โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บิ๊กบีต

ดัชนี บิ๊กบีต

กบีต (Big beat) (หรือ เคมิคอลเบรก) เป็นคำที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1990 โดยสื่อมวลชนอังกฤษที่อธิบายถึงแนวดนตรีของศิลปินอย่าง เดอะเคมิคอลบราเทอร์ส แฟตบอยสลิม เดอะคริสตอลเมธอด โพรเพลเลอร์เฮดส์ และเดอะโพรดิจี ที่เป็นแบบฉบับในการผลักดัน โดยใช้จังหวะเบรกบีตหนัก ๆ เข้ากับการวนไปมาจากเครื่องสังเคราห์และรูปแบบทั่วไปของรูปแบบดนตรีแนวอีเลกโทรนิกอย่างเช่น เทคโนและแอซ.

19 ความสัมพันธ์: กลองกีตาร์กีตาร์เบสสหรัฐสหราชอาณาจักรออลเทอร์นาทิฟร็อกฮิปฮอปดรัมแมชชีนดนตรีอินดัสเทรียลคริสต์ทศวรรษ 1990คีย์บอร์ดซีเควนเซอร์แฟตบอยสลิมแอซิดเฮาส์แซมเพลอร์เทคโนเดอะโพรดิจีเดอะเคมิคอลบราเทอส์เครื่องสังเคราะห์เสียง

กลอง

กลอง ทำด้วยหนังวัวขึงด้วยเชือก กลอง เป็นเครื่องดนตรีประเภทตีกระทบ ประกอบด้วยแผ่นบาง มักทำด้วยแผ่นหนังขึงยึดติดกับโครงให้ตึง ทำให้เกิดเสียงโดยการตีด้วยไม้ หรืออวัยวะของผู้เล่น กลองจัดเป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ที่สุดในโลก กลอง มีทั้งกลองที่ทำจากหนังสัตว์ และ กลองที่ทำจากพลาสติก ซึ่งจะให้เสียงที่แตกต่างกันไป และการใช้อุปกรณ์ช่วย กลองที่ทำจากพลาสติกจะต้องใช้ไม้ช่วยตีเพราจะช่วยให้เกิดเสียงที่ดังขึ้น เช่น กลองสแนร์ และ กลองชุด เป็นต้น ส่วนกลองที่ทำจากหนังสัตว์ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้ไม้ เนื่องจาก เราสามารถใช้แค่มือตีก็จะทำให้เกิดเสียงดังพอตัวอยู่แล้ว เช่น กลองยาว กลองรำมะนา ตะโพน เป็นต้น แต่ก็มีกลองหนัง ที่จำเป็นต้องใช้ไม้ก็มี เช่น กลองสะบัดชัย และ กลองทัด เนื่องจากเป็นกลองขนาดใหญ่จึงไม่สามารถใช้มือตีอย่างเดียวได้ กลองไม่ได้มีแค่ใช้ในทางเท่านั้นแต่ยังใช้ในด้านอื่นๆอีกด้วยเช่น การตีกลองเพื่อร้องทุกข์ต่อศาล การตีกลองเพื่อเปิดสงครามในสมัยก่อน และ การตีกลองเพื่อเป็นสัญญาณเพื่อให้พระสงฆ์ฉันเพลได้.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและกลอง · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและกีตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์เบส

ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและกีตาร์เบส · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: บิ๊กบีตและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: บิ๊กบีตและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ออลเทอร์นาทิฟร็อก

ออลเทอร์นาทิฟร็อก (alternative rock) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ออลเทอร์นาทิฟ (alternative) หรือ ออลต์ร็อก (alt rock) เป็นแนวเพลงร็อกที่เกิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1990 คำว่าออลเทอร์นาทิฟถูกคิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 อธิบายถึงแนวเพลงได้รับแรงบันดาลใจจากพังก์ร็อก โดยอยู่ค่ายเพลงอิสระ ที่ไม่ได้อยู่ในกระแสนิยมในช่วงเวลานั้น ในความหมายทางด้านดนตรี ซึ่งเรียกสั้น ๆ ว่า "อินดี้" ออลเทอร์นาทิฟประกอบด้วยเพลงหลากหลายแนวรวมกันทั้งกรันจ์ บริตป็อป กอทิกร็อก และอินดี้ป็อป ที่ถูกรวมกันโดยลักษณะพื้นฐานของพังก์ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญของดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกในทศวรรษที่ 1980 ออลเทอร์นาทิฟยุคแรก ๆ ถือกำเนิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา คริสต์ทศวรรษ 1970 ในนามของวงพังก์ร็อกคือวงเดอะ ราโมนส์ ก่อนที่จะมาเป็นออลเทอร์นาทิฟเต็มตัวและแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยมีวงอาร์.อี.เอ็ม. และเรดฮ็อตชิลิเป็ปเปอร์ส ปลุกกระแสแนวเพลงนี้ จนปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 เข้าสู่คริสต์ทศวรรษ 1990 เป็นช่วงที่แนวเพลงออลเทอร์นาทิฟรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีวงดัง ๆ ระดับโลกเกิดขึ้นมากมาย เช่น เนอร์วานา โอเอซิส เรดิโอเฮด เดอะไวต์สไตรปส์ กรีนเดย์ มิวส์ ลิงคินพาร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและออลเทอร์นาทิฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปฮอป

ปฮอป (Hip Hop) หรืออาจเขียนเป็น ฮิป-ฮอป (Hip-hop) มีความหมายถึงในด้านดนตรีแนวฮิปฮอป ที่เป็นที่นิยมสำหรับวัยรุ่นอเมริกาและทั่วโลก จนถูกยกระดับให้เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีรากฐานการพัฒนามาจากชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ ชาวละติน โดยในช่วงยุค 70' หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ ๆ ขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือกำเนิดขึ้น.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและฮิปฮอป · ดูเพิ่มเติม »

ดรัมแมชชีน

รัมแมชชีน Yamaha RY30 ดรัมแมชชีน (Drum machine) เป็นเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่จำรองเสียงกลอง ฉาบ เครื่องเคาะจังหวะอื่นๆ และเบสไลน์ ดรัมแมชชีนมักมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดนตรีเฮาส์ แต่ยังรวมถึงแนวเพลงอื่นๆ อีกมากมาย ยังถูกใช้แทนมือกลองที่ไม่ว่างหรือการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างมือกลองที่มีค่าจ้างแพง นอกจากนี้ดรัมแมชชีนในปัจจุบันมีเสียงหลายรูปแบบที่ไม่ซ้ำกัน และช่วยให้ผู้ใช้แต่งจังหวะและการเขียนที่ไม่ซ้ำกันด้วย ที่ใช้งานไม่ยากและง่ายเหมือนคนตีกลองของจริง ในปัจจุบันดรัมแมชชีนยังเป็นซีเควนเซอร์ในรูปแบบแซมเพิล (rompler) หรือ ซินธิไซเซอร์ที่สังเคราะห์เสียงกลองจากกลอง.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและดรัมแมชชีน · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอินดัสเทรียล

นตรีอินดัสเตรียล (Industrial music) เป็นแนวเพลงประเภทดนตรีทดลอง โดยมากมักหมายถึงดนตรีอิเล็กทรอนิก ที่มีลักษณะกวนโทสะและหมิ่นเหม่ คำนี้เกิดขึ้นมาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่ออธิบายถึงศิลปินจากค่ายอินดัสเตรียลเรเคิดส์ เว็บไซต์ออลมิวสิก อธิบายไว้ว่า "โดยมากเป็นความโมโหและก้าวร้าวในการรวมกันของร็อกและดนตรีอีเลกโทรนิก" โดย "ในช่วงแรกจะเป็นการผสมผสานของการทดลองดนตรีอีเลกโทรนิกอาวองการ์ด (เพลงจากเทป musique concrète ไวต์นอยส์ เครื่องสังเคราะห์เสียง ซับซีเควนเซอร์) และการยั่วยุแบบพังก์" ศิลปินอินดัสเตรียลในช่วงแรกได้ทดลองใช้เสียงกับเรื่องที่หมิ่นเหม่ การทำงานไม่ได้จำกัดเฉพาะในด้านดนตรีเท่านั้น แต่อาจรวมถึงศิลปะ การแสดง การจัดวาง และรูปแบบของศิลปะในรูปแบบอื่น V.Vale.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและดนตรีอินดัสเทรียล · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1990

คริสต์ทศวรรษ 1990 (1990s) เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1990 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1999 เป็นทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 เป็นทศวรรษแรกที่ตามมาด้วยผลกระทบของการสิ้นสุดสงครามเย็น คริสต์ทศวรรษ 1990.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและคริสต์ทศวรรษ 1990 · ดูเพิ่มเติม »

คีย์บอร์ด

ีย์บอร์ด (keyboard) เป็นของหมักดอง มีรสและกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากถูกหมักบ่ม และ เก็บมานานภายใต้สภาพอากาศปิด ยิ่งนานยิ่งมีกลิ่นที่เปรี้ยวรุนแรง อาจรวมถึง Mouse ด้วย เช่นกัน; ในการพิม.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและคีย์บอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ซีเควนเซอร์

ซีเควนเซอร์ หรือ การจัดลำดับดนตรี (music sequencer หรือ sequencer) เป็นอุปกรณ์หรือโปรแกรมเขียนเพลงที่สามารถจัดลำดับโน๊ตเพลงขึ้นมาเองได้ ผ่านในการบันทึกหลายรูปแบบ เช่น CV/gate, MIDI หรือ โอเพนซาวด์คอนโทรล (OSC) บางครั้งสามารถใช้ระบบข้อมูลอัตโนมัติผ่าน DAW หรือปลั๊กอินอื่น.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและซีเควนเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟตบอยสลิม

นอร์แมน เควนติน คุก (Norman Quentin Cook) เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1963 หรือเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า แฟตบอยสลิม (Fatboy Slim) เป็นดีเจจากอังกฤษสไตล์บิ๊กบีต โดยเขาจะรวมเพลงแนวอื่นอย่าง เบรกบีต, ร็อก, ฮิปฮอป, แทรนซ์, เฮาส์ และ อาร์แอนด์บี เข้าผสมในเพลงของเขา เจ้าของซิงเกิลฮิตอย่าง “Right Here, Right Now”, “Gangster Trippin”, “Bird Of Prey” และ “Weapon Of Choice” เป็นต้น เขาเคยเป็นสมาชิกวง เดอะเฮาส์มาร์ตีนส์ (The Housemartins) และ ก่อตั้งวง บีตส์อินเตอร์เนชั่นแนล (Beats International) ตั้งแต่ปี 1989 ถึง 1992 โดยมีเพลงฮิตอย่าง "Dub Be Good to Me" ติดอันดับ 1 บนยูเคอัลบั้มส์ชาร์ต และ ฟรีกพาวเวอร์ (Freak Power) วงดนตรีแนวเอซิดแจ๊สที่มี แอชลี่ย์ สเลเทอร์ เป็นนักร้องนำ โดยมีเพลง "Turn On, Tune In, Cop Out" ติดอันดับ 3 บนชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและแฟตบอยสลิม · ดูเพิ่มเติม »

แอซิดเฮาส์

แอซิดเฮาส์ (Acid house) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮาส์ที่เน้นจังหวะซ้ำแบบถูกสะกดจิต เหมือนกับดนตรีแทรนซ์ที่มักจะมีแซมเพิล หรือมีสายเสียงพูดแทนศิลปิน มีแกนเสียงดังผลัวะแบบอิเล็กทรอนิกส์ของแอซิดเฮาส์ และได้รับการพัฒนาในประมาณกลางยุค 1980 โดยเฉพาะอย่างยิ่งดีเจจากชิคาโก ผู้ทดลองกับ Roland TB-303 (เป็นเครื่องสังเคราะห์เสียง-ซีเควนเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์) แอซิดเฮาส์ได้แพร่กระจายไปยังสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ที่ถูกเล่นโดยดีเจในดนตรีแอซิดเฮาส์และต่อมาเป็นงานสังสรรค์เรฟ โดยในปลายทศวรรษ 1980 มีเพลงที่เลียนแบบ และแอซิดเฮาส์รีมิกซ์ที่นำแนวเพลงไปสู่กระแสหลัก ที่ยังมีบางอย่างที่ได้รับอิทธิพลจาก แนวป็อป และแดนซ์ ชื่อเล่น "เดอะซาวด์ออฟแอซิด" (the sound of acid) มีอิทธิพลต่อเพลงแดนซ์ของแอซิดเฮาส์ที่มีแก่นแท้เมื่อได้ถูกพิจารณาจากจำนวนที่แท้จริงของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ แทร็กที่อ้างอิงถึงแอซิดเฮาส์ที่ได้ผ่านการใช้เสียง รวมทั้ง แทรนซ์ กัวแทรนซ์ ไซเคเดลิกแทรนซ์ เบรกบีต บิ๊กบีต เทคโน ทริปฮอป และดนตรี.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและแอซิดเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

แซมเพลอร์

AKAI MPC2000 sampling sequencer นักดนตรีใช้ Yamaha SU10 Sampler แซมเพลอร์ (sampler) เป็นเครื่องดนตรีอีเลคทรอนิกส์ มีความใกล้เคียงกับเครื่องสังเคราะห์เสียง แทนที่จะใช้เสียงที่ได้จากการถูบนเทิร์นเทเบิล แซมเพลอร์เริ่มจากการนำหลาย ๆ เพลง (หรือเรียกว่า แซมเพิล) จากเสียงหลาย ๆ เสียงนำมาใส่โดยผู้ใช้ และเล่นกลับไปมาโดยขึ้นอยู่กับการปรับแต่งเครื่องดนตรี และเพราะว่าแซมเพิลมักจะเก็บไว้ใน RAM ทำให้การเข้าถึงข้อมูลจึงเร็ว การใช้เครื่องแซมเพลอร์ กลายเป็นสิ่งสำคัญในดนตรีฮิปฮอป ดนตรีอีเลกโทรนิกส์ และดนตรีอาวองต์การ์ด แซมเพลอร์มีส่วนร่วมในการตั้งค่าของเครื่องสังเคราะห์เสียง และสามารถปรับเปลี่ยนได้หลายแบบ แซมเพลอร์มีความสามารถแบบโพลีโฟนิก ที่พวกเขาสามารถเล่นมากกว่า 1 โน้ตได้ในเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและแซมเพลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทคโน

ทคโน (techno) เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน ในสหรัฐอเมริกา ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1980 คำว่า techno ได้ถูกจัดเป็นแนวดนตรีครั้งแรกในปี 1988Brewster 2006:354Reynolds 1999:71.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและเทคโน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะโพรดิจี

อะโพรดิจี (The Prodigy) เป็นวงดนตรีแนวอีเลคโทรนิก้าสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งโดย เลียม ฮาวเลตต์ ตั้งแต..

ใหม่!!: บิ๊กบีตและเดอะโพรดิจี · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเคมิคอลบราเทอส์

เดอะเคมิคอลบราเทอส์ เป็นดูโอจากอังกฤษ เจ้าของรางวัลแกรมมี่ มีสมาชิกคือ ทอม โรว์แลนด์ และ เอ็ด ไซมอน ในตอนแรกพวกเขาจะเรียกตัวเองว่า "The Dust Brothers" แต่ซ้ำกับดูโอของอเมริกัน จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่อนี้ในปี 1995 พวกเขาเป็นที่รู้จักในฐานะผู้บุกเบิกวงการเพลงบิ๊กบีต ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ ประสบความสำเร็จในช่วงทศวรรษ 1990 หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีอิเล็กทรอนิกส์สัญชาติอังกฤษ หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลแกรมมี หมวดหมู่:รีมิกเซอร์ หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534 หมวดหมู่:วงดูโอ.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและเดอะเคมิคอลบราเทอส์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสังเคราะห์เสียง

Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

ใหม่!!: บิ๊กบีตและเครื่องสังเคราะห์เสียง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Big beatChemical breaksบิ๊ก บีทเคมิคอลเบรก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »