โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24

ดัชนี เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24

ีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24 เป็นการประกวดร้องเพลงถ้วยพระราชทานชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ปีที่ 24.

20 ความสัมพันธ์: ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2558พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพิษณุ นิ่มสกุลกอล์ฟ-ไมค์ภาษาไทยรังสรรค์ ปัญญาเรือนวรเวช ดานุวงศ์ศกุนตลา เทียนไพโรจน์สุทธิพงษ์ วัฒนจังหทัยชนก สวนศรีทาทา ยังประเทศไทยเพลย์แชนแนลเรียลลิตีโชว์เศรษฐพงศ์ เพียงพอเคพีเอ็น อวอร์ดเคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 23เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 2517 มกราคม

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พิษณุ นิ่มสกุล

ษณุ นิ่มสกุล (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2521) ชื่อเล่น บอย เป็นนักร้อง นักแสดง และพิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงจากรายการเรียลลิตีโชว์ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 โดยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 โดยมีผลงานเพลงที่สร้างชื่อคือเพลง "อยากบอกเธอเหลือเกิน" ด้านการแสดง เขาได้รับรางวัลจากการแสดงรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ, รางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง และรางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดในสาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง รักที่รอคอ.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และพิษณุ นิ่มสกุล · ดูเพิ่มเติม »

กอล์ฟ-ไมค์

กอล์ฟ - พิชญะ นิธิไพศาลกุล และ ไมค์ - พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล เป็นคู่ศิลปินนักร้องเพลงไทยสากลแนวป็อป และ ฮิปฮอป อาร์แอนด์บี สังกัดบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และกอล์ฟ-ไมค์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์ ปัญญาเรือน

รังสรรค์ ปัญญาเรือน หรือ สงกรานต์ เกิดวันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และรังสรรค์ ปัญญาเรือน · ดูเพิ่มเติม »

วรเวช ดานุวงศ์

วรเวช ดานุวงศ์ (ชื่อเล่น: แดน) เป็นนักร้อง, นักแสดงและ ผู้กำกับภาพยนตร์ ชาวไทย และเป็นอดีตสมาชิกนักร้องกลุ่มดีทูบี.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และวรเวช ดานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศกุนตลา เทียนไพโรจน์

กุนตลา เทียนไพโรจน์ เป็นนักแสดง พิธีกร และดีเจชาวไทย ต้นหอมเกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2520 เป็นคริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิก เธอได้รับฉายาว่า "ควีนออฟแจ็คพ็อต! (Queen of Jackpot!)" เนื่องจากไปออกรายการ "ซุปตาร์ปาร์ตี้" ทำแจ็คพ็อตแตกทุกครั้งที่ใบ้ให้ผู้เข้าแข่งขันทางบ้าน (ถึงปัจจุบัน).

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และศกุนตลา เทียนไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิพงษ์ วัฒนจัง

ทธิพงษ์ วัฒนจัง หรือ ชมพู ฟรุตตี้ เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นมือกีตาร์วงโฟค์ซอง นานา และนักร้องนำของวงฟรุตตี้ วงดนตรีสตริง และเป็นนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ชื่อดัง ของอาร์เอส มีผลงานควบคุมการผลิต หรือแต่งเพลงให้กับศิลปินในสังกัดมากมายเช่น เกิร์ลลีเบอร์รี, ทู, เดอะเน็กซ์, เรนโบว์, ไอน้ำ, เฟลม, ศิลปินค่ายกามิกาเซ่รุ่นแรก ฯลฯ โดยเฉพาะงานเพลงประกอบละครโทรทัศน์หลายเรื่อง ที่สร้างชื่อเสียงให้กับชมพูเป็นอย่างดีในฐานะนักแต่งเพลง เช่น กนกลายโบตั๋น,คู่กรรม,ดวงตาสวรรค์,หงษ์ทอง,มณีร้าว,สายโลหิต,ญาติกา,รัตนโกสินทร์ ฯลฯ การศึกษา ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ชมพูยังมีผลงานการแสดงละครและภาพยนตร์หลายเรื่อง ส่วนใหญ่ได้รับบทเป็นเพื่อนของพระเอกหรือตัวสร้างสีสันในเรื่อง และยังเป็นกรรมการการตัดสินของ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ตำแหน่งสูงสุดในบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ของเขา คือ รองกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายผลิตธุรกิจเพลงไทย ทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บริหารค่ายกามิกาเซ่ ต่อมาจึงลาออก โดยดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารอาวุโสฝ่ายดูแลคอนเทนท์ศิลปิน บริษัทโซนี่ มิวสิก (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ผลิตศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่างซิงกูล่า เป็นต้น ปัจจุบันเป็นผู้บริหารที่ บริษัท เจเอสแอล โกลบอล มีเดีย จำกัด ในตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และสุทธิพงษ์ วัฒนจัง · ดูเพิ่มเติม »

หทัยชนก สวนศรี

หทัยชนก สวนศรี (ชื่อเล่น:ซาย) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และหทัยชนก สวนศรี · ดูเพิ่มเติม »

ทาทา ยัง

อมิตา มารี ยัง (Amita Marie Young; เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2523) หรือทาทา ยัง หรือ อมิตา ทาทา ยัง หรืออมิตา ยัง สีณพงศ์ภิภิธ เป็นนักร้อง นักแสดง และนางแบบลูกครึ่งไทย-อเมริกัน ทาทาเข้าสู่วงการดนตรีภายหลังชนะเลิศการประกวดร้องเพลงระดับชาติเมื่ออายุ 11 ปี และได้เซ็นสัญญาเป็นนักร้องอาชีพเมื่ออายุ 14 ปี กับสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีผลงานอัลบั้มอัลบั้มแรกคือ อมิตาทาทายัง เมื่อปี พ.ศ. 2538 อมิตา ยัง เรียกข้อมูลวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และทาทา ยัง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์แชนแนล

รายชื่อกลุ่มบริษัทและธุรกิจในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และเพลย์แชนแนล · ดูเพิ่มเติม »

เรียลลิตีโชว์

'''ภาพจากรายการบิ๊ก บราเธอร์ ''' เรียลลิตีโชว์ หรือที่ถูกว่า รีแอลลิทีโชว์ (reality show) เป็นรายการโทรทัศน์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งมักจะดำเนินไปโดยใช้สถานการณ์จริง และไม่มีการเขียนบท คัดเลือกผู้ร่วมรายการจากผู้ชมทางบ้าน ซึ่งจะต้องเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ที่ทางทีมงานได้จัดเตรียมเอาไว้ ผู้เข้าร่วมรายการจะต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ รายการโทรทัศน์เช่นนี้ เริ่มมาช้านานแล้ว แต่เพิ่งจะนิยมอย่างแพร่หลายเมื่อราว พ.ศ. 2543 (โดยเฉพาะจากรายการ Expedition Robinson) นักวิจารณ์บางท่านเห็นว่า การใช้คำว่าเรียลลิตีโชว์นี้ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ทั้งนี้เพราะรายการโทรทัศน์แบบนี้จำนวนมากให้ผู้เข้าร่วมแข่งขันไปอยู่ในสถานที่หรือสถานการณ์ที่แปลกแตกต่างไปจากการใช้ชีวิตจริง จึงไม่น่าจะถือว่าเป็นชีวิตจริงของพวกเขา จากการวิจัยของ Nielsen Media Research พบว่ารายการเช่นนี้มีสัดส่วนถึงร้อยละ 56 ของรายการโชว์ทางโทรทัศน์ของอเมริกา (ทั้งรายการทางเคเบิลทีวี และรายการจากสถานีโทรทัศน์ปกติ) และยังมีสัดส่วนเป็นร้อยละ 69 ของรายการโชว์ทางโทรทัศน์ทั่วโลก (ทั้งรายการทางเคเบิลทีวี และรายการจากสถานีโทรทัศน์ปกติ).

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และเรียลลิตีโชว์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐพงศ์ เพียงพอ

รษฐพงศ์ เพียงพอ (ชื่อเล่น: เต๋า) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และเศรษฐพงศ์ เพียงพอ · ดูเพิ่มเติม »

เคพีเอ็น อวอร์ด

การประกวดร้องเพลงถ้วยพระราชทานชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย หรือ เคพีเอ็น อวอร์ด เป็นการประกวดร้องเพลงในประเทศไทย จัดโดย กลุ่มสยามกลการ ตั้งแต..

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และเคพีเอ็น อวอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 23

ีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 23 เป็นการประกวดร้องเพลงถ้วยพระราชทานชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ปีที่ 23 โดยเริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่เดือนกรกฎาคม.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และเคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 25

ีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 25 เป็นการประกวดร้องเพลงถ้วยพระราชทานชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ปีที่ 25 (KPN Award 25th: The Battle Returns) โดยผู้เข้าแข่งขันในปีนี้มีจำนวนทั้งหมด 24 คน โดยทั้ง 24 คนเคยประกวด KPN มาแล้วทั้งสิ้น แต่ไม่ได้รับรางวัลชนะเลิศ โดยจะกลับมาแข่งขันเพื่อหาผู้ชนะอีกครั้ง.

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และเคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 24และ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »