกา F-86 Saber พร้อมกับ F-86 ในช่วงสงครามเกาหลี เมื่อปรับแต่งขั้นสูงให้เป็นมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-17 การออกแบบขั้นพื้นฐานนี้ทำให้ชาวตะวันตกประหลาดใจเมื่อพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพเหนือนักรบเหนือเช่น F-105 Thunderchief และ McDonnell Douglas F-4 Phantom II ในช่วงสงครามเวียดนามในทศวรรษที่ 1960.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-15 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21 (Mikoyan-Gurevich MiG-21 Fishbed, Микоян и Гуревич МиГ-21) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิชเบด) เป็นเครื่องบินขับไล่พลังไอพ่นเร็วเหนือเสียงที่ออกแบบและสร้างขึ้นโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต มันมีชื่อเล่นว่า"บาลาไลก้า" (balalaika) ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีของรัสเซีย หรือ ołówek (แปลว่าดินสอ) โดยนักบินโปแลนด์ รุ่นแรกๆ ถูกจัดว่าเป็นเครื่องบินเครื่องยนต์ไอพ่นรุ่นที่สอง ในขณะที่รุ่นต่อมาถูกจัดว่าเป็นรุ่นที่สาม มีประมาณ 60 ประเทศ ในกว่า 4 ทวีปที่ใช้ Mig-21 และมันยังคงประจำการอยู่ในหลายประเทศมากว่าครึ่งศตวรรษตั้งแต่ที่มันบินครั้งแรก Mig-21 ได้ทำสถิติไว้มากมายในประวัติศาสตร์การบินยุคใหม่ รวมทั้งมันยังเป็นเครื่องบินไอพ่นที่ผลิตออกมามากที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน เป็นเครื่องบินรบที่มีมากที่สุดตั้งแต่สงครามเวียดนาม และเป็นการผลิตที่ยาวนานที่สุดของเครื่องบินรบ (1959 - 1985).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23 (Mikoyan-Gurevich MiG-23 Flogger, Микоян и Гуревич МиГ-23) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟลอกเกอร์) เป็นเครื่องบินขับไล่ปีกพับได้ที่ออกแบบโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต มันถูกจัดว่าเป็นเครื่องบินรุ่นที่สามของโซเวียตพร้อมกับมิก-25 มันเป็นเครื่องบินขับไล่แบบแรกของโซเวียตที่มีระบบเรดาร์ติดตามเป้าหมายและขีปนาวุธเกินระยะมองเห็น และเป็นผลิตภัณฑ์แรกของมิกที่มีช่องรับลมอยู่ที่ด้านข้างลำตัว การผลิตเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-23 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25 (Mikoyan-Gurevich MiG-25 Foxbat) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟอกซ์แบท) เป็นเครื่องบินสกัดกั้น ทิ้งระเบิด และลาดตระเวนความเร็วเหนือเสียงที่ออกแบบโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต ต้นบบได้ทำการบินครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25 · ดูเพิ่มเติม »

มุมปะทะ

ภาพแสดงทิศทางมุมปะทะ มุมปะทะ (Angle of Attack) หมายถึง มุมที่ตั้งอยู่ระหว่างทิศทางการทำการบิน (flight path) กับเส้นสมมุติ (chord line) และทิศทางสัมพันธ์ของลม (relative wind) โดยมุมปะทะนี้ จะเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดแรงยก เมื่อลมมาปะทะที่ปีก สามารถอันเป็นสิ่งที่ทำให้เครื่องบิน พยุงตัวอยู่ในอากาศได้ หมวดหมู่:เครื่องบิน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และมุมปะทะ · ดูเพิ่มเติม »

ยาส 39

39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และยาส 39 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน

right ยูโรไฟท์เตอร์ ไต้ฝุ่น (The EURO FIGHTER 2000 (Typhoon)) ในเดือน ธันวาคม ค.ศ. 1983 กองทัพอากาศ ฝรั่งเศส,เยอรมันตะวันตก ในขณะนั้น(ก่อนรวมประเทศกับเยอรมันตะวันออก), อิตาลี, สเปน, และอังกฤษ ได้ประกาศโครงการ ร่วมกัน ที่จะพัฒนาเครื่องบินรบ สำหรับศตวรรษหน้า และให้ชื่อว่า FEFA (เครื่องบินรบ ในอนาคต ของยุโรป).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก

วาดแสดงดาวเทียม NAVSTAR ของสหรัฐ เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส KAMAZ NAAV450 เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส แมเกลลัน เบลเซอร์ ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก เรียกย่อว่า จีพีเอส (Global Positioning System: GPS) หรือรู้จักในชื่อ นาฟสตาร์ (Navstar) คือระบบดาวเทียมนำร่องโลก (์Global Navigation Satellite System: GNSS) เพื่อระบุข้อมูลของตำแหน่งและเวลาโดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากตำแหน่งของดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่รอบโลกทำให้สามารถระบุตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลกและในทุกสภาพอากาศ รวมถึงสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางเพื่อนำมาใช้ร่วมกับแผนที่ในการนำทางได้.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิด

ระเบิด ระเบิด คือวัตถุที่ทำให้เกิดการระเบิด จะบรรจุวัตถุระเบิดไว้ภายใน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และระเบิด · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดมือ

ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดมือ เป็นวัตถุระเบิดที่มีขนาดพอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้โดยการจุดชนวนและขว้างไปยังเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายได้รับแรง, การติดเพลิง, หรือสะเก็ดจากการระเบิด เกิดเป็นความเสียหายของเป้าหมาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระเบิดขว้าง ระเบิดมือบางรุ่นสามารถใช้ติดกับปากกระบอกปืนเล็กยาวเพื่อการยิงได้ หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระเบิดก๊าซน้ำตา ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และระเบิดมือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1918 จนถึง ค.ศ. 1945 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียก่อตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นและราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ ราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ขณะที่บริเวณคอซอวอ วอยวอดีนา และมาซิโดเนียเป็นส่วนหนึ่งของเซอร์เบียก่อนหน้าการรวมตัว 11 ปีแรกราชอาณาจักรเรียกตนเองอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน (Kraljevina Srba, Hrvata i Slovenaca, อักษรซีริลลิก: Краљевина Срба, Хрвата и Словенаца; Kraljevina Srbov, Hrvatov in Slovencev) แต่คำว่า "ยูโกสลาเวีย" เป็นชื่อเรียกกันอย่างง่าย ๆ มาตั้งแต่ต้น เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1946) (ฮังการี: Magyar Királyság) เป็นราชอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ร่มชูชีพ

ร่มชูชีพของอพอลโล่ 15 การฝึกร่มชูชีพ ร่มชูชีพ (Parachutes) คือวัตถุที่ช่วยให้มนุษย์และสิ่งของเคลื่อนที่ช้าลงในการตกสู่พื้นโลก หรืออาจช่วยให้วัตถุที่ขนานกับพื้นโลกเคลื่อนที่ช้าลงเช่นในการแข่งรถ คำว่าร่มชูชีพในภาษาอังกฤษ (parachute) มาจากภาษาฝรั่งเศส "para", แปลว่าต่อต้าน "chute" แปลว่าการตก "parachute" จึงหมายถึง ต่อต้านการตก ร่มชูชีพถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และร่มชูชีพ · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกฮีด มาร์ติน

ำหรับอดีตบริษัท ดูที่ ล็อกฮีดและมาร์ติน มาเรียทต้า ล็อกฮีด มาร์ติน (Lockheed Martin) เป็นบริษัทด้านอากาศยาน อวกาศ และการป้องกันประเทศรายใหญ่ของโลกสัญชาติอเมริกา เกิดจากการควบรวมระหว่างสองบริษัทคือ ล็อคฮีคคอร์ปอเรชั่น กับ มาร์ตินมารีเอ็ตตา ในปี 1995 ล็อกฮีดมาร์ตินมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเบเธสดา รัฐแมริแลนด์ อันเป็นเขตปริมณฑลทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ล็อกฮีคมาร์ตินถือเป็นบริษัทคู่สัญญาด้านการป้องกันประเทศ (defense contractor) ที่ใหญ่ที่สุดของโลกในแง่ของรายได้.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และล็อกฮีด มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2

อฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 (F-35 Lightning II) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ 5 หนึ่งที่นั่ง หนึ่งเครื่องยนต์ โดยเป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทแบบล่องหน ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด การทิ้งระเบิดทางยุทธวิธี และการป้องกันทางอากาศ เอฟ-35 มีทั้งหมด 3 รุ่น คือ แบบขึ้น-ลงปกติ แบบขึ้น-ลงแนวในดิ่ง และแบบที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เอฟ-35 เป็นผู้สืบทอดจากเอ็กซ์-35 เป็นผลิตผลจากโครงการเครื่องบินขับไล่โจมตีร่วมหรือเจเอสเอฟ (Joint Strike Fighter, JSF) การพัฒนาของมันนั้นได้รับทุนหลักจากสหรัฐอเมริกา โดยมีสหราชอาณาจักรและประเทศอื่นๆ ให้ทุนเพิ่มเติม, GlobalSecurity.org มันถูกออกแบบและสร้างโดยทีมอุตสาหกรรมการบินที่นำโดยล็อกฮีด มาร์ติน โดยมีนอร์ทธรอป กรัมแมนและบีเออี ซิสเต็มส์เป็นหุ้นส่วนหลัก เครื่องบินสาธิตบินในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฤดูหนาว

ทหารสกีของฟินแลนด์ในสงครามฤดูหนาว ทิศทางการโจมตีของกองทัพแดงและการวางกำลังหลักของสองฝ่าย สงครามฤดูหนาว (อังกฤษ: Winter War, ฟินแลนด์: talvisota, สวีเดน: vinterkriget, รัสเซีย: Советско-финская война, และอาจรู้จักกันในชื่อ สงครามโซเวียต-ฟินแลนด์ หรือ สงครามรัสเซีย-ฟินแลนด์) เป็นสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับประเทศฟินแลนด์ เกิดในช่วงต้น ๆ ของสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฟินแลนด์ปฏิเสธไม่ยอมยกดินแดนบางส่วนและไม่ยอมให้โซเวียตสร้างฐานทัพเรือในดินแดนของตน การโจมตีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) เมื่อทหารในกองทัพแดงราวหนึ่งล้านคนบุกเข้าจู่โจมตามแนวรบหลายจุดบริเวณพรมแดนระหว่างสหภาพโซเวียตกับฟินแลนด์ กองทัพฟินแลนด์บัญชาการโดยจอมพลมานเนอร์ไฮม์ สามารถต่อต้านการโจมตีได้อย่างมีประสิทธิภาพแม้ว่าจะมีกำลังพลน้อยกว่าฝ่ายโซเวียตมาก อย่างไรก็ตาม ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ทหารรัสเซียเข้าไปในฟินแลนด์ได้สำเร็จ หลังใช้ปืนใหญ่ระดมโจมตีแนวป้องกันตามคอคอดคาเรเลียซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของฟินแลนด์รวมทั้งการโจมตีทางอากาศตามเมืองสำคัญต่างๆ สงครามสิ้นสุดลงในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) เมื่อมีการลงนามในสัญญาสันติภาพมอสโก โดยฟินแลนด์ยอมยกดินแดนบางส่วนให้โซเวียตและยอมให้โซเวียตก่อสร้างฐานทัพเรือบนคาบสมุทรฮังโก การรุกรานฟินแลนด์ในครั้งนี้ทำให้สหภาพโซเวียตถูกขับออกจากสันนิบาตชาติ เพราะละเมิดสนธิสัญญาที่จะไม่รุกรานฟินแลน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสงครามฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และสงครามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

อากาศยาน

รื่องบินแอร์บัส A-380 อากาศยานโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก อากาศยาน (aircraft)หมายถึงสิ่งหรือเครื่องที่สามารถบินได้โดยได้รับการรองรับจากอากาศ หรือโดยทั่วไปคือชั้นบรรยากาศของโลก มันสามารถต้านแรงดึงดูดของโลกโดยใช้แรงลอยตัว(แรงยกอยู่กับที่)(Buoyancy หรือ static lift) หรือใช้แรงยกพลศาสตร์(dynamic lift)ของ airfoil อย่างใดอย่างหนึ่ง, หรือมีไม่กี่กรณีที่ใช้แรงขับลงด้านล่าง(downward thrust)จากเครื่องยนต์ไอพ่น กิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอากาศยานเรียกว่า การบิน (aviation) อากาศยานที่มีลูกเรือจะถูกบินโดยนักบินที่อยู่บนเครื่อง แต่ยานพาหนะทางอากาศไร้คนขับอาจถูกควบคุมโดยระยะไกลหรือควบคุมตัวเองโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนเครื่อง อากาศยานถูกแยกประเภทโดยเกณฑ์ที่แตกต่างกัน เช่นรูปแบบของการยกตัว การขับเคลื่อน การใช้งานและอื่นๆ อากาศยานที่มีคนขับนั้นขับด้วยบุคคลที่เรียกว่า นักบิน จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 ก็มีอากาศยานแบบที่ไม่มีคนขับเกิดขึ้น มีชื่อเรียกว่า "drone" ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้น กองทัพสหรัฐได้นำคำว่า อากาศยานที่ควบคุมจากระยะไกล (remotely piloted vehicle (RPV)) มาใช้เรียกชื่ออากาศยานชนิดนี้ ปัจจุบันอากาศยานชนิดนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า อากาศยานไร้คนขับ (unmanned aerial vehicle (UAV)).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และอากาศยาน · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธนิวเคลียร์

ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และอาวุธนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อินฟราเรด

มนุษย์ในย่าน mid-infrared เป็นภาพที่เกิดจากรังสีความร้อนที่แผ่ออกมาจากคน รังสีอินฟราเรด (Infrared (IR)) มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า รังสีใต้แดง หรือรังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างคลื่นวิทยุและแสงมีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิร์ตซ์หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 1-1000 ไมโครเมตร มีความถี่ในช่วงเดียวกับไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างแสงสีแดงกับคลื่นวิทยุสสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง -200 องศาเซลเซียสถึง 4,000 องศาเซลเซียส จะปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมา คุณสมบัติเฉพาะตัวของรังสีอินฟราเรด เช่น ไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แตกต่างกันก็คือ คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับความถี่ คือยิ่งความถี่สูงมากขึ้น พลังงานก็สูงขึ้นด้วย  ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ Sir William Herschel ซึ่งได้ค้นพบ รังสีอินฟราเรดสเปกตรัมในปี.. 1800จากการทดลองโดยทดสอบว่าในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ จึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองเพื่อหาคำตอบใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเตอร์ก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่าง ๆ นั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง ปรากฏว่า เทอร์โมมิเตอร์ ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้น กลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ตั้งชื่อว่า " รังสีอินฟราเรด " (ขอบเขตที่ต่ำกว่าแถบสีแดงหรือรังสีใต้แดง)  ในการใช้ประโยชน์ ใช้ในการควบคุมเครื่องใช้ระบบไกล (remote control) สร้างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนาม และสัตว์หลายชนิดมีนัยน์ตารับรู้รังสีชนิดนี้ได้ ทำให้มองเห็นหรือล่าเหยื่อได้ในเวลากลางคืน เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไวโอเล็ต” โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้ ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต .

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และอินฟราเรด · ดูเพิ่มเติม »

ฮัล เอชเอฟ-24 มารุต

right ฮัล เอชเอฟ-24 มารุต (HAL HF-24 Marut) ฮัล เอช เอฟ-24 มารุต เป็นเจ๊ตขับไล่ความเร็วเหนือเสียงแบบแรกและแบบเดียวที่วางแผนแบบและสร้างโดยอินเดีย เครื่องต้นแบบบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1961 และประจำการในกองทัพอากาศอินเดีย ในปี ค.ศ. 1965 มารุต มี2 รุ่น รุ่น เอชเอฟ-24 หมายเลข 1 เป็นเจ๊ตขับไล่โจมตี ที่นั่งเดียว และ รุ่น เอชเอฟ-24 หมายเลข 1 ที เป็นเจ๊ตฝึก 2 ที่นั่ง เรียงกัน มารุตมีจำนวนการสร้างทั้งหมด 116 เครื่อง และเป็นเครื่องบินความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของเอเชี.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และฮัล เอชเอฟ-24 มารุต · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

ักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส (French colonial empire) ประกอบด้วยอาณานิคมโพ้นทะเล, รัฐในอารักขา และ รัฐบริวารที่อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลฝรั่งเศสในกรุงปารีส ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 16 โดยจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสถูกแบ่งออกเป็นสองยุค คือจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่หนึ่ง ซึ่งสิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ที-50 โกลเดนอีเกิล

ที-50 โกลเดนอีเกิล (T-50 Golden Eagle) เป็นตระกูลอากาศยานฝึกหัดความเร็วเหนือเสียง และเป็นอากาศยานโจมตีเบาของเกาหลีใต้ พัฒนาโดยบริษัทอุตสาหกรรมอวกาศเกาหลี (KAI) ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือกับบริษัท ล็อกฮีด มาร์ติน ของสหรัฐอเมริกา เครื่องบิน ที-50 ถือว่าเป็นเครื่องบินเหนือเสียงลำแรกของเกาหลีใต้ นอกจากนี้ ยังจัดว่าเป็นหนึ่งในเครื่องบินฝึกหัดไม่กี่รุ่นในโลกที่มีความเร็วเหนือเสียง.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และที-50 โกลเดนอีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ขีปนาวุธอากาศสู่พื้น

ีปนาวุธอากาศสู่พื้น (Air-to-surface missile) หรือ ASM เป็นขีปนาวุธที่ถูกออกแบบมาให้ยิงจากอากาศยานทางการทหารสู่เป้าหมายบนพื้นดินหรือพื้นน้ำ ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นจะมีการติดตั้งเครื่องยนต์จรวดที่ช้ากว่าสำหรับแบบพิสัยปฏิบัติการสั้น และติดตั้งเครื่องยนต์ไอพ่นที่เร็วกว่าสำหรับแบบพิสัยปฏิบัติการที่ยาวกว่า ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นแตกต่างจากระเบิดนำวิถีซึ่งเป็นอาวุธที่ไม่มีแหล่งพลังงานขับดัน ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นบางรุ่นของสหภาพโซเวียตมีการติดตั้งเครื่องยนต์แรมเจ็ท ซึ่งให้ทั้งพิสัยปฏิบัติการที่ไกลและความเร็วสูง ระบบนำวิถีของขีปนาวุธอากาศสู่พื้นนั้น มีทั้ง การนำวิถีด้วยเลเซอร์ (ชี้เป้า), การนำวิถีด้วยอินฟราเรด, การนำวิถีด้วยตาเทียม หรือ การนำวิถีด้วยดาวเทียม ซึ่งการเลือกใช้ระบบนำวิถีนั้นขึ้นอยู่กับประเภทของเป้าหมาย หากเป้าหมายเป็นยานพาหนะเคลื่อนที่ อาจใช้การนำวิถีด้วยตาเทียมหรืออินฟราเรด ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นสามารถจำแนกประเภทย่อยได้เป็นดังนี้.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และขีปนาวุธอากาศสู่พื้น · ดูเพิ่มเติม »

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ

อฟ-22 ของกองทัพอากาศสหรัฐขณะยิงเอไอเอ็ม-120 แอมแรม ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศยุคใหม่ ไอริส-ที ของกองทัพอากาศเยอรมัน เอไอเอ็ม-132 แอสแรม ติดตั้งกับ ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน. ขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ (AAM) เป็นขีปนาวุธที่ใช้ปล่อยจากอากาศยาน มีจุดมุ่งหมายที่จะทำลายอากาศยานเป้าหมาย ปกติแล้วขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ จะใช้เครื่องยนต์จรวดเดี่ยวหรือหลายเครื่องยนต์ก็ได้ และใช้เชื้อเพลิงแข็ง แต่บางครั้งอาจใช้เชื้อเพลิงเหลว หรือเครื่องยนต์แรมเจ็ท โดยทั่วไปขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศสามารถจำแนกออกเป็นสองประเภท ประเภทแรกคือขีปนาวุธที่ออกแบบมาเพื่อติดตามอากาศยานในระยะไม่เกิน 20 ไมล์ (32 กิโลเมตร) เป็นขีปนาวุธระยะสั้นในระยะมองเห็น (SRAAMs หรือ WVRAAMs) โดยเน้นที่การใช้งานในการต่อสู้ระยะประชิด หรือเรียกว่า "ด็อกไฟท์" ขีปนาวุธประเภทนี้จะเน้นที่ความคล่องตัวมากกว่าระยะยิง ใช้ระบบนำวิถีแบบอินฟราเรด หรือเรียกอีกอย่างว่าระบบค้นหาเป้าหมายด้วยความร้อน ประเภทที่สองคือขีปนาวุธในระยะกลางถึงไกล เป็นขีปนาวุธในระยะเกินมองเห็น (BVRAAMs) และนำวิถีด้วยเรดาร.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ · ดูเพิ่มเติม »

ดัซโซลท์ มิราจ 2000

right ประเทศผู้ใช้งานดัซโซลท์ มิราจ 2000 right ดัซโซลท์ มิราจ 2000 (Dassault Mirage 2000) เป็นเครื่องบินขับไล่ เครื่องยนต์เดี่ยว สัญชาติฝรั่งเศส ออกปฏิบัติการครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1978 กองทัพฝรั่งเศสต้องการใช้แทน มิราจ 3 และมิราจ 5 มีการส่งมอบในปี ค.ศ. 1982.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และดัซโซลท์ มิราจ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1

right right ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1 (Dassault Mirage F1) เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จแบบหนึ่งของตระกูลมิราจ เริ่มทำการบินครั้งแรกในวันที่ 23 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1966 และประจำกองทัพฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1973.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1 · ดูเพิ่มเติม »

ดัซโซลท์ มิราจ III

right ดัซโซลท์ มิราจ III (Dassault Mirage III) มิราจIII (มิราจ 3) เป็นเจ๊ตขับไล่ความเร็วระดับ 2 มัค แบบแรกของประเทศฝรั่งเศส เครื่องต้นแบบบินครั้งแรกเมื่อ วันที่ 17 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1956 มิราจIII เป็นเครื่องบินรบที่มีชื่อเสียงและใช้งานแพร่หลายมากที่สุดแบบหนึ่ง.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และดัซโซลท์ มิราจ III · ดูเพิ่มเติม »

ดัซโซลท์-เบร์เกต์ ซูเปอร์ เอตังดาร์ท

right right ดัซโซลท์-เบร์เกต์ ซูเปอร์ เอตังดาร์ท (Dassault-Breguet Super Étendard) เป็นเครื่องบินที่พัฒนามาจาก เอตังดาร์ท IV เอ็ม (4 เอ็ม) บินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1958 และประจำการบนเรือบรรทุกอากาศยานของฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1962 ซึ่งซูเปอร์ เอตังดาร์ท พัฒนาให้แรงขับสูงกว่า และ สิ้นเปลืองพลังงานน้อยกว่า เอตังดาร์ท IV ซูเปอร์ เอตังดาร์ท มีการสร้างขึ้นมาทั้งสิ้น 74 เครื่อง.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และดัซโซลท์-เบร์เกต์ ซูเปอร์ เอตังดาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ดาโซราฟาล

ราฟาล M ของนาวีฝรั่งเศส ขณะร่อนลงจอดบนเรือบรรทุกเครื่องบิน Charles De Gaulle (R-91) ของนาวีฝรั่งเศส ราฟาล M ของนาวีฝรั่งเศส บนเรือบรรทุกเครื่องบิน USS John C. Stennis (CVN-74) ของสหรัฐอเมริกา ดาโซราฟาล (Dassault Rafale) เป็นเครื่องบินรบแบบสองเครื่องยนต์เจ็ต สัญชาติฝรั่งเศส ทำการรบได้หลายแบบ ทั้งภารกิจ ระยะสั้น และ ระยะไกล Rafale เป็นเครื่องบินรบ ปฏิบัติภารกิจ แบบผสม (multi-role) ทำการตรวจจับลำบาก มีความสามารถปฏิบัติการได้ทั้งกลางวัน และกลางคืน ทุกสภาพอากาศ มันสามารถขึ้น-ลงจอดบนเรือบรรทุกอากาศยานได้.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และดาโซราฟาล · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย

Sukhoi Superjet 100 (Campeche, Mexico) 2015 ซุคฮอย (Sukhoi, Сухой) เป็นผู้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ของรัสเซียมีที่มีชื่อเสียงจากเครื่องบินขับไล่ มันถูกก่อตั้งโดยพาเวล ซุคฮอยเมื่อปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-11

ซุคฮอย ซู-11 (Sukhoi Su-7) (นาโต้ใช้รหัสเรียกว่าฟิชพอท-ซี) ซู-11 เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อจาก ซุคฮอย ซู-9 โดยมีการติดตั้งเครื่องยนต์ที่ให้แรงขับสูงขึ้น ซึ่งทั้ง ซู-9 และ ซู-11 มีลักษณะคล้ายมิก-21 มาก เพียงแต่ มิก-21 ใหญ่กว่าเท่านั้น ทั้ง ซู-9 และ ซู-11 มีรุ่นฝึก 2 ที่นั่งเรียงกันซึ่งองค์การนาโตกำหนดรหัสเป็นไมเดน (Maiden).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-11 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-15

right ซุคฮอย ซู-15 (Sukhoi Su-15 Flagon) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟลากอน) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นสองเครื่องยนต์ที่สร้างขั้นโดยสหภาพโซเวียตในทศวรรษที่ 1960 เพื่อเข้ามาแทนที่ซุคฮอย ซู-11.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-15 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-17

ซุคฮอย ซู-17 (Sukhoi Su-17 Fitter) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิตเตอร์) เป็นเครื่องบินโจมตีของสหภาพโซเวียตที่พัฒนามาจากเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดซุคฮอย ซู-7 มันได้ทำหน้าที่อย่างยาวนานในโซเวียต รัสเซีย และถูกใช้อย่างกว้างขวางโดยฝั่งตะวันออกและตะวันออกกลาง.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-17 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-24

ซุคฮอย ซู-24 (Sukhoi Su-24) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าเฟนซ์เซอร์) เป็นเครื่องบินโจมตีและขัดขวางในทศวรรษที่ 1970 และ 1980 มันเป็นเครื่องบินสองที่นั่ง สองเครื่องยนต์ที่ใช้ระบบนำร่อง/โจมตีแบบดิจิตอลลำแรกของสหภาพโซเวียต ในหลายแง่มุมโครงสร้างภายนอกของมันคล้ายคลึงกับเอฟ-111 มันยังคงอย่ในประจำการในกองทัพอากาศโซเวียตและชาติอื่น.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-24 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-27

ซุคฮอย ซู-27 (Sukhoi Su-27) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์) เป็นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นหนึ่งและสองที่นั่ง ซึ่งเดิมผลิตโดยสหภาพโซเวียต และออกแบบโดยซุคฮอย มันเปรียบได้กับเครื่องบินรุ่นที่สี่ของสหรัฐอเมริกา พร้อมพิสัย 3,530 กิโลเมตร อาวุธขนาดหนัก ระบบอิเลคทรอกนิกอากาศที่ยอดเยี่ยม มีความคล่องแคล่ว ซู-27 มักทำภารกิจครองความได้เปรียบทางอากาศ แต่มันก็สามารถปฏิบัติภารกิจรบอื่นๆ ได้เช่นกัน มันมีรูปร่างคล้ายคลึงกับมิก-29 ที่เล็กกว่า และมีส่วนประกอบที่ใกล้เคียงกับเอฟ-15 อีเกิลของอเมริกาแต่มีความคล่องตัวเหนือกว่า มีการพัฒนามากมายของซู-27 ซู-30 เป็นแบบสองที่นั่งทำหน้าที่ทุกสภาพอากาศ ทำการสกัดกั้นทางอากาศและพื้นดินในระยะใกล้ เทียบได้กับเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล ซู-33 แฟลงเกอร์-ดีสำหรับการป้องกันในกองทัพเรือซึ่งใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เทียบได้กับเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท รุ่นนอกเหนือจากนั้นยังมีทั้งซู-34 ฟุลแบ็คสองที่นั่งคู่และซู-35 แฟลงเกอร์-อีสำหรับการป้องกันทางอาก.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-27 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-30

ซุคฮอย ซู-30 (Sukhoi Su-30, Flanker-C) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-ซี) เป็นเครื่องบินทางทหารสองเครื่องยนต์ที่สร้างโดยบริษัทการบินซุคฮอยของรัสเซียและเริ่มนำเข้ามาใช้ปฏิบัติการในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-30 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-33

ซุคฮอย ซู-33 (อังกฤษ: Sukhoi Su-33) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่า: แฟลงเกอร์-ดี) เป็นเครื่องบินขับไล่ทุกสภาพอากาศ,ประจำเรือบรรทุกเครื่องบิน,สองเครื่องยนต์,ครองความได้เปรียบทางอากาศ ออกแบบโดยบริษัทซุคฮอยและสร้างโดยบริษัท KnAAPO, มีต้นกำเนิดมาจาก ซู-27และในช่วงแรกรู้จักกันในชื่อ ซู-27.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-33 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-34

ซุคฮอย ซู-34 (Sukhoi Su-34 Fullback, Сухой Су-34) (รุ่นส่งออกจะใช้ชื่อซู-32, นาโต้เรียกมันว่าฟุลแบ็ค) เป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดแบบสองที่นั่งของรัสเซีย มันถูกใช้เพื่อเข้ามาแทนที่ซุคฮอย ซู-24 Su-34 ถูกออกแบบมาสำหรับการใช้งานด้านยุทธวิธีอากาศสู่พื้นดินและเป้าหมายทางเรือ รวมถึงเป้าหมายขนาดเล็ก สามารถปฏิบัติภารกิจได้ทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน บินได้ทุกสภาพอาก.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-34 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-35

ซุคฮอย ซู-35 (อังกฤษ: Sukhoi Su-35) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-อี) เป็นเครื่องบินขับไล่ที่พัฒนามากจาก ซู-27 แฟลงเกอร์เป็นเครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยว, สองเครื่องยนต์, ความคล่องตัวสูง และ หลากหลายบทบาท.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-35 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-57

ซุคฮอย ซู-57 (Сухой Су-57, อังกฤษ: Sukhoi Su-57) หรือชื่อเครื่องต้นแบบ ซุคฮอย ที-50 พักฟา (อังกฤษ: Sukhoi T-50 PAK FA) (รัสเซีย: ПАК ФА, short for: Перспективный авиационный комплекс фронтовой авиации, translit. Perspektivny Aviatsionny Kompleks Frontovoy Aviatsii, lit. '"Prospective Aviation Complex of Frontline Aviation"') เป็นเครื่องบินขับไล่ล่องหนที่ออกแบบโดยซุคฮอย สำหรับกองทัพอากาศรัสเซีย เพื่อใช้เข้าประจำการทดแทนมิโคยัน มิก-29 และซุคฮอย ซู-27 ในอนาคต ซุคฮอย ซู-57 เครื่องต้นแบบใช้รหัส ที-50 พักฟา มีความสามารถเทียบเท่ากับเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ห้าของสหรัฐอเมริกา คือ เอฟ-22 แร็พเตอร์ และเอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 โดยได้รับการออกแบบให้เป็นอากาศยานล่องหน เครื่องบินต้นแบบ ที-50 พักฟา ของซุคฮอย ออกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-57 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-7

ซุคฮอย ซู-7 (Sukhoi Su-7 Fitter-A) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิตเตอร์-เอ) เป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดปีกลู่เครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้โดยสหภาพโซเวียตและพันธมิตร.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-7 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-9

ซุคฮอย ซู-9 (Sukhoi Su-9 Fishpot) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิชพอท) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นทุกสภาพอากาศติดตั้งขีปนาวุธเครื่องยนต์เดียวที่สร้างขึ้นโดยสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซุคฮอย ซู-9 · ดูเพิ่มเติม »

ซ้าบ

ซ้าบ เอบี (Saab AB) เป็นบริษัทอากาศยานและการป้องกันที่อยู่ในสวีเดน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซ้าบ · ดูเพิ่มเติม »

ซ้าบ 35 ดราเคน

ซ้าบ 35 ดราเคน right ซ้าบ 35 ดราเคน (Saab 35 Draken) เป็นเครื่องบินไอพ่นขับไล่ความเร็วกว่าเสียง 2 เท่าแบบแรกของประเทศสวีเดน บินครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1955 และประจำเข้ากองทัพอากาศสวีเดนเป็นครั้งแรกเมื่อต้นปี ค.ศ. 1960 สร้างขึ้นมาทั้งหมด 644 ลำ และใช้ในกองทัพอากาศสวีเดน, ฟินแลนด์, และเดนมาร์ค ปัจจุบันได้ปลดประจำการแล้ว.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซ้าบ 35 ดราเคน · ดูเพิ่มเติม »

ซ้าบ 37 วิกเก้น

right ซ้าบ 37 วิกเก้น (Saab 37 Viggen) เป็นเครื่องบินเอนกประสงค์ของกองทัพอากาศสวีเดน ถูกออกแบบเพื่อใช้แทนซ้าบ 35 ดราเคน เครื่องต้นแบบบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1967 เครื่องรุ่นแรกถูกผลิตในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1971 คือ ซ้าบ เอเจ 37 ซึ่งเป็นแบบที่นั่งเดียวภารกิจโจมตีทุกกาลอากาศ และสกัดกั้น และได้ทำการผลิตขึ้นมาหลายรุ่น.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และซ้าบ 37 วิกเก้น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปืนกล

ปืนกล M2: ออกแบบโดย John Browning หนึ่งในปืนระยะหวังผลไกลและเป็นปืนกลที่ออกแบบดีที่สุด ปืนกล เป็นปืนที่ทำการยิงกระสุนออกไปพร้อมทั้งบรรจุกระสุนนัดต่อไปเข้ามาในรังเพลิงตามวงรอบการทำงานจนกว่าพลยิงจะเลิกเหนี่ยวไกหรือเมื่อกระสุนหม.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และปืนกล · ดูเพิ่มเติม »

นอร์ทอเมริกัน พี-51 มัสแตง

นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน พี-51 มัสแตง (North American Aviation P-51 Mustang) เป็นเครื่องบินขับไล่และทิ้งระเบิดพิสัยไกลหนึ่งที่นั่งสัญชาติอเมริกาซึ่งถูกใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเกาหลี และสงครามอื่นๆ มันถูกออกแบบและสร้างโดยนอร์ทอเมริกันเอวิเอชันหรือเอ็นเอเอเพื่อตอบโจทย์ของกระทรวงการบินจากการสั่งซื้อของอังกฤษ ลำตันแบบคือเอ็นเอ-73เอ็กซ์ที่สร้างเสร็จในวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และนอร์ทอเมริกัน พี-51 มัสแตง · ดูเพิ่มเติม »

นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน

นอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน เป็นอดีตบริษัทผลิตอากาศยานรายใหญ่ของสหรัฐอเมริกา ต่อมาถูกควบรวมเป็นส่วนหนึ่งของร็อกเวลล์อินเตอร์เนชันนัล ซึ่งปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของโบอิง ผลงานอากาศยานและจรวดชื่อดังในอดีตและใช้งานในปัจจุบัน เช่น เครื่องบินฝึก ที-6 เท็กซัน, เครื่องบินขับไล่ พี-51 มัสแตง, เครื่องบินทิ้งระเบิด บี-25 มิตเชล, เครื่องบินขับไล่ เอฟ-86 เซเบอร์, อากาศยานต้นแบบเอ็กซ์-16, เอ็กซ์บี-70 วาลคีรี, โครงการอพอลโล, จรวดแซทเทิร์น 5, กระสวยอวกาศ, และเคร่องบินทิ้งระเบิดบี-1 แลนเซอร.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และนอร์ทอเมริกันเอวิเอชัน · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ไชลด์รีพับลิค เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2

อ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2 (A-10 Thunderbolt II) เอ-10 บินครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และแฟร์ไชลด์รีพับลิค เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2

อฟ-4 แฟนท่อม 2 (F-4 Phantom II) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นโจมตีพิสัยไกลทุกสภาพอากาศสองที่นั่ง สองเครื่องยนต์ ความเร็วเหนือเสียง เดิมทีสร้างมาเพื่อกองทัพเรือสหรัฐฯ โดยแมคดอนเนลล์ แอร์คราฟท์Swanborough and Bowers 1976, p. 301.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2 · ดูเพิ่มเติม »

แมคดอนเนลล์ดักลาส

แมคดอนเนลล์ดักลาส (McDonnell Douglas) (MD) เป็นบริษัทผลิตเครื่องบิน ก่อตั้งที่นครเซ็นต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2519 และปิดกิจการลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2540 โดยบริษัทโบอิง ได้ทำการซื้อกิจการกับบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาสรวมเข้ากับโบอิง ด้วยมูลค่าทั้งสิ้น 13,000 ล้านบาท เครื่องบินที่มีชื่อเสียงของแมคดอนเนลล์ดักลาส ได้แก่ MD-11 MD-80 MD-90 เป็นต้น นอกจากจะเป็นผู้ผลิตเครื่องบินโดยสารแล้ว แมคดอนเนลล์ดักลาส ยังเป็นผู้ผลิตเครื่องบินรบ เอฟ-4 เอฟ-15 เอฟ-18 เฮลิคอปเตอร์อาพาเช่ รวมทั้งจรวดฮาร์พูน และ โทมาฮอว์ก.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และแมคดอนเนลล์ดักลาส · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน รอมเมิล

แอร์วิน โยฮันเนส ออยเกิน รอมเมิล (Erwin Johannes Eugen Rommel) สมญา จิ้งจอกทะเลทราย เป็นจอมพลที่โด่งดังที่สุดของกองทัพนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับความนับถือจากทั้งทหารฝ่ายเดียวกันและข้าศึก รอมเมิลเป็นนายทหารที่ได้รับการเชิดชูเกียรติขั้นสูงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับเหรียญกล้าหาญ ''ปัวร์เลอแมริท'' สำหรับการปฏิบัติหน้าที่อันกล้าหาญในแนวรบอิตาลี ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงโด่งดังจากการบังคับบัญชากองพลพันเซอร์ที่ 7 สมญากองพลผี ระหว่างการบุกครองฝรั่งเศสใน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และแอร์วิน รอมเมิล · ดูเพิ่มเติม »

แอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2

อ-7 คอร์แซร์ 2 (A-7 Corsair II) เป็นเครื่องบินโจมตีขนาดเบาบนเรือบรรทุกเครื่องบินที่เริ่มเข้ามาแทนที่เอ-4 สกายฮอว์คของกองทัพเรือสหรัฐและเข้ารวมรบในสงครามเวียดนาม คอร์แซร์ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐเช่นเดียวกับกองกำลังรักษาดินแดนทางอากาศ เพื่อเข้าแทนที่เอ-1 สกายไรเดอร์ เอฟ-100 ซูเปอร์เซเบอร์ และเอฟ-105 ธันเดอร์ชิฟ คอร์แซร์ยังถูกใช้โดยกรีซในทศวรรษที่ 1970 และโปรตุเกสและไทยในทศวรรษที่ 1980 โครงสร้างของเอ-7 มีพื้นฐานมาจากเอฟ-8 ครูเซเดอร์ที่ผลิตโดยวูท มันเป็นหนึ่งในเครื่องบินรบรุ่นแรกๆ ที่มีหน้าจอแบบฮัด (head-up display) ระบบนำร่อง และเครื่องยนต์เทอร์โบแฟน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และแอลทีวี เอ-7 คอร์แซร์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง

อิง (The Boeing Company) เป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์อากาศยานและยุทโธปกรณ์ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา โบอิงนับเป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องบินที่มีรายได้มากที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตยุทโธปกรณ์อันดับสองของโลก ในปี พ.ศ. 2549 โบอิงเป็นผู้ผลิตเครื่องบินที่มีจำนวนสั่งซื้อมากที่สุดในโลก มีสัดส่วนการตลาดร้อยละ 55 สำหรับยอดสั่งซื้อ และร้อยละ 54 สำหรับยอดส่งมอบ กุมชัยชนะเหนือแอร์บัสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา นอกจากนี้ยังเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และโบอิง · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์

อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น โลจี เบร์ด ชาวสกอตแลน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอเอไอ คเฟอร์

right ไอเอไอ คเฟอร์ (IAI Kfir) คเฟอร์เป็นเครื่องบินขับไล่แบบแรกที่สร้างในอิสราเอล โดยต้นแบบของคเฟอร์ คือ มิราจ 5 ของฝรั่งเศส เมื่อในปี ค.ศ. 1969 ฝรั่งเศสงดขายเครื่องบินมิราจให้กับอิสราเอล ทำให้เกิดโครงการคเฟอร์ซึ่งเป็นงานแผนแบบเจ๊ตขับไล่และทิ้งระเบิดในระดับความเร็ว 2 มัคและเป็นความลับสุดยอดของอิสราเอล เครื่องต้นแบบคเฟอร์ก็สำเร็จในปี ค.ศ. 1972 ซึ่งตั้งชื่อว่าเนเชอร์ เนเชอร์ได้ทำการบินทดสอบและแก้ไขดัดแปลงหลายส่วนโดยเฉพาะส่วนท้ายที่สันดาปท้ายร้อนจัดจนละลาย และเมื่อทดสอบปรับปรุงใหม่เสร็จ เนเชอร์ก็เปลี่ยนชื่อเป็น บาราค การผลิตบาราคเริ่มในปี ค.ศ. 1972 และประสบความสำเร็จอย่างสูงในการต่อสู้กับเครื่องบินมิกของอาหรับ และนับจากนั้นบาราคจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นคเฟอร์ในปัจจุบัน คเฟอร์ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการในวันที่ 14 เมษายน ปี ค.ศ. 1975 และในวันที่ 20 กันยายน ปี ค.ศ. 1976 บริษัท ไอเอไอก็ได้เปิดตัวรุ่นใหม่ชื่อว่า คเฟอร์ ซี 2 คเฟอร์ ซี 2 มีลักษณะแตกต่างจากรุ่นแรกคือ ติดตั้งคานาร์คหรือปีกเล็กๆด้านหน้า เหนือช่องรับอาก.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และไอเอไอ คเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เช็งยาง เจ-6

320pxเช็งยาง เจ-6 (Shenyang J-6; 歼-6; Farmer) เช็งยางเจ-6 เป็นเครื่องบินแบบ มิก-19 ที่ถูกสร้างโดยโรงงานสร้างอากาศยานแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน มิก-19 ซึ่งเป็นต้นแบบของ เจ6 เป็นเครื่องบินเจ๊ตความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเช็งยาง เจ-6 · ดูเพิ่มเติม »

เมสเซอร์ชมิทท์ เบเอฟ 109

thumbnail เมสเซอร์ชมิทท์ บีเอฟ 109 (Messerschmitt Bf 109) เป็นเครื่องบินขับไล่สมัยสงครามโลกครั้งที่สองของนาซีเยอรมนีNowarra 1993, p. 189.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเมสเซอร์ชมิทท์ เบเอฟ 109 · ดูเพิ่มเติม »

เมสเซอร์ชมิตต์

Messerschmitt Me 262A เครื่องบินไอพ่นรุ่นแรก Messerschmitt Me 109 รถสามล้อ Messerschmitt KR175 เมสเซอร์ชมิตต์ เอจี (Messerschmitt AG) เป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องบินสัญชาติเยอรมนี มีชื่อเสียงในฐานะผู้สร้างเครื่องบินขับไล่ให้กับกองทัพอากาศเยอรมัน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเฉพาะรุ่น บีเอฟ 109 ที่เป็นกำลังรบหลักของเยอรมนี และเอ็มอี 262 ที่เป็นเครื่องบินไอพ่นรุ่นแรกของโลก เมสเซอร์ชมิตต์ เอจี เดิมชื่อว่า "Bayerische Flugzeugwerke AG" (Bavarian Aircraft Works) ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเมสเซอร์ชมิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เรดาร์

รดาร์ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีขององค์การนาซา เสาอากาศเรดาร์ระยะไกลที่เรียกว่า Altair ที่ใช้ในการตรวจจับและติดตามวัตถุในพื้นที่ร่วมกับการทดสอบ ABM ที่ไซต์ทดสอบโรนัลด์ เรแกนบนเกาะควาจาลีน (Kwajalein) เรดาร์ (radar) เป็นระบบที่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการระบุระยะ (range), ความสูง (altitude) รวมถึงทิศทางหรือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ เดิมทีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเรดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ-6 อินทรูเดอร์

อ-6 อินทรูเดอร์ (A-6 Intruder) เป็นเครื่องบินโจมตีสองเครื่องยนต์ของสหรัฐอเมริกาที่ผลิตโดยกรัมแมน มันเข้าประจำการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอ-6 อินทรูเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก

อฟ-117 ไนท์ฮอว์ก (F-117 Nighthawk) เป็นอากาศยานโจมตีภาคพื้นดินล่องหนที่อดีตเคยถูกใช้งานโดยกองทัพอากาศสหรัฐ มันได้ทำการบินครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-14 ทอมแคท

อฟ-14 ทอมแคท (F-14 Tomcat) เป็นเครื่องบินขับไล่ปีกพับสองที่นั่งสองเครื่องยนต์มีความเร็วเหนือเสียง เอฟ-14 เป็นเครื่องบินขับไล่ครองความได้เปรียบทางอากาศเครื่องบินสกัดกั้น และเครื่องบินลาดตระเวนทางยุทธวิธีของกองทัพเรือสหรัฐตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-14 ทอมแคท · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-15 อีเกิล

อฟ-15 อีเกิล (F-15 Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ทางยุทธวิธีทุกสภาพอากาศที่ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่ครองความได้เปรียบทางอากาศ มันถูกพัฒนาให้กับกองทัพอากาศสหรัฐและได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-15 อีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล

อฟ-15อี สไตรค์อีเกิล (F-15E Strike Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่ทุกสภาพอากาศสัญชาติอเมริกันที่ถูกออกแบบมาเพื่อการเข้าไปในพื้นที่ของศัตรูที่อยู่ในระยะไกล มันเป็นการดัดแปลงมาจากเอฟ-15 อีเกิลซึ่งเป็นเครื่องบินขับไล่เหนือชั้น เอฟ-15อีได้พิสูจน์ความมีค่าของมันในปฏิบัติการดีเซิร์ทสตอร์มโดยทำการโจมตีเป้าหมายสำคัญ ต่อสู้ทางอากาศ และให้การสนับสนุนกับทหารราบในสงครามอ่าว เอฟ-15อี สไตรค์อีเกิลแตกต่างจากเอฟ-15 ทั่วไปตรงที่มันมีลายพรางที่เข้มกว่าและถังเชื้อเพลิงที่ติดอยู่ด้านข้างของเครื่องยนต.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน

อฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน (F-16 Fighting Falcon) เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่เดิมที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทGeneral Dynamicsเพื่อกองทัพอากาศสหรัฐ มันถูกออกแบบให้เป็นเครื่องบินขับไล่ตอนกลางวันน้ำหนักเบา มันได้กลายมาเป็นเครื่องบินขับไล่ที่ประสบความสำเร็จ ความสามารถรอบตัวของมันเป็นเหตุผลหนักที่มันทำการตลาดได้เยี่ยมโดยมันถูกเลือกโดยกองทัพอากาศของ 25 ประเทศLockheed Martin press release (8 June 2008).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-22 แร็พเตอร์

อฟ-22 แร็ปเตอร์ (F-22 Raptor) เครื่องบินเอฟ-22 เป็นเครื่องบินเจ๊ตขับไล่ที่มีแผนจะนำมาใช้ปฏิบัติการครองอากาศทดแทนเครื่องบินเอฟ-15 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาได้กำหนดความต้องการเครื่องบินขับไล่ยุทธวิธีขั้นก้าวหน้า (Advanced Tactical Fighter) ต่อมาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ 2529 จึงได้คัดเลือกเครื่องบินต้นแบบจากสองกลุ่มบริษัทได้แก่ กลุ่มเจนเนอรัล ไดนามิกส์/ล็อกฮีด/โบอิง (เจเนอรัล ไดนามิกส์ ควบรวมกับล็อกฮีดในภายหลัง) ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 กับกลุ่มแมคดอนเนลล์ ดักลาส/นอร์ทธอป ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-23 เพื่อดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2534 กองทัพอากาศสหรัฐฯตัดสินใจเลือกเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ในการดำเนินการ เครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบนานกว่า 54 เดือน โดยมีการทดลองบินกว่า 74 เที่ยวบิน รวมเวลา 91.6 ชั่วโมง ทดสอบติดตั้งและยิงจรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศ ไซด์ไวน์เดอร์ และ แอมแรม การเติมน้ำมันกลางอากาศ ทดสอบปรับแรงขับของเครื่องยนต์ขณะบิน ระบบอิเล็กทรอนิกส์อากาศ (Avionics) การทดสอบและปรับปรุงห้องนักบินโดยการทดลองใช้จริงร่วมกับกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐฯ และการทดสอบวัดขนาดพื้นที่สะท้อนเรดาร์กับขนาดจริงของเครื่องบิน ส่วนการทดสอบเครื่องยนต์ต้นแบบมีอยู่ 2 แบบคือ เครื่องยนต์ต้นแบบ วายเอฟ-119 ของบริษัทแพรทท์แอนด์วิทนีย์ และ เครื่องต้นแบบวายเอฟ 120 ของบริษัท เจนเนอรัล อิเล็คทริก ผลการตัดสินของกองทัพอากาศสหรัฐ ได้เลือกเครื่องยนต์ต้นแบบวายเอฟ-119 สำหรับใช้กับเครื่องบินขับไล่ เอฟ-22อินทรีย์ สีเทา,แทงโก นิตยสารเพื่อคนรักการบินและเทคโนโลยี, มูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,กรุงเทพฯ,ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 เมษายน 2540,หน้า 84.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-22 แร็พเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-5

อฟ-5อี ไทเกอร์ทูว์ เอฟ-5เอ/บี ฟรีดอมไฟเตอร์ (F-5 Freedom Fighter) และ เอฟ-5อี/เอฟ ไทเกอร์ ทู เป็นเครื่องบินขับไล่ของสหรัฐอเมริกา เริ่มออกแบบเมื่อปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) โดยบริษัทนอร์ธรอป.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ-5 · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท

อฟ-18 ฮอร์เน็ท (F-18 Hornet) ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจุบันคือโบอิง) เป็นเครื่องบินโจมตีหลากบทบาทหลากสภาพอากาศที่สามารถใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินและถูกออกแบบมาเพื่อการโจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มันถูกออกแบบในทศวรรษที่ 1970 ให้กับกองทัพเรือและกองนาวิกโยธินสหรัฐฯ ฮอร์เน็ทยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศในหลายประเทศ มันถูกเลือกให้ใช้ทำการแสดงโดยบลูแองเจิลของกองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท

อฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท (F/A-18E/F Super Hornet) เป็นเครื่องบินขับไล่โจมตีชนิดที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เอฟ/เอ-18อีนั้นเป็นแบบที่นั่งเดียวและเอฟ/เอ-18เอฟนั้นเป็นแบบสองที่นั่งที่มีขนาดใหญ่และก้าวหน้ากว่าเอฟ/เอ-18ซี/ดี ฮอร์เน็ท ซูเปอร์ฮอร์เน็ทมีอาวุธเป็นปืนใหญ่อากาศขนาด 20 ม.ม.และสามารถใช้อาวุธอากาศสู่อากาศและอากาศสู่พื้นได้หลากหลาย สามารถติดตั้งถังเชื้อเพลิงสำรองได้ถึงห้าถัง และยังสามารถทำหน้าที่เป็นเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้ด้วยการเติมระบบเติมเชื้อเพลิงเข้าไป ด้วยการที่ถูกออกแบบและผลิตโดยแมคดอนเนลล์ ดักลาสซูเปอร์ฮอร์เน็ทได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท · ดูเพิ่มเติม »

เอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริก

AGM-65 เป็นอาวุธนำวิถีอากาศ-สู่-พื้น ใช้งานในระยะสั้น และระยะปานกลาง ในตระกูล AGM-65 มีทั้งนำวิถีด้วย TV, IIR (Imaging Infrared) และ Laser วิวัฒนาการ ตระกูล AGM-65 Maverick เริ่มมีการพัฒนาทดสอบในกลางปี..1960 จุดประสงค์เพื่อสร้างอาวุธ ให้มีขีดความสามารถ ในการทำลายเป้าหมายจำพวก รถถัง,รถยานเกราะและเป้าหมายป้องกันอื่น ๆ ทอ.สหรัฐ ฯ ได้เริ่มบรรจุเข้าประจำการ AGM-65A ซึ่งนำวิถีด้วย TV ในปี..1972 และใน..1975 ได้บรรจุเข้าประจำการ AGM-65B ซึ่งนำวิถีด้วย TV เหมือนรุ่น A แต่มีการเพิ่มขนาดมุมจำกัดการมองเห็น (Field Of View) (FOW) ให้สูงขึ้น ใน..1983 ได้บรรจุเข้าประจำการ AGM-65D ซึ่งนำวิถีด้วย Imaging Infrared (IIR) ใน..1985 ได้บรรจุเข้าประจำการ AGM-65E ซึ่งนำวิถีด้วย Laser ใน..1989 ได้บรรจุเข้าประจำการAGM-65F ซึ่งนำวิถีด้วย IIR ใน..1993 ได้บรรจุเข้าประจำการAGM-65G ซึ่งนำวิถีด้วย IIR กองทัพอากาศ จัดหาเข้าประจำการเมื่อ..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริก · ดูเพิ่มเติม »

เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์

อไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ (AIM-54 Phoenix) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศนำวิถีด้วยเรดาร์พิสัยใกล้ที่สามารถบรรทุกได้มากถึงหกลูก มันเคยถูกใช้ในกองทัพเรือสหรัฐฯ และในปัจจุบันใช้โดยเครื่องบินขับไล่เอฟ-14 ทอมแคทของกองทัพอากาศอิหร่านซึ่งเป็นอากาศยานลำเดียวที่สามารถบรรทุกได้ เอไอเอ็ม-54 เดิมทีถูกพัฒนาในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์

อไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ (AIM-7 Sparrow) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางที่ใช้โดยกองทัพอากาศ กองทัพเรือ และกองนาวิกโยธินของสหรัฐฯ เช่นเดียวกับกองทัพอากาศของพันธมิตรอื่นๆ สแปร์โรว์และแบบต่างๆ ของมันเป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีมาตั้งแต่ปล..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ · ดูเพิ่มเติม »

เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์

อไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ (AIM-9 Sidewinder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบินนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทู (Fox Two) ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธที่ใช้กว้างขวางที่สุดในฝั่งตะวันตก ด้วยการผลิตมากกว่า 110,000 ลูกสำหรับสหรัฐและอีก 27 ประเทศ ซึ่งอาจมีเพียง 1 % เท่านั้นที่ใช้ในการรบ มันถูกผลิตภายใต้ใบอนุญาตโดยบางชาติรวมทั้งสวีเดน เอไอเอ็ม-9 เป็นหนึ่งในขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่เก่าแก่ที่สุด ถูกที่สุด และประสบความสำเร็จที่สุด ด้วยคะแนนสังหารถึง 270 จากทั่วโลก มันถูกออกแบบมาเพื่อทำการพัฒนาได้โดยง่าย กล่าวกันว่าเป้าหมายของการออกแบบสำหรับไซด์ไวน์เดอร์ดั้งเดิมนั้นคือสร้างขีปนาวุธที่ไว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ กองทัพเรือสหรัฐได้ฉลองครบรอบ 50 ปีของการใช้มันในปี..

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ม61 วัลแคน

อ็ม 61 วัลแคน เอ็ม61 วัลแคน (ภาษาอังกฤษ: M61 Vulcan) เป็นปืนที่ทำงานด้วยระบบไฮดรอลิก มีหกลำกล้อง ระบายความร้อนด้วยอากาศ และยิงด้วยระบบแบบปืนกลแกทลิ่งในอัตราการยิงที่สูงอย่างมาก มันเป็นปืนใหญ่หลักที่ใช้กับอากาศยานทางทหารของสหรัฐอเมริกามากว่าห้าทศวรรษ เอ็ม61 เดิมที่ถูกสร้างขึ้นโดยเจเนรัล อิเลคทริคและต่อมาก็เป็นเจเนรัล ไดนามิกส์, FAS.org.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเอ็ม61 วัลแคน · ดูเพิ่มเติม »

เจเอฟ-17

JF-17 ของกองทัพอากาศปากีสถาน บินโชว์ที่งานแสดงการบินจูไห่ 2010 เจเอฟ-17 ทันเดอร์ (PAC JF-17 Thunder; JF-17 ย่อมาจาก Joint Fighter-17) หรือ เอฟซี-1 เสี่ยวหลง (CAC FC-1 Xiaolong; FC-1 ย่อมาจาก Fighter China-1) เป็นเครื่องบินขับไล่หลายบทบาท เครื่องยนต์เดี่ยว ที่ร่วมพัฒนาและสร้างขึ้นโดย โรงงานอุตสาหกรรมอากาศยานเฉิงตู (Chengdu Aircraft Industries Corporation - CAC) ของประเทศจีน กับ โรงงานการบินปากีสถาน (Pakistan Aeronautical Complex - PAC) ของประเทศปากีสถาน เครื่องเจเอฟ-17 ถูกพัฒนาขึ้นตามความต้องการของกองทัพอากาศปากีสถาน ที่ต้องการเครื่องบินรุ่นใหม่ ทันสมัย และราคาประหยัด เพื่อนำมาทดแทนเครื่องบินรุ่นเก่าที่กำลังจะปลดประจำการ ทั้งเครื่องบินทิ้งระเบิดหนานฉาง คิว-5 เครื่องบินสกัดกั้นเฉิงตู เอฟ-7 และเครื่องบินขับไล่ดัซโซลท์ มิราจ III และเพื่อใช้ส่งออกให้กับประเทศอื่นที่ต้องการจัดหามาใช้ประจำการ เครื่องบินรุ่นนี้สืบเนื่องมาจากโครงการพัฒนาและปรับปรุงเครื่องบินลุงตู่ เอฟ-7 โดยความร่วมมือระหว่างจีน กับบริษัทกรัมแมน ของสหรัฐอเมริกา ในปี 1989 แต่ทางบริษัทถอนตัวจากโครงการหลังจากมีการคว่ำบาตรต่อจีนเนื่องจากเหตุการณ์ชุมนุมประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน และวิศวกรจีนได้ดำเนินโครงการต่อ ร่วมกับวิศวกรปากีสถาน และนักออกแบบจากสำนักงานออกแบบมิโคยันของรัสเซีย เครื่องบินต้นแบบ PT-01 ได้รับการเปิดตัวเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2003 และทำการบินทดสอบในเดือนสิงหาคม ปีเดียวกัน ใช้เครื่องยนต์ Klimov RD-93 จากรัสเซีย โรงงานผลิตที่เมืองกัมรา แคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถานได้เริ่มสายการผลิตในเดือนมกราคม 2008 และเริ่มส่งมอบซุปเปอลุงให้กับกองทัพอากาศปากีสถานในปี 2010.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเจเอฟ-17 · ดูเพิ่มเติม »

เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111

นรัลไดนามิกส์เอฟ-111 หรือ เอฟ-111 (General Dynamics F-111) เป็นเครื่องบินแบบแรกที่สามารถลู่ปีกได้ โดยมีการเปลี่ยนมุมลู่ปีกเพื่อเสถียรภาพในการบินด้วยความเร็วต่ำและลดแรงต้านเมื่อบินด้วยความเร็วสูง และทำให้เกิดเครื่องบินที่สามารถลู่ปีกได้ตามมาอีก เช่น เอฟ-14 ทอมแคท ซุคฮอย ซู-17 เป็นต้น.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111 · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องบินทิ้งระเบิด

รื่องบินทิ้งระเบิดบี-17 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เครื่องบินทิ้งระเบิด คือ อากาศยานทางการทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อภารกิจการโจมตีเป้าหมายทางภาคพื้นดินและทางทะเล ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะใช้การปล่อยลูกระเบิดลงมาเพื่อทำลายเป้าหมาย ซึ่งระเบิดที่ถูกทิ้งลงมามีหลากหลายชนิด เช่น ระเบิดนาปาล์ม ระเบิดทำลายบังเกอร์ ระเบิดอัจฉริยะ ระเบิดนิวเคลียร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเครื่องบินทิ้งระเบิด · ดูเพิ่มเติม »

เฉิงตู เจ-10

ฉิงตู เจ-10 ที่กำลังบินขึ้นจากทางวิ่ง เฉิงตู เจ-10 (ภาษาอังกฤษ: Chengdu J-10; อักษรจีนตัวย่อ: 歼十-10; อักษรจีนตัวเต็ม: 殲-10; พินอิน: Jiān 10; นาโต้กำหนดรหัส: Firebird) เป็นเครื่องบินขับไล่หลากหลายบทบาทขนาดเบาและเป็นกำลังหลักของกองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชนในปัจจุบัน เป็นเครื่องบินรบรุ่นที่ 4.5 สร้างโดยโรงงานสร้างอากาศยานเฉิงตูแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เจ-10 ถูกออกแบบให้เป็นเครื่องบินขับไล่เอนกประสงค์ความคล่องตัวสูงจากการใช้แผนแบบปีกสามเหลี่ยม และคานาร์ด สามารถติดตั้งอาวุธได้หลายหลายทั้งอากาศสู่อากาศและอากาศสู่พื้น รุ่นแรกๆของ J-10 นั้น ใช้เครื่องยนต์ไอพ่นเทอร์โบแฟนของรัสเซีย ไลยูก้า แซตเทิร์น AL-31FN ในอนาคตนั้น ทางประเทศจีนมีโครงการติดตั้งเครื่องยนต์ในประเทศ WS-10A (WoShan-10A) Taihang ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้แกนโมดูลของเครื่องยนต์พลเรือน CFM-56 เป็นต้นแบบ แต่จนปัจจุบัน (พ.ศ. 2559) อยู่ในขั้นตอนการผลิตขั้นเริ่มต้น โปรเจกต์ล่าช้ากว่าแผนงานร่วมสิบปี ทำให้ยังต้องพึ่งพาเครื่องยนต์จากรัสเซียอยู่ต่อไป สมรรถนะของเครื่องบินรบแบบ J-10 ที่ติดตั้งเครื่องยนต์รัสเซียนั้น ใกล้เคียงกับ F-16C/D บล็อกแรกๆ วิเคราะห์โดยนักวิเคราะห์ทางทหารตะวันตก แต่ราคาถูกกว่า ในปี 2014 ทางการจีนได้ขออนุญาตทางการรัสเซียเพื่อให้ส่งออกเครื่องยนต์รุ่นล่าสุด AL-31FN Series 3 สำหรับการพัฒนาสมรรถนะของ J-10 ให้ดียิ่งขึ้น ทั้งยังได้บรรจุเรดาร์ AESA แบบใหม่ที่ทางการจีนพัฒนาขึ้นเองเข้าไปด้วยบปี และในปี 2015 จากการประเมินสมรรถนะของเครื่องบินรบแบบ J-10 ที่ติดตั้งเครื่องยนต์รัสเซียนั้น ทางอาร์เจนตินามีความสนใจในเครื่องบินรุ่นนี้ เนื่องจากว่า นอกจากจะมีประสิทธิภาพเท่าเทียมเครื่องจากตะวันตกในพิกัดเดียวกัน แต่มีราคาถูกกว่า ปัจจุบันเฉิงตู เจ-10 มีประจำการอยู่ในกองทัพอากาศจีน.

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเฉิงตู เจ-10 · ดูเพิ่มเติม »

เฉิงตู เจ-20

ฉิงตู เจ-20 (Chengdu J-20) เดิมอยู่ในชื่อโครงการ J-XX ซึ่งริเริ่มในทศวรรษที่ 1990 เริ่มทำการทดสอบการบินในช่วงปลายปี 2010 เริ่มเข้าประจำการในกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีนในเดือนมีนาคม 2017 โดยจะเป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาท เช่นเดียวกับ เอฟ-35 ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา เจ-20 เป็นเครื่องบินรบในยุคที่ 5 ที่มีเทคโนโลยีล่องหน (Stealth) เช่นเดียวกับ เอฟ-22 แร็พเตอร์,เอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 ของสหรัฐอเมริกา และ ซุคฮอย ที-50 ของรัสเซีย โดย เจ-20 จะสามารถบรรทุกอาวุธและเชื้อเพลิงได้มากกว่า เอฟ-22 พิสัยทำการและจำนวนอาวุธจึงมีมากกว่าเครื่อง เอฟ-22 ทำให้ภารกิจของเครื่องบิน เจ-20 มีความหลากหลายมากกว่าไปตามความสามารถในการบรรทุกที่มากกว่าและพิสัยการบินที่ไกลกว่า เจ-20 พัฒนาโดยบริษัท เฉิงตู แอร์คราฟท์ อินดัสทรี กรุ๊ป (Chengdu Aircraft Industry Group) (CAC) โครงสร้างยานมีความคล้ายคลึงกับ เอฟ-35 ค่อนข้างมากขณะที่ขนาดลำตัวมีขนาดใหญ่กว่า เอฟ-22 ไม่มาก ใช้เครื่องยนต์แบบ Saturn117s ที่ผลิตในรัสเซียจำนวน 2 เครื่อง และระบบเรดาห์เป็นแบบ Active Electronically Scanned Array (AESA).

ใหม่!!: เครื่องบินขับไล่และเฉิงตู เจ-20 · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »