โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศญี่ปุ่น

ดัชนี ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

366 ความสัมพันธ์: บะกุมะสึชาชาวญี่ปุ่นชาวรีวกีวชาวไอนุชิกเก็งชิงกันเซ็งชินโตชินโซ อาเบะชิโยดะ (โตเกียว)ชูบุชูโงกุฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกฟุตบอลโลก 2002พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2488พ.ศ. 2542พ.ศ. 2553พอโลเนียพิธีสารเกียวโตกรวยภูเขาไฟสลับชั้นกระสวยอวกาศกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่นกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นกองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่นกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่นกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่นกองทุนการเงินระหว่างประเทศการบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียตการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)การฟื้นฟูเมจิการยึดครองญี่ปุ่นการขนส่งในประเทศญี่ปุ่นการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกการ์ตูนญี่ปุ่นการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์การไม่มีศาสนากติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่นกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นกติกาสัญญาไตรภาคีฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งฝ่ายอักษะภาพยนตร์ญี่ปุ่นภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอมภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อภาษาญี่ปุ่น...ภาษาหมิ่นใต้ภาษาแม่ภาษาแต้จิ๋วภูมิภาคของญี่ปุ่นมหาวิทยาลัยโตเกียวมหาวิทยาลัยเคียวโตะมหาวิทยาลัยเคโอมหาสมุทรแปซิฟิกมหาอำนาจมังงะมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นมิชชันนารีมิชิมะ ยุกิโอะมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะมิโซะมุระซะกิ ชิกิบุมูลค่าตามราคาตลาดยะซุนะริ คะวะบะตะยุทธการที่เซะกิงะฮะระยุทธนาวีที่มิดเวย์ยุคมุโระมะชิยุคยะโยะอิยุคหินกลาง (แก้ความกำกวม)ยุคหินใหม่ยุคหินเก่ายุคอาซูกะยุคอาซูจิ–โมโมยามะยุคคะมะกุระยุคนาระยุคโชวะยุคโจมงยุคเมจิยุคเอะโดะยุคเฮอังยุคเซ็งโงกุยูโดระบบสองสภาระบบเจ้าขุนมูลนายรัฐบาลโชกุนอาชิกางะรัฐบาลโชกุนคะมะกุระรัฐบาลเอโดะรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นรัฐเอกราชราชมนตรีสภาราชวงศ์สุยราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายชื่อจังหวัดของประเทศญี่ปุ่นเรียงตามประชากรรายชื่อท่าอากาศยานในประเทศญี่ปุ่นรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากรรายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่นรายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่นรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมราเม็งรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบรีวโนะซุเกะ อะกุตะงะวะรถยนต์ลัทธิฟาสซิสต์ลัทธิคลั่งชาติลิงกังญี่ปุ่นลุดวิจ ฟาน เบโทเฟนวัฒนธรรมวันชาติ (ประเทศญี่ปุ่น)วาทยกรวิทยุเสียงอเมริกาวงแหวนไฟศาลเจ้าอิสึกุชิมะศาสนาพุทธศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่นสภาล่างสภาสูงสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น)สมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสหประชาชาติสันนิบาตชาติสารกึ่งตัวนำสารเคมีสาหร่ายสาเกสำนักข่าวกรองกลางสำเนียงคันไซสิทธิบัตรสุกียากี้สุขาวดี (นิกาย)สี่โรคสิ่งแวดล้อมใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นสถานีอวกาศนานาชาติสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่งสงครามแปซิฟิกสงครามโบะชิงสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโอนินสงครามเก็มเปสนามกีฬาแห่งชาติเรียวโงะกุสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกหมู่เกาะรีวกีวหมู่เกาะโอะงะซะวะระหมู่เกาะเซ็งกะกุหมีสีน้ำตาลหยาดน้ำฟ้าอะชิกะงะ ทะกะอุจิอะนิเมะอะเกะชิ มิสึฮิเดะอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารอาชิกางะ โยชิมิตสึอาวุธนิวเคลียร์อาหารญี่ปุ่นอาณาจักรแพ็กเจอิเล็กทรอนิกส์องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่นองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาแรมซาร์ฮอนด้าฮะรุกิ มุระกะมิฮิระงะนะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิคัมมุจักรพรรดิโกะ-โยเซจักรพรรดิโกะ-โทะบะจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรวาลวิทยาจังหวัดจังหวัดชิบะจังหวัดชิมาเนะจังหวัดชิงะจังหวัดชิซูโอกะจังหวัดฟูกูชิมะจังหวัดฟูกูอิจังหวัดฟูกูโอกะจังหวัดกิฟุจังหวัดกุมมะจังหวัดมิยางิจังหวัดมิยาซากิจังหวัดมิเอะจังหวัดยามางาตะจังหวัดยามางูจิจังหวัดยามานาชิจังหวัดวากายามะจังหวัดอากิตะจังหวัดอาโอโมริจังหวัดอิบารากิจังหวัดอิชิกาวะจังหวัดอิวาเตะจังหวัดฮกไกโดจังหวัดฮิโรชิมะจังหวัดทตโตริจังหวัดของประเทศญี่ปุ่นจังหวัดคางาวะจังหวัดคานางาวะจังหวัดคาโงชิมะจังหวัดคูมาโมโตะจังหวัดซางะจังหวัดนาระจังหวัดนางาซากิจังหวัดนางาโนะจังหวัดนีงาตะจังหวัดโอกายามะจังหวัดโอกินาวะจังหวัดโออิตะจังหวัดโอซากะจังหวัดโทกูชิมะจังหวัดโทยามะจังหวัดโทจิงิจังหวัดโคจิจังหวัดไอจิจังหวัดไซตามะจังหวัดเกียวโตจังหวัดเอฮิเมะจังหวัดเฮียวโงะจี7ถั่วเหลืองถ่านหินทวีปยุโรปทวีปยูเรเชียทวีปอเมริกาเหนือทวีปเอเชียทะนุกิทะเลญี่ปุ่นทะเลโอค็อตสค์ทะเลเซโตะในทาเคดาทงกัตสึท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวขงจื๊อข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่นข้าวดวงอาทิตย์ดอนัลด์ ทรัมป์ดัชนีการพัฒนามนุษย์ดัชนีสันติภาพโลกดักลาส แมกอาเธอร์ดาราศาสตร์ดิออบเซิร์ฟเวอร์ดนตรีคลาสสิกคมบุคริสต์มาสคลื่นสึนามิความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกคะบุกิคะตะกะนะคะตะนะคันจิคันโตคันไซคาบสมุทรเกาหลีคามากูระคาราเต้คิมิงะโยะคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติคณะเยสุอิตตระกูลโฮโจตระกูลไทระตลาดหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์โตเกียวตำนานเก็นจิซะโกะกุซะโดซาชิมิซามูไรซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่นซูชิซูโม่ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)ประชาธิปไตยประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประเทศพัฒนาแล้วประเทศฝรั่งเศสประเทศรัสเซียประเทศจีนประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ประเทศเยอรมนีประเทศเนเธอร์แลนด์ปิโตรเลียมนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นนางาซากินาซีเยอรมนีนิฮงโชะกินินเท็นโดแกงกะหรี่ญี่ปุ่นแก๊สธรรมชาติแมทธิว ซี. เพร์รีแมนจูเรียแมนดารินแอนิเมชันแผ่นอเมริกาเหนือแผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน พ.ศ. 2538แผ่นแปซิฟิกแคนนอนโชกุนโบสถ์คริสต์โชจูโมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่นโรคฝีดาษโอกินาวะโอริกามิโอดะ โนบูนางะโอซากะโทกูงาวะ อิเอยาซุโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโทโฮกุโตโยต้าโตเกียวโซบะโซนี่ไวโอลินไดเมียวเบสบอลเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคเกาะชิโกกุเกาะฮนชูเกาะคีวชูเกาะซาฮาลินเกาะโอกินาวะเกียวโต (นคร)เยนเวลามาตรฐานญี่ปุ่นเหล็กเหล็กกล้าเอ็นทีที โดโคโมเอเชียตะวันออกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียนคัพเฮอังเกียวเฮโจเกียวเจลีกเจป็อปเจ้าชายโชโตะกุเทศบาลของญี่ปุ่นเท็มปูระเดอะสเตรตส์ไทมส์เดจิมะเครื่องปั้นดินเผาเคียวโตะเค็นซะบุโร โอเอะเค็นโดเต้าหู้เซลล์เชื้อเพลิงเซเว่น อีเลฟเว่น.jp15 สิงหาคม6 สิงหาคม7 ธันวาคม8 สิงหาคม9 สิงหาคม ขยายดัชนี (316 มากกว่า) »

บะกุมะสึ

กุมะสึ ("ปลายยุคบะกุฟุ") เป็นชื่อเรียกช่วงเวลาปลายยุคเอะโดะซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดของรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ ชื่อดังกล่าวถูกกำหนดขึ้นจากเหตุการณ์ใหญ่ที่เกิดขึ้นโดยรวมระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและบะกุมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

ชา

ใบชาเขียวในถ้วยชาจีน ชา เป็นผลผลิตทางเกษตรกรรมจากใบ ยอดอ่อน และก้านของต้นชา (Camellia sinensis) นำมาผ่านกรรมวิธีแปรรูปหลากหลาย "ชา" ยังหมายรวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ทำจากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ นำมาชงหรือต้มกับน้ำร้อน ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากน้ำ ชาทุกชนิดสามารถทำได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวญี่ปุ่น

วญี่ปุ่น มีประมาณ 140-150 ล้านคนทั่วโลก เป็นกลุ่มคนที่อาศัยอยู่บนเกาะญี่ปุ่น"人類学的にはモンゴロイドの一。皮膚は黄色、虹彩は黒褐色、毛髪は黒色で直毛。言語は日本語。" และที่ต่างๆทั่วโลก เช่น ฮาวาย สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ภาษาที่ใช้คือภาษาญี่ปุ่น ศาสนาที่สำคัญคือศาสนาพุทธ และลัทธิชินโต กลุ่มชาวญี่ปุ่นในปัจจุบัน ประกอบขึ้นด้วยกลุ่มบุคคลในอดีตได้แก่ชาวยามาโตะและชาวรีวกีว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชาวญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ชาวรีวกีว

รีวกีว (โอะกินะวะ: Ruuchuu minzuku) หรือ โอกินะวะ (โอะกินะวะ: Uchinaanchu) ปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) เป็นชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะรีวกีว ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างคีวชูกับไต้หวัน ซึ่งปัจจุบันคือที่ตั้งของจังหวัดโอะกินะวะและคะโงะชิมะของประเทศญี่ปุ่น ภาษาของพวกเขาจัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยรีวกีว หนึ่งในสองตระกูลภาษาย่อยของตระกูลภาษาญี่ปุ่น และถูกนับว่าเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาญี่ปุ่น ชาวรีวกีวไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นชนกลุ่มน้อยในญี่ปุ่น เนื่องจากเจ้าหน้าที่จากทางการนับว่าชาวรีวกีวเป็นกลุ่มย่อยของชาวญี่ปุ่น ทำนองเดียวกับชาวยะมะโตะและไอนุ กระนั้นถ้าหากว่าชาวรีวกีวเป็นชนกลุ่มน้อย ก็ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น เพียงแค่จังหวัดโอะกินะวะก็มีชาวรีวกีวมากถึง 1.3 ล้านคนอาศัยอยู่ นอกจากนี้ยังมีชาวรีวกีวจำนวนไม่น้อยกว่า 600,000 คน อาศัยกระจายไปยังส่วนอื่น ทั้งภายในประเทศญี่ปุ่นเองและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก โดยมากจะอาศัยอยู่ในรัฐฮาวาย ผลการศึกษาด้านพันธุกรรมและมานุษยวิทยาพบว่าชาวรีวกีวมีความสัมพันธ์กับชาวไอนุเป็นพิเศษ และมีบรรพบุรุษร่วมกันช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นหรือยุคโจมง (10,000-1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ซึ่งอพยพมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อนจะผสมข้ามเผ่าพันธุ์กับชาวยะมะโตะในยุคยะโยะอิ (1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 300) ซึ่งอพยพมาจากเอเชียตะวันออก (โดยเฉพาะจากจีนและคาบสมุทรเกาหลี) ชาวรีวกีวมีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง เช่น ความเชื่อ ศาสนา หรือแม้แต่อาหาร โดยมีการเพาะปลูกข้าวเพื่อบริโภคครั้งแรกราวศตวรรษที่ 12 ประชากรอาศัยอยู่ตามหมู่เกาะอย่างโดดเดี่ยวเป็นเวลาหลายศตวรรษ ราวศตวรรษที่ 14 ได้มีการรวมสามอาณาจักรเป็นรัฐเดียวคืออาณาจักรรีวกีว (ค.ศ. 1429–1879) ซึ่งโดดเด่นด้านการค้าทางทะเลและมีสถานะเป็นรัฐบรรณาการของจีนยุคราชวงศ์หมิงเป็นต้นมา กระทั่ง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชาวรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไอนุ

วไอนุ บ้างเรียก ไอโนะ ในญี่ปุ่นจะเรียกชาวไอนุโดยไม่จำแนกกลุ่มว่า อุตะริ เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะฮกไกโดในประเทศญี่ปุ่น นักค้นคว้าเชื่อว่าชาวไอนุมีเชื้อสายคอเคซอย หรือชาวผิวขาว ซึ่งเป็นคนละเชื้อสายกับชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ทฤษฏีที่ว่านี้มาจากรูปลักษณ์ของชาวไอนุที่เป็นแบบผสมระหว่างชาวยุโรปและชาวเอเซีย แต่หลังจากการทดสอบทางดีเอ็นเอแล้วพบว่า ชาวไอนุไม่มีเชื้อสายชาวคอเคซอย รายงานบางฉบับกล่าวว่าชาวไอนุอยู่ในประเทศญี่ปุ่นมานานกว่าชาวญี่ปุ่น และในตำนานของชาวไอนุนั้นก็ได้กล่าวว่า "ชาวไอนุอยู่ที่นี่หลายแสนปีก่อนที่บุตรแห่งพระอาทิตย์จะมา" มีหลายทฤษฏีกล่าวถึงต้นกำเนิดของชาวไอนุ หากแต่ความจริงในเรื่องนี้ยังคงคลุมเครืออยู่มาก ไม่สามารถบอกได้ว่าชาวไอนุมาจากไหน อยู่ที่ฮกไกโดตั้งแต่เมื่อไหร่ หรือสืบเชื้อสายมาจากใคร ปัจจุบันชาวไอนุเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่มีฐานะยากจนมากที่สุดในญี่ปุ่น โดยมีชาวไอนุเพียงร้อยละ 17 ที่จบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ในจำนวนนี้มีเพียงครึ่งหนึ่งที่จบจากมหาวิทยาลัยในระดับประเทศ และรัฐบาลญี่ปุ่นได้รับรองว่าชาวไอนุเป็นชนพื้นเมืองของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชาวไอนุ · ดูเพิ่มเติม »

ชิกเก็ง

กเก็ง (執権 shikken) เป็นตำแหน่งบรรดาศักดิ์ซึ่งมีขึ้นตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชิกเก็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชินโต

ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชินโต · ดูเพิ่มเติม »

ชินโซ อาเบะ

นโซ อาเบะ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 57 ของประเทศญี่ปุ่นและเป็นคนญี่ปุ่นที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที 2 คนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อาเบะเกิดที่เมืองนะงะโตะ จังหวัดยะมะงุชิ และได้ศึกษาด้านรัฐศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยเซเก และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา ภายหลังจบการศึกษา ได้ทำงานกับบริษัท โกเบสตีล และได้ลาออกในปี 2525 เพื่อเข้ามาเล่นการเมือง เมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชินโซ อาเบะ · ดูเพิ่มเติม »

ชิโยดะ (โตเกียว)

แขวงชิโยดะ เป็น 1 ใน 23 แขวงการปกครองพิเศษของมหานครโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นเขตการปกครองอันเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการปกครองของประเทศ แขวงชิโยดะมีพื้นที่ 11.64 ตารางกิโลเมตร ในพื้นที่นี้เป็นพื้นที่ของพระราชวังหลวง ราว 12% ของพื้นที่ทั้งหมด ใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชิโยดะ (โตเกียว) · ดูเพิ่มเติม »

ชูบุ

ตชูบุของญี่ปุ่น ภูเขาฟูจิ สถานที่ที่สำคัญแห่งหนึ่งในชูบุ ชูบุ เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของประเทศ จุดเด่นของภาคชูบุก็คือ ถึงแม้ทั้ง 9 จังหวัดจะจัดอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่ก็มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ รวมไปถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แตกต่างกัน โดย 4 จังหวัดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น อันได้แก่ นีงะตะ โทะยะมะ อิชิกะวะ และฟุกุอิ เป็นเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มีหิมะตกหนักในฤดูหนาว แต่ระยะเวลาสั้นกว่าภูมิภาคโทโฮะกุและฮกไกโด ฤดูร้อนอากาศร้อนชื้นและเย็นสบายในฤดูใบไม้ผลิ พื้นที่ราบในเขตนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคชูบุ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่มีคุณภาพแห่งใหญ่แห่งหนึ่ง ชูบุ ตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 21 ล้านคนใน 9 จังหวัด ซึ่งถึงแม้ว่าจะจัดอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ รวมไปถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ในเขตโฮะกุริกุ ประกอบไปด้วยสี่จังหวัดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น อันได้แก่ นีงะตะ โทยะมะ อิชิกะวะ และฟุกุอิ เป็นเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มีหิมะตกหนักในฤดูหนาว แต่ระยะเวลาสั้นกว่าภูมิภาคโทโฮะกุและฮกไกโด ฤดูร้อนอากาศร้อนชื้นและเย็นสบายในฤดูใบไม้ผลิ พื้นที่ราบในเขตนี้มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคชูบุ และเป็นแหล่งปลูกข้าวที่มีคุณภาพแห่งใหญ่แห่งหนึ่ง พื้นที่สูงตอนกลางประกอบไปด้วยจังหวัดนะงะโนะ กิฟุ และยะมะนะชิ ดินแดนแห่งเทือกเขาสูงทอดตัวเป็นแนวยาวไม่รู้จบ ที่ตั้งของเจแปนแอลป์หรือที่รู้จักกันดีว่าเป็นหลังคาของญี่ปุ่น เป็นเมืองตากอากาศบนเขาและแหล่งเล่นสกียอดนิยมแห่งหนึ่ง บนภูเขาอากาศหนาวเย็นตลอดปี ในฤดูร้อนบนเขามีแสงแดดอบอุ่น แต่ในขณะที่ทางเชิงเขาอากาศร้อนชื้น พื้นที่ทางตอนล่างประกอบไปด้วยจังหวัดไอจิและชิซุโอะกะ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีภูมิอากาศอบอุ่นสบาย มีชื่อเสียงเลื่องลือ ในด้านการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ที่เมืองนะโงะยะ จังหวัดไอจิ และภูเขาไฟฟูจิ ภูเขาไฟที่สูงที่สุดและเป็นสัญญลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างเขตจังหวัดชิซุโอะกะและยะมะน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชูบุ · ดูเพิ่มเติม »

ชูโงกุ

ูโงกุ หรือ ชูโกกุ เป็นภูมิภาคทางส่วนปลายสุดของเกาะฮนชู โดยทิศเหนือติดทะเลญี่ปุ่น ทิศใต้ติดกับทะเลในทะเลเซโตะใน (Seto Naikai) ซึ่งเป็นผืนน้ำขนาด 9,500 ตารางกิโลเมตร มีเกาะเล็ก ๆ ระเกะระกะกว่า 1,000 เกาะ และได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของญี่ปุ่น ชูโงกุมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 7.8 ล้านคน จากทั้งหมด 5 จังหวัด ซึ่งแบ่งเป็นสองด้านโดยเทือกเขาชูโงกุ ทางตอนกลางของภูมิภาค ด้านที่อยู่ทางฝั่งทะเลญี่ปุ่นเรียกว่า San-In ซึ่งแปลว่าร่มเงาของภูเขา ได้แก่จังหวัดทตโตริ ชิมาเนะ และตอนเหนือของจังหวัดยามางูจิ ภูมิอากาศของดินแดนทางด้านทะเลญี่ปุ่นนี้ มีแสงแดดจ้าและสดใสในฤดูร้อน ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น มรสุมจากทางตะวันตกเฉียงเหนือทำให้มีหมอกจัดและเมฆหนาทึบ ส่วนอีกด้านหนึ่งเรียกว่า San-Yo คือทางฝั่งทะเลใน ประกอบไปด้วยจังหวัดโอกายามะ ฮิโรชิมะ และทางตอนใต้ของจังหวัดยามางูจินั้นมีอากาศอุ่นสบายตลอดปี ปริมาณน้ำฝนมีไม่มาก มีแสงแดดจ้าเป็นส่วนใหญ่นอกจากเมืองฮิโรชิมะที่เป็นที่รู้จักกันดี เนื่องจากผลของการทิ้งระเบิดปรมาณูเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว ภูมิภาคนี้ยังมีชื่อเสียงในเรื่องของปราสาท สถาปัตยกรรมและศิลปหัตถกรรมโบราณ รวมถึงเนินทรายที่เลื่องชื่อแห่งทตโตริก็อยู่ที่ภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและชูโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกหรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมสโมสรของแต่ละสมาพันธ์ฟุตบอลจาก 6 ทวีปทั่วโลก เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2002

ฟุตบอลโลก 2002 (2002 FIFA World Cup Korea/Japan) จัดขึ้นในเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ในวันที่ 14 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 17 และเป็นครั้งแรกที่มีเจ้าภาพ 2 ประเทศ ซึ่งทำให้ทีมชาติเกาหลีใต้และทีมชาติญี่ปุ่นเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับทีมชาติฝรั่งเศสที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 1998 และนับเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปเอเชีย ในการแข่งขันนี้ทีมชาติบราซิลชนะเยอรมนี 2-0 ในนัดชิงชนะเล.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฟุตบอลโลก 2002 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พอโลเนีย

อโลเนีย (Paulownia) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-20 เมตร ผลัดใบ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วมาก ต้นอ่อนมีเปลือกสีเขียว มีปุ่มหรือรอยแผลใบทั่วลำต้น ต้นแก่ (อายุมากกว่า 5 ปี) เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่อง เปลือกบางฉีกขาดง่ายไม่ทนไฟ ทำให้ต้นไม้ตายได้ถ้าถูกไฟไหม้ มีรากแก้วตรงและยาวได้ถึง 40 ฟุต รากแขนงและรากฝอยจะอยู่ต่ำกว่าผิวดินประมาณ 4 ฟุต เป็นพืชใบเดี่ยว ใบมีลักษณะเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปหัวใจ มีขนนุ่ม สีเขียวอ่อนด้านหลังใบ ก้านท้องใบไม่มีขน มีเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบชัดเจน ใบมีขนาดโตเต็มที่กว้างได้ถึง 36 นิ้ว ก้านใบยาว ดอกออกเป็นช่อ ขนาดใหญ่ ที่ปลายกิ่งมีสีม่วง ดอกตูมเป็นกระเปาะสีน้ำตาล เป็นดอกสมบูรณ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพอโลเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสารเกียวโต

ีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ต่อท้ายอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) กำหนดพันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก UNFCCC เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบรรลุ "เสถียรภาพความเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศที่ระดับซึ่งจะป้องกันการรบกวนอันตรายจากน้ำมือมนุษย์กับระบบภูมิอากาศ" พิธีสารเกียวโตมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2540 ในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น และมามีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 จนถึงเดือนกันยายน 2554 มี 191 รัฐลงนามและให้สัตยาบันพิธีสารฯ สหรัฐอเมริกาลงนามแต่มิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ และแคนาดาถอนตัวจากพิธีสารฯ ในปี 2554 รัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นซึ่งมิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ ได้แก่ อัฟกานิสถาน อันดอร์ราและเซาท์ซูดาน ภายใต้พิธีสารฯ 37 ประเทศอุตสาหกรรม และประชาคมยุโรปในขณะนั้น ("ภาคีภาคผนวกที่ 1") ผูกมัดตนเองให้จำกัดหรือลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสี่ชนิด (คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์และซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์) และแก๊สสองกลุ่ม (ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอนและเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน) รัฐสมาชิกทุกรัฐให้พันธกรณีทั่วไป การจำกัดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกนี้ไม่รวมการปล่อยจากการบินและการเดินเรือระหว่างประเทศ ที่การเจรจา ประเทศภาคผนวกที่ 1 ตกลงร่วมกันจะลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.2 ในระยะปี 2551-2555 เป็นสัดส่วนกับการปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อปีในปีฐาน ซึ่งโดยปกติใช้ปี 2533 เนื่องจากสหรัฐอเมริกามิได้ให้สัตยาบันในสนธิสัญญา การปล่อยแก๊สเรือนกระจกร่วมกันของประเทศภาคผนวกที่ 1 พิธีสารเกียวโตลดลงจากต่ำกว่าปีฐานร้อยละ 5.2 เหลือร้อยละ 4.2 PBL publication number 500253004.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและพิธีสารเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

กรวยภูเขาไฟสลับชั้น

ภูเขาไฟฟูจิกรวยภูเขาไฟสลับชั้นที่ยังไม่ดับในประเทศญี่ปุ่น ล่าสุดที่ปะทุขึ้นในปี 1707-08 Tavurvur กรวยภูเขาไฟสลับชั้นที่ยังไม่ดับใกล้กับRabaul ในประเทศปาปัวนิวกินี กรวยภูเขาไฟสลับชั้น หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ภูเขาไฟชนิดประกอบ ความสูงของภูเขาไฟทรงกรวยก่อขึ้นโดยชั้นหินซึ่งเกิดจากการแข็งตัวของหินหลอมเหลวหลายชั้น, เทฟรา, หินภูเขาไฟ และเถ้าภูเขาไฟ ซึ่งแตกต่างจากภูเขาไฟโล่ กรวยภูเขาไฟสลับชั้นมีลักษณะรายละเอียดที่สูงชันและการอักเสบเฉียบพลันเป็นระยะ ๆ และเงียบสงบเฉียบพลัน ในขณะที่มีบางอย่างกับหลุมที่ถล่มแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด หินหลอมเหลวที่ไหลจากกรวยภูเขาไฟสลับชั้นมักจะเย็นตัวลงและแข็งตัวก่อนที่จะแพร่กระจายไปไกลเนื่องจากความหนืดสูง หินหนืดหลอมเหลวขึ้นรูปนี้มักจะเป็นหินเฟลสิก ที่มีระดับสูงถึงกลางของซิลิก้า (เช่นเดียวกับใน ไรโอไลต, ดาไซต์ หรือแอนเดไซต์) ที่มีจำนวนน้อยของหินหนืดซิสน้อยกว่าความหนืด ครอบคลุมหมดหินหลอมเหลวที่ไหลหินเฟลสิก เป็นเรื่องแปลก แต่ในการเดินทางไกลที่สุดเท่าที่ 15 กม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกรวยภูเขาไฟสลับชั้น · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกระสวยอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ำนักงานมมบุโช กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หรือเรียกโดยย่อว่า มมบุโช หรือ เมกซ์ (MEXT) เป็นกระทรวงหนึ่งในรัฐบาลญี่ปุ่น กระทรวงศึกษาธิการก่อตั้งเป็นครั้งแรกในสมัยเม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น

80px กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น คือชื่อเรียกกลุ่มบริษัทรถไฟฟ้าญี่ปุ่น 7 บริษัท ที่แปรรูปมาจากการรถไฟญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2530 ปัจจุบันมีเส้นทางรถไฟในประเทศญี่ปุ่นความยาวกว่า 27,182 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20

กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 (สีฟ้าอ่อน คือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป) กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 (Group of Twenty Finance Ministers and Central Bank Governors) ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 เป็นกลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และผู้บริหารธนาคารกลางจากประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ 19 ประเทศ รวมกับสหภาพยุโรป (อียู) ประเทศทั้ง 19 ประเทศ ประกอบด้วยกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 8 ประเทศ (จี-8) คือ อังกฤษ แคนาดา ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เยอรมนี รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศระบบเศรษฐกิจเกิดใหม่ขนาดใหญ่อีก 11 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย บราซิล จีน อินเดีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก ซาอุดีอาระเบีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และตุรกี ประเทศในกลุ่มจี 20 มีขนาดเศรษฐกิจรวมกันเท่ากับร้อยละ 90 ของเศรษฐกิจโลก และมีประชากรรวมกันประมาณ 2 ใน 3 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 · ดูเพิ่มเติม »

กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น หรือ JSDF บางครั้งเรียกว่า JSF หรือ SDF เป็นบุคลากรจากประเทศญี่ปุ่นที่ถูกจัดตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงเพื่อแทนที่กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นที่ถูกยุบ และฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครองญี่ปุ่น ในเวลาหลังสงคราม กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นถูกใช้งานในเฉพาะภายในประเทศมีหน้าที่ในการป้องกันประเทศอธิปไตยชาติเพียงอย่างเดียวและไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ ยกเว้นในสถานการณ์ที่เป็นการป้องกันตนเองในขอบเขตที่จำกัดเท่านั้น แม้อาจมีภารกิจในต่างประเทศในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ แต่ล่าสุดในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ครม.ญี่ปุ่นได้ตีความรัฐธรรมนูญมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นใหม่สรุปได้ว่า กองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นจะสามารถส่งทหารไปปฏิบัติภารกิจการป้องกันตนเองร่วมได้(Collectvie-Self Defence) ตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อปกป้องชาติหนึ่งจากการถูกรุกราน โดยญี่ปุ่นจะสามารถไปช่วยเหลือชาติพันธมิตรใกล้ชิดที่ถูกโจมตีได้ หากการโจมตีนั้นเป็นภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของญี่ปุ่นและไม่มีวิธีอื่นในการปกป้องชีวิตชาวญี่ปุ่น ในด้านการพัฒนาอาวุธ ในรธน.ญี่ปุ่นถูกกำหนดห้ามพัฒนาอาวุธในเชิงรุก ส่วนในด้านการห้ามส่งออกอาวุธนั้น แม้ญี่ปุ่นจะเป็นผู้กำหนดขึ้นเองเมื่อปีพ.ศ. 2510 แต่ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 ญี่ปุ่นได้ผ่อนคลายกฎห้ามส่งออกอาวุธ โดยสามารถส่งออกอาวุธและมีส่วนร่วมในการผลิตอาวุธกับนานาชาติได้ แต่ญี่ปุ่นจะไม่ส่งออกอาวุธให้แก่ประเทศที่ตกอยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง หรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคงของนานาชาติ นอกจากนี้ การจำหน่ายอาวุธก็จะต้องเป็นไปเพื่อส่งเสริมสันติภาพสากลคือต้องเป็นยุทโธปกรณ์ที่ไม่ใช่เพื่อสังหาร และเป็นประโยชน์ต่อความมั่นคงของญี่ปุ่นเอง ส่วนในด้านการสนันสนุนกองกำลังต่างชาติ ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศแก้ไขกฎบัตรว่าด้วยการสนับสนุนต่างชาติ โดยสามารถมอบทุนสนับสนุนภารกิจของกองกำลังต่างชาติที่มิใช่การสู้ร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น (Japan Ground Self-Defense Force คำย่อ: JGSDF) เป็นหนึ่งในสามเหล่าทัพ ของประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการบรรเทาทุกข์และพิทักษ์ผลประโยชน์ของประเทศญี่ปุ่น มาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น (อังกฤษ: Japan Air Self-Defense Force: JASDF) เป็นสาขาหนึ่ง ของ กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันน่านฟ้าของญี่ปุ่นและการดำเนินงานการบินอื่น ๆ JASDF ดำเนินการลาดตระเวนทางอากาศทั่วญี่ปุ่น ขณะเดียวกัน ก็มีเครือข่ายกับที่เชื่อมกับหน่วยงานภาคพื้นดิน รวมกึงระบบเรดาร์เตือนภัยล่วงหน้าทางอาก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น

250px กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล海上自衛隊 กำลังพล กะลาสี45,800 (2003 est.) ศักย์สงคราม ยุทโธปกรณ์สงครามผิวน้ำ121 (2009 est.) เครื่องบิน179 เฮลิคอปเตอร์135 กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่น มีประวัติมายาวนาน ในช่วง ศตวรรษที่ 20 จนถึง กลางศตวรรษ กำลังทางเรือญี่ปุ่นมีความก้าวหน้ามาก กองทัพเรือญี่ปุ่นในช่วงนั้นถือได้ว่าเป็นมหาอำนาจชาติหนึ่ง แต่ว่าเมื่อแพ้สงครามโลก กองทัพเรือญี่ปุ่นได้ถึงจุดตกต่ำสุด เมื่อปี ค.ศ. 1954 รัฐบาลญี่ปุ่น ได้จัดตั้งกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลและอากาศขึ้น กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลก็ค่อย ๆ เติบโตบวกกับประสบการณ์การสร้างเรือรบมาตลอดของญี่ปุ่นทำให้วันนี้กองทัพเรือญี่ปุ่นหรือกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล เป็นกองทัพเรือที่ทันสมัยอย่างมากและมีเรือรบที่เพียงพอต่อยุทธศาสตร์ป้องกันประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

ัญลักษณ์ของ IMF กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต

การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต ยังเป็นที่รู้จักในฐานะกลยุทธปฏิบัติการรุกแมนจูเรีย (Манчжурская стратегическая наступательная операция, lit. Manchzhurskaya Strategicheskaya Nastupatelnaya Operaciya) หรือปฏิบัติการแมนจูเรีย (Маньчжурская операция) เริ่มตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 1945 กองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตได้รุกรานรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่นคือรัฐแมนจูกัว มันเป็นการทัพครั้งสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองและใหญ่ที่สุดของสงครามโซเวียต-ญี่ปุ่น ในปี 1945 ที่ได้กลับมาสู้รบกันอีกครั้งระหว่างสหภาพโซเวียตและจักรวรรดิญี่ปุ่น หลังจากสงบศึกกันเป็นเวลาเกือบหกปี ผลประโยชน์ที่ได้รับของโซเวียตคือ แมนจูกัว, เหม่งเจียง (มองโกลเลีย), ดินแดนเกาหลีทางตอนเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)

การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น คือ เหตุการณ์สู้รบบนคาบสมุทรเกาหลีและยุทธการที่เกิดขึ้นตามมา ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูเมจิ

การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการฟื้นฟูเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองญี่ปุ่น

การยุบจักรวรรดิญี่ปุ่น คลิกที่รูปภาพสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม การยึดครองญี่ปุ่นโดยฝ่ายสัมพันธมิตรหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ อันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ และเครือจักรภพอังกฤษเป็นผู้สนับสนุน ซึ่งเป็นการยึดครองแผ่นดินญี่ปุ่นโดยชาวต่างชาติเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นกว่า 2,000 ปี การยึดครองดังกล่าวเปลี่ยนแปลงประเทศญี่ปุ่นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยซึ่งทำให้หวนคิดถึงการเมือง "นิวดีล" (New Deal) ของอเมริกาในคริสต์ทศวรรษ 1930 การยึดครองดังกล่าวมีชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการบัญชีดำ (Operation Blacklist) สิ้นสุดลงด้วยสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก ที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการยึดครองญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศญี่ปุ่น

การคมนาคมของประเทศญี่ปุ่น นั้นประกอบไปด้วยทางบก ทางทะเล และทางอากาศ สถานีโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นมีถนนสายสำคัญหลายสายในทุกภาค โดยถนนหลักแต่ละสายจะเชื่อมโยงกับเมืองสำคัญ ๆ หรือเมืองใหญ่ ๆ ในทุก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการขนส่งในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit ย่อว่า EAS) เป็นการประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จำนวน 16 ประเทศ โดยมีกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการ์ตูนญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์

การโจมตีท่าเพิร์ลเป็นการโจมตีทางทหารอย่างจู่โจมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อฐานทัพเรือสหรัฐที่ท่าเพิร์ล ดินแดนฮาวาย ในเช้าวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของญี่ปุ่น นายมัสซูโอกะ กำลังลงนามในกติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่น กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่น (Soviet–Japanese Neutrality Pact) คือสนธิสัญญาระหว่าง สหภาพโซเวียตและจักรวรรดิญี่ปุ่น ลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1941 สองปีหลังจากสงครามชายแดนโซเวียต-ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1936 และมีเป้าหมายเพื่อที่จะต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern) โดยทั่วไป แต่หมายถึง สหภาพโซเวียต เป็นพิเศษ "เป็นที่รู้กันดีว่าเป้าหมายขององค์การคอมมิวนิสต์สากล หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนามโคมินเทิร์น นั้นคือการทำให้รัฐต่างๆ แตกออกจากกันและหลังจากนั้นก็จะใช้กำลังเข้าปราบปรามเพื่อให้รัฐทั้งหลายบนโลกนี้ตกอยู่ใต้อำนาจบังคับของคอมมิวนิสต์ ด้วยความมั่นใจว่าการเข้าแทรกแซงกิจการภายในของรัฐโดยองค์การคอมมิวนิสต์สากลนั้นมิได้เพียงแต่เข้าไปคุกคามต่อสันติภาพภายในประเทศและความสงบสุขของสังคมแล้ว แต่ยังเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงเป็นความปรารถนาที่จะทำให้เกิดความร่วมมือกันป้องกันตัวจากกิจกรรมทั้งหลายของพวกคอมมิวนิสต์".

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาไตรภาคี

กติกาสัญญาไตรภาคี (Tripartite Pact) หรือ กติกาสัญญาเบอร์ลิน เป็นความตกลงทางการทหาร ทำขึ้นระหว่าง นาซีเยอรมนี, ราชอาณาจักรอิตาลี และ จักรวรรดิญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและกติกาสัญญาไตรภาคี · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ญี่ปุ่น

นตร์ญี่ปุ่น มีประวัติอันยาวนานมาร่วมร้อยปี โดยภาพยนตร์เงียบเรื่องแรกของญี่ปุ่นคือภาพยนตร์เรื่อง Bake Jizo และ Shinin no sosei ภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาพยนตร์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม

วะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม หรือ ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ไอที (Dot-com bubble หรือ I.T. bubble) คือภาวะการเก็งกำไรอันเกินควรของตลาดหลักทรัพย์ภาคเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ

ีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014 ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ (purchasing power parity, PPP) หรือ ประสิทธิผลของเงิน เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เพื่อคำนวณหาระดับการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละประเทศ โดยใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริกาเป็นฐานในการคำนวณ และแสดงผลในสกุลเงินดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้

ษาหมิ่นใต้, ภาษาหมิ่นหนาน เป็นสำเนียงของภาษาจีน ใช้พูดทางใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และบริเวณใกล้เคียง และโดยลูกหลานของผู้อพยพจากบริเวณนี้เข้าไปยังบริเวณอื่นๆทั่วโลก โดยทั่วไปภาษาหมิ่นใต้เป็นชื่อเรียกโดยชาวจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำเนียงหนึ่งในภาษานี้เรียกภาษาไต้หวัน อยู่ในกลุ่มภาษาหมิ่น ของภาษาจีน โดยปกติไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาหมิ่นตะวันออก ภาษาจีนกวางตุ้ง และภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาษาหมิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแม่

ภาษาแม่ (mother tongue, native language) หรือ ภาษาที่หนึ่ง (first language, L1) คือภาษาที่บุคคลใช้เป็นภาษาหลักในการสื่อสารของตัวเองกับบุคคลในพื้นที่หรือประเทศเดียวกัน และเป็นภาษาที่พูดได้แต่กำเนิด หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแต้จิ๋ว

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภาษาแต้จิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิภาคของญี่ปุ่น

ูมิภาคในประเทศญี่ปุ่น มิได้มีสถานะเป็นหน่วยการปกครองอย่างเป็นทางการ แต่มีการใช้สืบเนื่องกันมาเป็นแผนกหนึ่งในการจำแนกพื้นที่ของประเทศญี่ปุ่นไปตามแต่บริบท ยกตัวอย่างเช่น แผนที่และตำราภูมิศาสตร์ในญี่ปุ่นจะแบ่งเป็นแปดภูมิภาค, การรายงานสภาพอากาศมักจะรายงานตามภูมิภาค ตลอดจน หน่วยธุรกิจและสถาบันการศึกษาจำนวนมากก็ใช้ชื่อภูมิภาคของเขาเป็นส่วนหนึ่งของชื่อองค์กร จากเหนือจรดใต้ ภูมิภาคตามจารีตของญี่ปุ่นประกอบด้ว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและภูมิภาคของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโตเกียว

หอประชุมยาสุดะในมหาวิทยาลัยโตเกียว มหาวิทยาลัยโตเกียว หรือย่อว่า โทได เป็นมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นในลักษณะของมหาวิทยาลัยวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองโตเกียว มีพื้นที่แยกออกเป็น 5 วิทยาเขต ใน ฮงโง โคมะบะ คะชิวะ ชิโระงะเนะ และ นะกะโนะ และได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีเกียรติมากที่สุดในญี่ปุ่น และยังจัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก มหาวิทยาลัยโตเกียวประกอบด้วย 10 คณะซึ่งมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 30,000 คน ในจำนวนนี้มีนักศึกษาต่างชาติประมาณ 2,100 คนเป็นนักศึกษาไทยประมาณ 150 คน (ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงทีสุดในบรรดามหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น) ปัจจุบันมีหลักสูตรครอบคลุมสาขาวิทยาการเกือบทั้งหมด แต่ที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ กฎหมาย รัฐศาสตร์ วรรณกรรม เศรษฐศาสตร์ แพทยศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตนักการเมืองและข้าราชการระดับสูงของญี่ปุ่นจำนวนมาก นับแต่อดีตจนปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วนจะลดลงก็ตาม อัตราส่วนของรัฐมนตรีที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียวยังคงสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น โดยแต่ละช่วงคริสต์ศตวรรษจะอยู่ที่ประมาณ 2/3 1/2 1/4 1/5 และ1/6 ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1950 60 70 80 และ 90 ตามลำดับ มหาวิทยาลัยโตเกียวมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับว่า เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในหลากหลายสาขาวิชา และมีอัตราการแข่งขันในการเข้าศึกษาสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียวมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งอยู่หกมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยเกียวโตซึ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลเป็นจำนวนมาก หนึ่งในศิษย์เก่าเจ้าของรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยโตเกียวคืออธิการบดีมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพิเรียลชื่อ ศาสตราจารย์ คิคุจิ ไดโรกุ ในด้านกีฬา ทีมเบสบอลมหาวิทยาลัยโตเกียว ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัยของกรุงโตเกียว ศูนย์ฮงโหงะเป็นศูนย์หลักของมหาวิทยาลัยซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของตระกูล "มาเอดะ" ช่วงสมัยเอโดะผู้เป็นเจ้าเมืองเคหงะ สัญลักษณ์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักและอยู่จนปัจจุบันของมหาวิทยาลัยคือ "อะกามง" (ประตูแดง) ส่วนตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นรูปใบแปะก๊วย ซึ่งปลูกอยู่เรียงรายทั่วทั้งบริเวณของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมหาวิทยาลัยโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคียวโตะ

มหาวิทยาลัยเคียวโตะ หรือเรียกย่อว่า เคียวได เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับที่ 2 ของประเทศญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 22,000 คน มหาวิทยาลัยเคียวโตะก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869) ที่เมืองเคียวโตะ ในจังหวัดเคียวโตะ มหาวิทยาลัยเคียวโตะมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับ โดยมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งเช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยโตเกียวซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงแห่งย่านคันโต หอนาฬิกา มหาวิทยาลัยเคียวโต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมหาวิทยาลัยเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคโอ

มหาวิทยาลัยเคโอ มุมมองจากหอคอยโตเกียว มหาวิทยาลัยเคโอ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2401 เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับที่ 1 ของประเทศญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่ใจกลางของกรุงโตเกียว มีอายุครบ 150 ปีใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมหาวิทยาลัยเคโอ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาอำนาจ

มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมังงะ · ดูเพิ่มเติม »

มาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น

มาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น เป็นบทในรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นที่ห้ามพฤติการณ์แห่งสงครามโดยรัฐ รัฐธรรมนูญดังกล่าวมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2490 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในข้อความนี้ รัฐสละสิทธิอธิปไตยในสงครามและห้ามการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศผ่านการใช้กำลัง มาตรานี้ยังแถลงว่า เพื่อบรรลุเป้าประสงค์เหล่านี้ จะไม่มีการธำรงกองทัพที่มีศักย์สงคราม แม้ญี่ปุ่นยังธำรงกองทัพโดยพฤตินัย คือ กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มิชชันนารี

มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมิชชันนารี · ดูเพิ่มเติม »

มิชิมะ ยุกิโอะ

มิชิมะ ยุกิโอะ เป็นนามปากกาของ ฮิระโอะกะ คิมิตะเกะ (14 มกราคม ค.ศ. 1925 - 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970) เป็นกวีและนักเขียนชาวญี่ปุ่น ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักเขียนท่านหนึ่งที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ ยุกิโอะเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมถึง 3 ครั้ง และเกือบได้รับรางวัลนี้ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมิชิมะ ยุกิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ

มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (みなもと の よりとも Minamoto no Yoritomo หรือ 源 頼朝 Minamoto Yoritomo) หรือ โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ เป็นผู้ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ · ดูเพิ่มเติม »

มิโซะ

มิโซะ มิโซะ เป็นผลิตภัณฑ์อาหารญี่ปุ่น หมักจากข้าว ข้าวบาร์เลย์ หรือถั่วเหลืองกับเกลือและราโคจิกิง (麹菌) ซึ่งมิโซะส่วนมากจะเป็นมิโซะจากถั่วเหลือง มีลักษณะนิ่ม (paste) รสเค็ม และมีกลิ่นคล้ายเนื้อ มีโปรตีนสูง มีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้ำตาลเข้ม มักนำมาประกอบอาหาร ทำซุปโดยละลายมิโซะในน้ำ เติมผัก เต้าหู้ เห็ดหรือสาหร่าย หรือทำเป็นเครื่องจิ้มปรุงรส สำหรับอาหารประเภทเนื้อ ปลา หอยและผัก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมิโซะ · ดูเพิ่มเติม »

มุระซะกิ ชิกิบุ

มุระซะกิ ชิกิบุ มุระซะกิ ชิกิบุ (ค.ศ. 973 - ค.ศ. 1014 หรือ 1025) เป็นกวีชาวญี่ปุ่น เป็นผู้สร้างผลงาน ตำนานเก็นจิ เธอเป็นหญิงในราชสำนักสมัยเฮอัง เกิดในปี เทนเอน ที่ 1(Ten-en 1) หรือราว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมุระซะกิ ชิกิบุ · ดูเพิ่มเติม »

มูลค่าตามราคาตลาด

มูลค่าตามราคาตลาด (Market Capitalization) หรือบางทีเรียกสั้นๆว่า "Market Cap" เป็นค่าที่คำนวณจากการนำราคาปิดของหลักทรัพย์จดทะเบียนคูณกับจำนวนหลักทรัพย์จดทะเบียนปัจจุบัน ซึ่งมูลค่าดังกล่าวจะสะท้อนให้ผู้ลงทุนเห็นถึงขนาดและความน่าสนใจลงทุนของตลาดหลักทรัพย์นั้นๆ ทั้งในแง่ของสภาพคล่องปริมาณและประเภทสินค้าที่จะเลือกลงทุน การคำนวณ Market Cap ของตลาดหลักทรัพย์ต่างๆ มีหลักการคำนวณที่เหมือนกัน แต่อาจแตกต่างกันที่รายละเอียดบางประเด็น ได้แก่หลักเกณฑ์การคัดเลือกประเภทหลักทรัพย์ที่นำมารวม คำนวณหลักเกณฑ์การคำนวณกรณีหลักทรัพย์จดทะเบียนที่ใช้คำนวณมีการเปลี่ยนแปลงทั้งเพิ่มจำนวนขึ้นหรือลดลงหรือไม่มีการซื้อขาย สูตรในการคำนวณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลค่าตามราคาตล.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและมูลค่าตามราคาตลาด · ดูเพิ่มเติม »

ยะซุนะริ คะวะบะตะ

ซุนะริ คะวะบะตะ ในปี ค.ศ. 1938 ยะซุนะริ คะวะบะตะ (14 มิถุนายน ค.ศ. 1899 - 16 เมษายน ค.ศ. 1972) เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นชาวญี่ปุ่น เขาเป็นชาวญี่ปุ่นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยะซุนะริ คะวะบะตะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ

ทธการเซะกิงะฮะระ เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุทธการที่เซะกิงะฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่มิดเวย์

ทธนาวีมิดเวย์ (Battle of Midway, ミッドウェー海戦) เป็นยุทธนาวีที่สำคัญที่สุดในแนวรบด้านมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 4 - 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุทธนาวีที่มิดเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมุโระมะชิ

มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคมุโระมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคยะโยะอิ

อิ - ราว 300ปี ก่อนคริสต์ศักราช - ค.ศ. 250 วัฒนธรรมยาโยอิ ได้รับอิทธิพลมาจาก การอพยพเข้ามาของคนจากผืนแผ่นดินใหญ่สู่หมู่เกาะญี่ปุ่น เรียกได้ว่าชาวญี่ปุ่นเป็นผู้ที่สามารถดัดแปลง เลียนแบบ ในการรับเอาวัฒนธรรมอื่นทุกๆอย่างที่สูงกว่าตน มาใช้อย่างได้ผลดีต่อสังคม ผู้คนตั้งถิ่นฐานทางตะวันตกและตะวันออกของประเทศ - เริ่มเรียนรู้การเพาะปลูกข้าว วิชาช่าง เครื่องมือเครื่องใช้ทำด้วยทองสัมฤทธิ์และเหล็ก เช่น เครื่องมือเพาะปลูก ดาบ กระจกเงา - เครื่องปั้นดินเผายาโยอิ ใช้แกนหมุนในการขึ้นรูป เครื่องมือเครื่องใช้ทำด้วยโลหะและหินขัด - ชาวจีนเรียกแผ่นดินญี่ปุ่นว่า แผ่นดินของวา (วา แปลว่า แคระ) - ใน ค.ศ. 57 เจ้าเมืองแผ่นดินวา ได้รับตราประจำตำแหน่งทำด้วยทอง เขียนไว้ว่า “เจ้าเมืองแผ่นดินวาของฮั่น” หลังจากส่งเครื่องบรรณาการให้แก่ฮ่องเต้เมืองฮั่น - ศาสนาสมัยแรกของชาวญี่ปุ่นคือ ชินโต หรือ “ทางของเทพเจ้า” เป็นศาสนาที่สักการบูชาเทพเจ้า ซึ่งได้แก่ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรือบรรพบุรุษในตำนาน (สถานที่ประกอบพิธีกรรมของศาสนาชินโต ในสมัยนั้น) - ตอนต้นของศตวรรษแรก แผ่นดินวานี้แบ่งออกเป็นรัฐต่างๆน้อยใหญ่ประมาณ 100 กลุ่มชนด้วยกัน แต่ในศตวรรษต่อไปนั้นจำนวนรัฐลดเหลือเพียง 30 กลุ่มชน อยู่รวมกันภายใต้การคุ้มครองของราชินีองค์หนึ่ง นามว่า พระนางฮิมิโกะ ซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ทางศาสนามากกว่าเป็นประมุขทางการเมือง พระนางทำหน้าที่เป็นคนทรงและประกอบเวทมนตร์คาถาให้ประชาชน ส่วนประมุขทางการเมืองยังเป็นจักรพรรดิ - ใน ค.ศ. 239 พระนางฮิมิโกะ ผู้ครองอาณาจักรยามาไท ส่งเครื่องบรรณาการไปยังเมืองเว่ย ของจีน - ช่วงศตวรรษที่3 มีการอพยพของคนจากแผ่นดินใหญ่ผ่านทางเกาหลีเข้ามายังญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคยะโยะอิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (แก้ความกำกวม)

หินกลาง ในสาขาโบราณคดี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคหินกลาง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินใหม่

หมู่บ้านในสมัยยุคหินใหม่ ในสกอตแลนด์ที่สมบูรณ์ที่สุดในทวีปยุโรป ยุคหินใหม่ (Neolithic หรือ New Stone Age) อยู่ในช่วงเวลาประมาณ 10200-4500/2000 ปีก่อนคริสตกาล โดยเป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินกลางกับยุคโลหะซึ่งมนุษย์ในยุคนี้อาศัยรวมกันอยู่เป็นหมู่บ้าน เริ่มรู้จักทำการเกษตรอย่างเป็นระบบ สามารถเพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทำเครื่องปั้นดินเผา และเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกได้เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์มาเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง มีการสร้างที่พักอาศัยถาวรเป็นกระท่อมดินเหนียวและตั้งหลักแหล่งตามบริเวณลุ่มน้ำ ยุคหินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม พืชเพาะปลูกที่สำคัญ คือ ข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ และพืชอื่นๆ รู้จักใช้เครื่องมือล่าสัตว์และทำภาชนะจากดินเหนียว สำหรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร สัตว์เลี้ยง ได้แก่ สุนัข แพะ แกะ และยังคงล่าสัตว์ เช่น กวาง กระต่าย หมูป่า สภาพชีวิตมนุษย์ในยุคหินใหม่ เปลี่ยนแปลงชีวิตตามความเป็นอยู่จากที่สูงมาอยู่ที่ราบใกล้แหล่งน้ำ โดยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่บ้านบนเนิน และดำรงชีวิตตามเศรษฐกิจใหม่ ได้แก่ เกษตรกรรม และพบว่ามีผลิตผลมากกว่าที่จะบริโภค ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและการค้าขาย สมัยหินใหม่จัดเป็นการปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบความสำเร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้ากับข้อจำกัดของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็นช่วงเวลา เริ่มต้นการรวมกลุ่มเป็นหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ ยุคหลังจากยุคหินใหม่คือ ยุคทองแดง (Chalcolithic) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของยุคสำริด (Bronze Age).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคหินใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินเก่า

ชาวพาลีโออินเดียน (Paleo-Indians) กำลังล่า Glyptodon ที่ถูกล่าจนศูนย์พันธุ์สองพันปีหลังมุษย์มาถึงอเมริกาใต้ Cave of Altamira and Paleolithic Cave Art of Northern Spain ยุคหินเก่า (Paleolithic) เป็น ช่วงเวลาก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ มีจุดเด่นอยู่ที่การพัฒนาเครื่องมือหินยุคแรกเริ่ม และครอบคลุมประมาณ 95% ของเทคโนโลยีก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่การใช้เครื่องมือหินครั้งแรก คาดว่าโดย ''Homo habilis'' เมื่อ 2.6 ล้านปีก่อน จนถึงปลายสมัยไพลสโตซีนประมาณ 10,000 ปีก่อนปัจจุบันToth, Nicholas; Schick, Kathy (2007).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคหินเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ยุคอาซูกะ

ระยะเวลาของ ยุคอาซูกะ อยู่ในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคอาซูกะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

อาซูจิ–โมโมยามะ เป็นยุคที่เริ่มตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคนาระ

นาระ (ค.ศ. 710 – 794) เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคนาระ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโชวะ

ยุคโชวะ คือการนับช่วงยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นในรัชกาลของสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ (ฮิโระฮิโตะ)รัชกาลเดียว เริ่มต้นขึ้นในค.ศ. 1926 และสิ้นสุดใน ค.ศ. 1989 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 62 ปี 14 วัน ซึ่งนับได้ว่าเป็นช่วงรัชกาลที่ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น เจ้าชายอะกิฮิโตะ, สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ, สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน, เจ้าชายมะซะฮิโตะ ฮิตะชิ, เจ้าหญิงโยริ, เจ้าหญิงทากะ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโจมง

มง หมายถึงคาบเวลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า เมื่อประมาณ 40,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ระหว่างหมู่เกาะญี่ปุ่นกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียยังคงเชื่อมต่อกันด้วยแผ่นน้ำแข็ง โดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี นักวิชาการสันนิษฐานว่ามนุษย์ Homo sapiens ได้อพยพจากทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียมาอาศัยบนหมู่เกาะญี่ปุ่นในช่วง 35,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และดำรงชีวิตแบบนักล่า-เก็บของป่าและใช้เครื่องมือหิน นักโบราณคดีได้ค้นพบเครื่องมือหิน ที่อยู่อาศัย และซากดึกดำบรรพ์ของมนุษย์ในยุคนั้นทั่วหมู่เกาะญี่ปุ่น นอกจากนี้ การศึกษาใน พ.ศ. 2531 ยังชี้ว่าชาวญี่ปุ่นมีพื้นฐานทางพันธุกรรมร่วมกับชาวเอเชียตะวันออก คำว่า โจมง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ลายเชือก ซึ่งสื่อถึงลวดลายบนภาชนะหรือตุ๊กตาดินเผาในยุคนั้นซึ่งทำโดยใช้เชือกพันรอบกิ่งไม้แล้วกดทาบลงบนวั.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคโจมง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเมจิ

มจิ เป็นยุคสมัยของญี่ปุ่นระหว่าง ค.ศ. 1868 - ค.ศ. 1912 ซึ่งถือว่าเป็นการเข้าสู่ ยุคใหม่ (Modern Era) ของญี่ปุ่น ยุคเมจิเริ่มต้นหลังจากที่กลุ่มหัวก้าวหน้าในแคว้นโชชูและแคว้นซะสึมะ ผนึกกำลังกันล้มล้างระบอบโชกุนและระบบซะมุไร หลังจากล้มระบอบโชกุนได้แล้ว ก็สถาปนารัฐธรรมนูญและรัฐบาลใหม่ที่มีองค์จักรพรรดิเป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจ จักรพรรดิทรงย้ายเมืองหลวงจากเคียวโตะไปยังเอโดะ แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นโตเกียว คณะรัฐบาลในสมเด็จพระจักรพรรดิได้ร่วมมือกันปฏิรูปญี่ปุ่นในทุกๆด้าน มีการทำสงครามกับจักรวรรดิรัสเซียและมีชัยเหนือรัสเซียซึ่งเป็นหนึ่งในมหาอำนาจในขณะนั้น รัฐบาลใหม่ได้ยกเลิกระบอบศักดินาสวามิภักดิ์และมีการรวมศูนย์อำนาจไว้ในกรุงโตเกียว มีการสถาปนาสภานิติบัญญัติในสมเด็จพระจักรพรรดิขึ้นมาตามแบบอย่างของรัฐสภาอังกฤษ อันประกอบด้วยสภาขุนนาง (สภาสูง) และสภาผู้แทนราษฎร (สภาล่าง) อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเลือกตั้ง แต่ก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นระบอบประชาธิปไตยได้ เนื่องจากอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองส่วนใหญ่อยู่ที่เหล่าขุนนางในสภาสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะเก็นโรเป็นกลุ่มบุคคลที่มีอิทธิพลที่สุดในระบบการเมือง มีการประกาศยกเลิกการครอบครองที่ดินในระบบศักดินานำที่ดินแจกจ่ายให้ชาวไร่ชาวนาทรงสร้างระบบการคมนาคมทั้งถนน ทางรถไฟ ระบบขนส่งทางทะเล เพื่อเสริมสร้างการค้าภายในและภายนอก ปรับปรุงระบบไปรษณีย์ การเงินและธนาคาร และวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลเข้ามาลงทุนอุตสาหกรรมหลัก เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมเหล็กกล้า และสนับสนุนเอกชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรม ใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเอะโดะ

อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคเอะโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโด

ปรมาจารย์ คะโน จิโงะโร ท่าทุ่มในยูโด ยูโด เป็นศิลปะการป้องกันตัวประเภทหนึ่งที่ถือกำเนิดจากประเทศญี่ปุ่น โดยคะโน จิโงะโร ยูโดมีชื่อเต็มว่า โคโดกัง ยูโด เดิมเรียกว่า ยูยิสสู ซึ่งเป็นวิชาที่สามารถต่อสู้กับคู่ต่อสู้ที่มีอาวุธด้วยมือเปล.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและยูโด · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสองสภา

ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและระบบสองสภา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรัฐบาลโชกุนอาชิกางะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น

รัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น (日本国憲法 นิฮงโกะกุเค็งโป) เป็นกฎหมายพื้นฐานของประเทศญี่ปุ่น ตราเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเอกราช

รัฐเอกราชบนโลก ในภูมิศาสตร์การเมือง รัฐเอกราช (sovereign state) เป็นองค์กรทางการเมืองที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์ (centralized government, รัฐบาลส่วนกลาง) ที่มีอำนาจสูงสุดที่ชอบธรรมและเป็นอิสระเหนือพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ มีประชากรถาวร, รัฐบาล, และวิสัยที่จะเข้าไปสร้างความสัมพันธ์กับรัฐเอกราชอื่น นอกจากนี้ยังเป็นที่เข้าใจกันว่าเป็นรัฐที่ไม่ขึ้นอยู่กับอำนาจหรือรัฐอื่น การดำรงอยู่หรือการหายตัวไปของรัฐเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ขณะที่ตามทฤษฎีปกครองของการรับรองรัฐ รัฐเอกราชสามารถดำรงอยู่ได้โดยไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราชอื่น รัฐที่ไม่ได้การยอมรับมักพบว่าเป็นการยากที่จะใช้อำนาจทำสนธิสัญญาเต็มรูปแบบและมีส่วนร่วมในความสัมพันธ์ทางการทูตกับรัฐอธิปไตยอื่น ๆ คำว่า "ประเทศ" เป็นภาษาพูดที่บ่อยครั้งมักหมายถึงรัฐเอกราช แม้ว่าต้นกำเนิดจะหมายถึงเพียงแค่ดินแดน และต่อมาความหมายได้ยื่นขยายกลายเป็นระบบการปกครองที่มีอำนาจซึ่งควบคุมพื้นที่ทางภูมิศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรัฐเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

ราชมนตรีสภา

ราชมนตรีสภา เป็นสภาสูงของสภานิติบัญญัติแห่งชาติของประเทศญี่ปุ่น เทียบเท่ากับวุฒิสภาในประเทศอื่นๆ โดยมีสภาผู้แทนราษฏรทำหน้าที่เป็นสภาล่าง ในยุคจักรวรรดิญี่ปุ่น สภาสูงของญี่ปุ่นคือ สภาขุนนาง แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นถูกควบคุมโดยสหรัฐอเมริกา โดยสหรัฐอเมริกาได้มีส่วนช่วยในการร่างรัฐธรรมนูญและปฏิรูประบบการปกครองของญี่ปุ่น รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและราชมนตรีสภา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุย

ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty, ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) (37 ปี) เป็นราชวงศ์ที่ทรงอำนาจทางการทหารแต่มีระยะเวลาการปกครองที่ค่อนข้างสั้น สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 581 ภายหลังจากยุคสามก๊ก โดยจักรพรรดิสุยเหวินตี้(หยางเจียน) อดีตแม่ทัพแห่งราชวงศ์โจวเหนือ โดยในรัชกาลของพระองค์ทรงสามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง แต่ราชวงศ์สุยมีอันต้องล่มสลายลงในปี ค.ศ. 617 ในรัชกาลจักรพรรดิสุยหยางตี้(หยางกว่าง) พระราชโอรสองค์รองของสุยเหวินตี้ ฮ่องเต้หยางเจียน ทรงดำเนินนโยบายอย่างแยบยล โดยการหล่อหลอมเอาวัฒนธรรมแต่ละแคว้นเข้าด้วยกัน เพื่อผสมผสานให้แต่ละแคว้นมีความเป็นปึกแผ่น หลังจากที่แตกสลายหลังสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น โดยมีการผสมผสานหลักการของศาสนาพุทธที่หยางเจียนนับถือ เข้ากับลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า แล้วนำมาพัฒนาเป็นการสร้างความมั่นคงให้แก่กฎหมายของราชวงศ์ โดยแม้ต่อมา ราชวงศ์ถังจะสถาปนาขึ้น ก็ยังรับเอาวัฒนธรรมการหล่อหลอมคำสอนศาสนามาใช้ต่อเนื่อง หลังจากนั้น ทรงดำเนินนโยบายให้ขุนนางในราชสำนักรวมไปถึงเชื้อพระวงศ์ได้แต่งงานกับชนเผ่าต่าง ๆ เพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรี เพราะโดยพื้นเพเดิมนั้น ทั้งหยางเจียนและพระมเหสี ก็ทรงเป็นตระกูลจีนแท้ผสมกับชนเผ่าเติร์กอยู่แล้ว หยางเจียนทรงดำเนินนโยบาย ขุดคลองต้ายุ่นเหอขนาดมหึมา ยาวกว่า 1,800 กิโลเมตร เชื่อมต่อกรุงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในจีนซีกเหนือ กับเมืองหางโจว ซึ่งเป็นจีนซีกใต้ เพื่อเป็นการเชื่อมแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซีเกียง เพื่อผูกขาดเศรษฐกิจของจีนให้เป็นหนึ่งเดียว รวมไปถึง การสร้างยุ้งฉางกักตุนสินค้าขนาดใหญ่โต เพื่อรองรับสินค้าเกือบตลอดแนวคลอง มีการริเริ่มการสอบจอหงวน เป็นครั้งแรก ทั่วราชอาณาจักร เพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความสามารถเข้ามารับราชการในตำแหน่งขุนนาง ทำให้แต่เดิม ที่ขุนนางจะมีเพียงแต่ชนชั้นสูงที่สืบทอดสกุลต่อกันมา ทำให้อาจจะมีแต่ตำแหน่งแต่ไร้ความสามารถ จึงได้ผู้ที่มีฝีมือและความรู้อย่างแท้จริง ซ้ำยังทำให้ประชาชนได้มีโอกาสมารับราชการในราชวัง นับว่าเป็นการลดการเหลื่อมล้ำทางสังคมอีกด้วย แต่ต่อมา เมื่อหยางกว่างขึ้นครองราชย์ ทรงประกาศสงครามกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้ทรงขยายพื้นที่ทางด้านตะวันตกได้พอสมควร ซ้ำยังยกทัพไปบุกเกาหลีและแมนจู แต่ไม่ประสบความสำเร็จเพราะด้วยประสบกับความหนาวเหน็บ ซ้ำยังไม่มีการควบคุมทัพที่ดีพอ ทำให้พ่ายศึก ตามพงศาวดารกล่าวไว้ว่า ซึ่งสุยหยางตี้บัญชาให้ยกทัพขนาดมหึมานี้ ถึง 4 ครั้ง ทำให้ราชวงศ์สุย เสียหายอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้ จึงการการก่อจลาจลทั่วทุกหัวระแหง ที่ใหญ่ ๆ มี 3 กลุ่ม อันได้แก่ กองกำลังหวากัง นำโดยใจ๋หยางและหลี่มี่ กองกำลังเจียงไหว นำโดยตู้ฝูเว่ย และกองกำลังเหอเป่ย นำโดยโต้วเจี้ยนเต๋อ รวมไปถึงการก่อกบฏในราชสำนักเองอีกด้วย สุดท้าย สุยหยางตี้ถูกลอบปลงพระชนม์โดยพระประยูรฐาติของพระองค์ นำโดยอวี้เหวินฮั่วจี๋ ราชวงศ์สุยถึงกาลอาวสาน เมื่อปีพ.ศ. 1161.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและราชวงศ์สุย · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจังหวัดของประเทศญี่ปุ่นเรียงตามประชากร

หน้านี้คือรายชื่อจำนวนประชากรญี่ปุ่นแยกตามจังหวัด ประชากรทั้งหมด: 127,692,273 คน อันดับที่ จังหวัด ชื่อภาษาญี่ปุ่น ประชากร ¹ 1 โตเกียว 東京都 12,838,435 2 คะนะงะวะ 神奈川県 8,917,182 3 โอะซะกะ 大阪府 8,806,016 4 ไอจิ 愛知県 7,403,409 5 ไซตะมะ 埼玉県 7,112,636 6 จิบะ 千葉県 6,122,113 7 เฮียวโงะ 兵庫県 5,586,033 8 ฮกไกโด 北海道 5,535,486 9 ฟุกุโอะกะ 福岡県 5,054,255 10 ชิซึโอะกะ 静岡県 3,799,930 11 อิบะระกิ 茨城県 2,963,990 12 ฮิโระชิมะ 広島県 2,868,756 13 เกียวโตะ 京都府 2,628,864 14 นีงะตะ 新潟県 2,390,976 15 มิยะงิ 宮城県 2,340,167 16 นะงะโนะ 長野県 2,170,691 17 กิฟุ 岐阜県 2,100,375 18 ฟุกุชิมะ 福島県 2,052,495 19 กุนมะ 群馬県 2,012,275 20 โทะจิงิ 栃木県 2,011,276 21 โอะกะยะมะ 岡山県 1,948,196 22 มิเอะ 三重県 1,875,464 23 คุมะโมะโตะ 熊本県 1,820,942 24 คะโงะชิมะ 鹿児島県 1,717,330 25 ยะมะงุจิ 山口県 1,463,077 26 เอะฮิเมะ 愛媛県 1,443,927 27 นะงะซะกิ 長崎県 1,440,207 28 นะระ 奈良県 1,403,686 29 ชิงะ 滋賀県 1,402,032 30 อะโอะโมะริ 青森県 1,391,834 31 โอะกินะวะ 沖縄県 1,375,993 32 อิวะเตะ 岩手県 1,351,890 33 โออิตะ 大分県 1,200,188 34 ยะมะงะตะ 山形県 1,188,229 35 อิชิกะวะ 石川県 1,167,892 36 มิยะซะกิ 宮崎県 1,136,191 37 อะกิตะ 秋田県 1,107,828 38 โทะยะมะ 富山県 1,101,342 39 วะกะยะมะ 和歌山県 1,011,556 40 คะงะวะ 香川県 1,002,514 41 ยะมะนะชิ 山梨県 870,694 42 ซะงะ 佐賀県 855,832 43 ฟุกุอิ 福井県 812,395 44 โทะกุชิมะ 徳島県 794,128 45 โคจิ 高知県 773,436 46 ชิมะเนะ 島根県 724,918 47 โทตโตะริ 鳥取県 595,192 รวม 127,692,273 หมายเหตุ: สถิติ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายชื่อจังหวัดของประเทศญี่ปุ่นเรียงตามประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อท่าอากาศยานในประเทศญี่ปุ่น

รื่องบินของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์และสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์ สองสายการบินใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น รายชื่อท่าอากาศยานในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายชื่อท่าอากาศยานในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร

รายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่แสดงเมืองใหญ่ของญี่ปุ่น รายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร 60 อันดับแรก โตเกียว ตึก Landmark Towerโยโกฮามะ โอซากะ นะโงะยะ ซัปโปะโระ เมืองโคเบะ เคียวโตะ ฟุกุโอะกะ คิตะกีวชู ไซตะม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น

รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น เริ่มจากเกาะหลักทั้งสี่เกาะ ลักษณะทั่วไปของเกาะดูเหมือนร่างกายของมังกรImperial Japanese Commission to the Louisiana Purchase Exposition.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)

ทความนี้เป็นการจัดอันดับประเทศตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (gross domestic product หรือ GDP) ซึ่งเป็นมูลค่าตลาดของสินค้า หรือบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตภายในประเทศในแต่ละปี โดยค่า GDP ที่ได้นำเสนอนี้ได้ประเมินโดยใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ณ อัตราแลกเปลี่ยนตามตลาด หรือที่รัฐบาลได้ประกาศไว้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด) · ดูเพิ่มเติม »

รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศญี่ปุ่นทั้งสิ้น 22 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 18 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติ 4 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรายการแหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ราเม็ง

ราเม็ง เป็นบะหมี่น้ำของญี่ปุ่น ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน ราเม็งมักจะทานกับเนื้อหมู สาหร่าย คามาโบโกะ ต้นหอม และบางครั้งจะมีข้าวโพด ราเม็งมีการปรุงรสแตกต่างกันตามแต่ละจังหวัดในญี่ปุ่น เช่นในเกาะคีวชู ต้นกำเนิดของราเม็งทงกตสึ (ราเม็งซุปกระดูกหมู) หรือในเกาะฮกไกโด ต้นกำเนิดของราเม็งมิโซะ (ราเม็งเต้าเจี้ยว) ในประเทศตะวันตก คำว่า "ราเม็ง" รู้จักในความหมายถึง บะหมี่สำเร็จรูป.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและราเม็ง · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · ดูเพิ่มเติม »

รีวโนะซุเกะ อะกุตะงะวะ

รีวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ รีวโนะซุเกะ อะกุตะงะวะ นักเขียนและกวีชาวญี่ปุ่น เกิดที่โตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรีวโนะซุเกะ อะกุตะงะวะ · ดูเพิ่มเติม »

รถยนต์

องรถยนต์และรถบรรทุกยุคใหม่กำลังขับอยู่บนทางด่วนสายหนึ่ง รถสปอร์ตยุคใหม่ รถยนต์หมายถึง ยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อ เพื่อพาผู้ขับ ผู้โดยสาร หรือสิ่งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง ปัจจุบัน รถยนต์โดยส่วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิศวกรรม และหลากหลายประเภท ตามความเหมาะสมของการใช้งาน หรือใช้สำหรับงานเฉพาะกิจ ทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและรถยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและลัทธิฟาสซิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคลั่งชาติ

ลัทธิคลั่งชาติ (Chauvinism) เป็นความรักประเทศชาติมากเกิน ตามตำนาน ทหารฝรั่งเศส นีโกลัส โชแว็ง (Nicolas Chauvin) ได้รับบาดเจ็บสาหัสในสงครามนโปเลียน เขาได้บำนาญจากการบาดเจ็บของเขาแต่ไม่เพียงพอดำรงชีพ หลังนโปเลียนสละราชสมบัติ โชแว็งเป็นผู้นิยมโบนาปาร์ต (Bonapartist) อย่างคลั่งไคล้แม้มุมมองนี้ไม่ได้รับความนิยมในประเทศฝรั่งเศสสมัยการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง การอุทิศตนอย่างมืดบอดเด็ดเดี่ยวต่ออุดมการณ์ของเขา แม้ถูกกลุ่มแยกของเขาปฏิเสธและศัตรูก่อกวน เริ่มการใช้คำนี้ ลัทธิคลั่งชาติขยายจากการใช้ดั้งเดิมให้รวมการอุทิศตนอย่างคลั่งไคล้และลำเอียงอย่างไม่เหมาะสม (undue partiality) ต่อกลุ่มหรืออุดมการณ์ใด ๆ ที่ตนจัดเป็นส่วนหนึ่ง โดยเฉพาะการถือพรรคพวก (partisanship) ซึ่งมีความเดียดฉันท์หรือเป็นปรปักษ์ต่อคนนอกหรือกลุ่มคู่แข่งและคงอยู่แม้เผชิญกับการคัดค้านอย่างท่วมท้น คุณสมบัติแบบฝรั่งเศสนี้ขนานกับคำบริติชว่า คติรักชาติแบบใฝ่สงคราม (jingoism) ซึ่งคงความหมายของลัทธิคลั่งชาติอย่างเคร่งครัดในความหมายดั้งเดิม นั่นคือ ทัศนคติชาตินิยมแบบทำสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและลัทธิคลั่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงกังญี่ปุ่น

ลิงกังญี่ปุ่น หรือ ลิงหิมะญี่ปุ่น (Japanese macaque, Snow japanese monkey; ニホンザル) เป็นลิงชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) เป็นลิงพื้นเมืองของหมู่เกาะญี่ปุ่น พบได้ตามภูมิภาคต่าง ๆ ของญี่ปุ่น ในที่มีอากาศหนาวเย็น มีหิมะและน้ำแข็ง มีขนสีน้ำตาลเทาหรือเหลืองอ่อน ตัวผู้มีน้ำหนักเต็มที่ประมาณ 11-13 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดตัวที่เล็กและน้ำหนักเบากว่า คือประมาณ 8 กิโลกรัม มีขนหนาตลอดทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีแดง ส่วนหางสั้น มี 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง ลิงตัวเมียที่มีอาวุโสสูงสุดจะเป็นจ่าฝูง หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ โดยลิงตัวเมียจะใช้เวลาในการหาอาหารมากกว่าตัวผู้ สามารถว่ายน้ำได้เป็นอย่างดี มีรายงานว่าสามารถว่ายน้ำได้ไกลกว่าครึ่งกิโลเมตร และยังสามารถอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีอุณหภูมิต่ำถึง -20 องศาเซลเซียสได้อีกด้วย เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 6 ปี แต่ลิงตัวเมียจะเข้าสู่เร็วกว่า มีอายุยืนประมาณ 28 ปีในตัวผู้ ขณะที่ตัวเมีย 32 ปี ลิงตัวเมียจะเลี้ยงลูกนานเป็นเวลา 2 ปี เมื่ออายุได้ 4 ปี ลูกลิงตัวผู้ก็จะจากฝูงไปเพื่อเข้าร่วมกับฝูงใหม่ สร้างครอบครัวต่อไป ส่วนลิงตัวเมียจะอาศัยอยู่กับฝูงไปชั่วชีวิต ลิงกังญี่ปุ่นจะมีลูกในช่วงฤดูใบไม้ผลิ นอกจากนี้แล้วยังพบว่าลิงกังญี่ปุ่นตัวผู้บางตัวยังมีพฤติกรรมพยายามที่จะผสมพันธุ์กับกวางซีกา ซึ่งเป็นกวางพื้นเมืองของญี่ปุ่นด้วย โดยเป็นลิงตัวผู้ที่อาศัยอยู่บนเกาะยะกุ ทางตอนใต้ของญี่ปุ่น เชื่อว่าคงเป็นเพราะลิงตัวนี้เป็นลิงที่มีอายุน้อย หรือไม่ก็หาคู่ตัวเมียผสมพันธุ์ด้วยไม่ได้ ลิงกังญี่ปุ่น ถือว่าเป็นไพรเมตที่อาศัยอยู่ห่างไกลเส้นศูนย์สูตรมากที่สุดที่ไม่ใช่มนุษย์ หลักฐานทางดีเอ็นเอและซากฟอสซิลพบว่า บรรพบุรุษของลิงกังญี่ปุ่นเดินทางมาจากแผ่นดินใหญ่เอเชียเมื่อกว่า 500,000 ปีที่แล้ว และได้ปรับตัววิวัฒนาการให้เหมาะสมกับการใช้ชีวิตอยู่ที่เกาะญี่ปุ่น โดยบรรพบุรุษของลิงกังญี่ปุ่นมีความใกล้เคียงกับลิงวอกและลิงกังไต้หวัน ที่มีหาง เมื่อใช้ชีวิตอยู่ที่ญี่ปุ่นที่มีสภาพอากาศหนาวเย็นแล้ว ลิงกังญี่ปุ่นได้วิวัฒนาการให้ตัวเองมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าลิงกังที่พบในแผ่นดินใหญ่ของเอเชีย มีขนหนา 2 ชั้นเพื่อรักษาความอบอุ่น หางหดสั้นลงเพื่อรักษาความอบอุ่นและป้องกันการโดนหิมะกัด ในฤดูหนาวที่อากาศหนาวเย็นและหิมะทับถมหนาได้ถึง 6 ฟุต โดยเฉพาะบนเกาะฮนชู ลิงกังญี่ปุ่นจะเริ่มกินอาหารจำนวนมากถึงร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัวเพื่อที่จะสะสมพลังงานและไขมันในตัวก่อนหน้านั้น โดยเฉพาะตัวเมียเพื่อที่จะผลิตน้ำนมเลี้ยงลูก และยามเมื่อถึงฤดูหนาวแล้ว ยังสามารถที่จะกัดเปลือกไม้บางชนิด เพื่อกินเนื้อไม้ที่อ่อนนุ่ม และอุดมด้วยสารอาหารในนั้น รวมทั้งรู้จักที่จะล้วงเก็บลูกสนที่ถูกหิมะทับไว้อย่างหนาแน่นได้อีกด้วย แต่ในช่วงนี้จะมีลูกลิงบางส่วนที่ต้องตายไป เพราะไม่อาจทนทานต่อสภาพอากาศได้ ในอดีตจากการศึกษาทางดีเอ็นเอ พบว่า ในยุคน้ำแข็งยุคสุดท้าย ลิงกังญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือเมื่อถึงฤดูหนาวจะอพยพลงใต้ที่ ๆ จากฮนชู ไปคิวชู และกระจายไปที่อื่น ๆ อันเป็นที่สภาพอากาศอบอุ่นกว่า แต่ก็ยังคงมีประชากรบางส่วนที่ยังอาศัยอยู่ยังที่เดิม พบกระจายพันธุ์อยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วญี่ปุ่น เช่น ฮนชู, คิวชู และชิโกกุ ลิงกังญี่ปุ่นยังมีพฤติกรรมที่แตกไปจากลิงชนิดอื่น ๆ คือ ชอบที่จะแช่น้ำร้อนตามบ่อน้ำพุร้อนต่าง ๆ โดยเฉพาะที่อุทยานลิงจิโกะกุดะนิ ในจังหวัดนะงะโนะ ลิงที่นี่ชอบที่จะแช่น้ำร้อนมากกว่าลิงชนิดเดียวกันที่อื่น ๆ บางครั้งอาจเผลอหลับไปในขณะที่แช่ได้เลย จึงเป็นที่ชื่นชอบอย่างยิ่งของนักท่องเที่ยว และชอบที่จะปั้นหิมะเป็นลูกบอลเขวี้ยงเล่นเพื่อความสนุกสนาน อีกทั้งก่อนที่จะกินอาหารยังชอบที่นำไปล้างน้ำทะเลก่อนด้วย ส่วนในบ่อน้ำร้อน จะมีพฤติกรรมดำน้ำลงไปก้นบ่อเก็บกินข้าวสาลีที่มีผู้โยนมาให้เป็นอาหารกิน ลิงที่อาศัยแถบแม่น้ำซุซุกิ มีพฤติกรรมพลิกก้อนหินหาแมลงน้ำและตัวอ่อนแมลงน้ำที่หลบซ่อนตัวจากลำธารกินได้ และลิงที่อาศัยอยู่แถบชายทะเลยังรู้จักที่จะเก็บสาหร่ายทะเลกินเป็นอาหารได้อีกด้วย พฤติกรรมการหากินและการปรับตัวเหล่านี้ เชื่อว่า เป็นผลมาจากการเรียนรู้ของลิงตัวเมียที่สืบทอดกันมาจากรุ่นเป็นรุ่นเป็นเวลาราว 3 รุ่น และเป็นการเรียนรู้กันเฉพาะกลุ่มJapan, "Mutant Planet".

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและลิงกังญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven,; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบโทเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน ซิมโฟนีของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และ หมายเลข 5) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ (ประเทศญี่ปุ่น)

วันชาติ เป็นวันหยุดราชการในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีตรงกับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ในวันนี้ ชาวญี่ปุ่นเฉลิมฉลองการก่อตั้งชาติและเชื้อสายจักรพรรดิตามจักรพรรดิในตำนานพระองค์แรก จิมมุ ผู้ซึ่งได้สร้างเมืองหลวงขึ้นที่ยามาโตะ เมื่อ 660 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและวันชาติ (ประเทศญี่ปุ่น) · ดูเพิ่มเติม »

วาทยกร

วาทยกร (conductor) หรือผู้อำนวยเพลง คือคนที่ตีความหมายของบทเพลง โดยเห็นภาพรวมทั้งหมดของวงดนตรี มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นออกมาเพื่อสอดผสานรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน อาจกล่าวอีกนัยได้ว่า วาทยกรเป็นผู้ที่สื่อสารกับนักดนตรีด้วยภาษามือ เป็นเหมือนภาษาใบ้ที่ใช้กับดนตรี พร้อมกันนี้วาทยกรต้องมีความเป็นผู้นำที่สามารถให้ความเชื่อมั่นแก่นักดนตรีด้วย เสมือนผู้กำกับ วาทยกรควบคุมวงดนตรีโดยการใช้รหัสหรือสัญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จังหวะ ส่วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้นักดนตรีเล่นเสียงดังหรือค่อย หรือเป็นการแสดงออกด้านอารมณ์อื่น ๆ ที่วาทยกรต้องการสื่อสารกับนักดนตรีในวง วาทยากรจะพบในการแสดงดนตรีที่ใช้นักดนตรีจำนวนมาก เช่นในวง ออร์เคสตร้า วงประสานเสียง ส่วนการบรรเลงดนตรีในวงดุริยางค์ของกองทัพ อาจเรียกว่า หัวหน้าวงดุริยางค์ วาทยกรผู้เป็นสมาชิกของวงออร์เคสตร้าจะเป็นคนที่กำหนดทิศทางของวง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ผู้กำกับดนตรี หรือเรียกว่า คาเปลไมสเตอร์ (Kapellmeister) ในภาษาเยอรมันซึ่งหมายความถึง หัวหน้าวาทยากรในวงออร์เคสตร้าเยอรมัน สำหรับวาทยกรของวงประสานเสียง จะเรียก ผู้ควบคุมวงประสานเสียง ส่วนวาทยากรอาวุโสจะเรียกว่า มาเอสโตร (maestro - นาย) ในภาษาอิตาเลียน แต่ความสำคัญของวาทยกรนั้น ไม่ได้อยู่แค่ที่การกำกับวงออกแสดงเท่านั้น กลับอยู่ที่การฝึกซ้อมนักดนตรีให้เล่นคีตนิพนธ์ต่าง ๆ ตามการตีความของวาทยกรแต่ละคน การนำวงดุริยางค์ออกแสดงเป็นแต่เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการเล่นและการตีความคีตนิพนธ์นั้น ๆ เพราะการฝึกซ้อมต้องใช้เวลาที่ยาวนานกว่าการออกแสดงแต่ละครั้ง ทั้งนี้วาทยกรยังต้องเป็นผู้ที่สามารถแนะนำหรือแก้ไขเทคนิคต่าง ๆ ให้แก่นักดนตรีได้ วาทยกรที่ดีจึงมักจะเป็นนักดนตรีที่ดีมาก่อนด้วย จึงจะสามารถเข้าใจปัญหาของวงได้เป็นอย่างดี และรู้ความสามารถและขีดจำกัดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด วาทยกรที่ดีเป็นแบบใดนั้น เป็นเรื่องที่ให้คำจำกัดความได้ยาก เพราะวาทยกรบางคนให้จังหวะแก่นักดนตรีได้อย่างแม่นยำ แต่วาทยกรบางคนก็ดูประหนึ่งว่าไม่ค่อยให้จังหวะแก่นักดนตรี หรือที่นักดนตรีเรียกว่า "ให้คิว" แต่กลับสื่อสารกับนักดนตรีได้อย่างสมบูรณ์แบบ ดังนั้น คุณค่าของวาทยกรจึงไม่ได้อยู่ที่ลีลาการกำกับวงเมื่อออกแสดง แต่อยู่ที่การฝึกซ้อมและการสื่อสารกับนักดนตรีให้เข้าใจ วาทยกรใหญ่หลายต่อหลายคนออกท่าทางน้อยมาก เช่น อิกอร์ มาร์เควิช (Igor Markevitch) หรือบางคนอาจดูเหมือนให้จังหวะที่สับสน เช่น วิลเฮ็ล์ม ฟวร์ตแวงเลอร์ (Wilhelm Furtwangler) แต่บทเพลงภายใต้การกำกับวงของเขาเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเต็มเปี่ยมไปด้วยความล้ำลึก คุณค่าของวาทยกรจึงมิได้วัดด้วยสายตา แต่ต้องวัดจากการฟังของผู้ฟัง หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและวาทยกร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุเสียงอเมริกา

ัญลักษณ์ของวิทยุเสียงอเมริกา วิทยุเสียงอเมริกา (Voice of America หรือ VOA) เป็นหน่วยงานสารสนเทศสหรัฐอเมริกา การกระจายเสียงวิทยุและสื่อโทรทัศน์ให้บริการโดยรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการบริหารกิจการแพร่เสียงและแพร่ภาพ (Broadcasting Board of Governors หรือ BBG) เพื่อดำเนินการในสิ่งที่ตนรับผิดชอบทางด้านการทูตสาธารณะ อย่างเช่น การโฆษณาชวนเชื่อ หรือการนำเสนอข้อมูลที่ออกแบบมาเพื่อเปลี่ยนแปลงผู้รับสื่อไปในทิศทางที่ถูก กำหนดโดยผู้ใช้สื่อ และดำเนินการภายใต้ข้อสันนิษฐานว่าปฏิกิริยาในต่างประเทศทีมีต่อสหรัฐอเมริกา ต่อประชาชนชาวอเมริกาและ ต่อนโยบายของสหรัฐอเมริกา สามารถทำให้มีอิทธิพลในทางบวกได้ วิทยุเสียงอเมริกา ออกอากาศเป็นภาษาต่าง ๆ 46 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย ครอบคลุมเกือบทั้งโลก นำเสนอข่าว รายการดนตรี รายการวัฒนธรรม รายการข่าวสารทางการเมือง ผ่านดาวเทียมและระบบเอฟเอ็ม เอเอ็ม วิทยุคลื่นสั้น และยังมีทางอินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์ http://www.voanews.com วิทยุเสียงอเมริกามีสาขาและสัญญากับสถานีวิทยุและโทรทัศน์หลายเครือข่าย รวมถึงเครือข่ายเคเบิลทั่วโลก ภาคภาษาไทยเป็นหนึ่งในบรรดาภาษาเริ่ม แรกของวีโอเอ (Voice of America) ที่เริ่มออกอากาศในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยผู้ประกาศรุ่นแรกๆ เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยในอเมริกา และเป็นภาคภาษาแรกที่เริ่มบุกเบิกการกระจายเสียงถึงผู้ฟังโดยตรงโดยอาศัย ความร่วมมือจากสถานีวิทยุต่างๆ ในประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและวิทยุเสียงอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนไฟ

แผนที่วงแหวนไฟ การปะทุของภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 วงแหวนไฟ (Ring of Fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ภายในวงแหวนไฟทั้งหมด 452 ลูก และเป็นพื้นที่ที่มีภูเขาไฟคุกกรุ่นอยู่กว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟคุกรุ่นทั้งโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-Pacific seismic belt แผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 90 ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั่วโลกและกว่าร้อยละ 80 ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เกิดขึ้นในบริเวณวงแหวนไฟ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผ่นดินไหวอีก 2 แห่ง ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งนี้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 17 ของทั้งโลก และอีกแห่งคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นร้อยละ 5-6 ของทั้งโลก วงแหวนไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนัซกาและแผ่นโกโกส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วนของแผ่นแปซิฟิกที่ติดกับแผ่นฮวนเดฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณหมู่เกาะอะลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่หมู่เกาะมาเรียนา ประเทศฟิลิปปินส์ เกาะบูเกนวิลล์ ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนไฟยังมีแนวต่อไปเป็นแนวแอลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนไฟนี้ ได้แก่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์ รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.0 เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและวงแหวนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ

ลเจ้าอิสึกุชิมะ (厳島神社 Itsukushima Jinja) เป็นศาลเจ้าลัทธิชินโตบนเกาะอิสึกุชิมะ เมืองฮะสึไกชิ จังหวัดฮิโระชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และรัฐบาลญี่ปุ่นได้ยกฐานะอาคารต่าง ๆ ในศาลเจ้าให้เป็นสมบัติประจำชาติญี่ปุ่น ประวัติความเป็นมาของศาลเจ้าย้อนหลังไปได้ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 การก่อสร้างสำเร็จจนมีลักษณะอย่างในปัจจุบันตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและศาลเจ้าอิสึกุชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น

ระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นโดยผ่านเกาหลี ในหนังสือประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นชื่อ นิฮงโชคิ ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 1095 (ในยุคอาซึกะ) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาลจักรพรรดิคินเม จักรพรรดิองค์ที่ 29 พระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ญี่ปุ่น โดยพระเจ้าซองกษัตริย์อาณาจักรแพคเจส่งราชทูตมายังราชสำนักจักรพรรดิคินเม พร้อมด้วยพระพุทธรูป ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้จักรพรรดิคินเมรับนับถือพระพุทธศาสนา จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย แม้จักมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจากอินเดียผ่านจีนเข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึกนิฮงโชคิพงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์ พระพุทธศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของชาวญี่ปุ่นมาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนาชินโตพื้นบ้าน เช่น ความเชื่อในเรื่องของพระโพธิสัตว์และทวยเทพในศาสนาพุทธ ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สภาล่าง

ล่าง (อังกฤษ: lower house) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสองสภา อีกสภาหนึ่งได้แก่ สภาสูง ในแต่ละประเทศ สภาล่างจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างสภาล่าง เช่น สภาผู้แทนราษฎร ถึงแม้ว่าตำแหน่งทางทฤษฎีจะอยู่ "ข้างล่าง" ของสภาสูง แต่ในความเป็นจริง "สภาล่าง" เกือบทุกประเทศในโลกกลับมีอำนาจมากกว่า "สภาสูง" ความเหนือชั้นกว่าของสภาล่างเกิดจากข้อจำกัดพิเศษที่บังคับใช้กับสภาสูง (ไม่ว่าจะเป็นไปตามกฎหมายหรือเห็นได้โดยชัดแจ้งในระเบียบวิธีการประชุม) ที่สามารถทำได้เพียงการชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง แต่ไม่อาจใช้อำนาจยับยั้งการออกกฎหมาย (veto)ได้ หรืออาจไม่มีอำนาจควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับการเงิน ภายใต้ระบบรัฐสภาถือเป็นเรื่องปกติที่สภาล่างเท่านั้นที่มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดตัวหัวหน้ารัฐบาล หรือนายกรัฐมนตรี และยังสามารถถอดถอนผ่านการออกเสียงไม่ไว้วางใจได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่บ้าง เช่น นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ซึ่งเลือกจากการสนับสนุนของทั้งสองสภาไดเอต การร่างกฎหมายที่ทำได้โดยสภาเดียวเรียกว่า "ระบบสภาเดียว".

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสภาล่าง · ดูเพิ่มเติม »

สภาสูง

"สภาสูง" (อังกฤษ: upper house) เป็นชื่อเรียกสภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง บางประเทศอาจมีสภานิติบัญญัติสองสภาประกอบกันเป็นรัฐสภา อีกสภาหนึ่งเรียก "สภาล่าง" ซึ่งบางประเทศอาจมีแต่สภาล่างทำหน้าที่สภานิติบัญญัติ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการกำหนดขององค์อธิปัตย์ในประเทศนั้น ๆ สำหรับประเทศไทยมีสองสภา สภาสูงเรียก วุฒิสภา สภาล่างเรียก สภาผู้แทนราษฎร ทั้งสองสภารวมกันเรียกว่า รั.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสภาสูง · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น)

นิติบัญญัติแห่งชาติ (National Diet) หรือ รัฐสภา ของประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วยสองสภานิติบัญญัติคือ สภาล่างเรียกว่า สภาผู้แทนราษฎร และสภาสูงเรียกว่า ราชมนตรีสภา สมาชิกของสภาทั้งสองมาจากระบบการเลือกตั้งแบบคู่ขนาน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีวาระ 4 ปี ส่วนสมาชิกราชมนตรีสภามีวาระ 6 ปี และนอกเหนือไปจากการพิจารณากฎหมายต่าง ๆ แล้ว สภานิติบัญญัติยังมีหน้าที่เลือกนายกรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติของญี่ปุ่นประชุมครั้งแรกในชื่อ สภานิติบัญญัติแห่งสมเด็จพระจักรพรรดิ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น) · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Thai Students' Association in Japan under the Royal Patronage) หรือ สนทญ. (TSAJ) เป็นสมาคมนักเรียนและนักศึกษาไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศญี่ปุ่น จัดตั้งขึ้นเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและส่งเสริมความสัมพันธ์ภายในกลุ่มนักเรียนและนักศึกษา กับทั้งกระชับความสัมพันธ์กับข้าราชการและคนไทยที่พำนักอยู่ในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสันนิบาตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สารกึ่งตัวนำ

รกึ่งตัวนำ (semiconductor) คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็นผลึกโควาเลนต์ ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา อิเล็กตรอนบางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้ สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ เป็นสารที่เกิดขึ้นจากการเติมสารเจือปนลงไปในสารกึ่งตัวนำแท้ เช่น ซิลิกอน หรือเยอรมันเนียม เพื่อให้ได้สารกึ่งตัวนำที่มีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้น สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สารกึ่งตัวนำประเภทเอ็น (N-Type) และสารกึ่งตัวนำประเภทพี (P-Type).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสารกึ่งตัวนำ · ดูเพิ่มเติม »

สารเคมี

รเคมี (chemical substance) เป็นสสารวัสดุ ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือได้จากกระบวนการเคมี อาท.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสารเคมี · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่าย

หร่ายทะเลที่เกาะอยู่ตามหินชายฝั่ง สาหร่าย เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา เอกซ์คาวาตา ไรซาเรีย มีลักษณะคล้ายพืช แต่ไม่มีส่วนที่เป็นราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีขนาดตั้งแต่เล็กมากมีเซลล์เดียว ไปจนถึงขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมาก อาจเป็นเส้นสายหรือมีลักษณะคล้ายพืชชั้นสูงก็มี การแบ่งพวกสาหร่ายแบ่งตามรูปร่างลักษณะภายนอกหรือดูตามสี จึงมีสาหร่ายสีเขียว เขียวแกมน้ำเงิน น้ำตาล และสีแดง สาหร่ายสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศก็มี อาศัยเพศก็มี อย่าสับสนกับสาหร่ายบางชนิด เช่น สาหร่ายหางม้า สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายข้าวเหนียว สาหร่ายเหล่านี้ คือพืชดอกไม่ใช่โพรทิสต์ แหล่งที่อยู่ของสาหร่ายมีต่าง ๆ กัน ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย น้ำเค็ม คุณค่าทางอาหารของสาหร่ายพบว่าไม่สูงมากนัก คาร์โบไฮเดรตที่มีอยู่เป็นพวกที่ย่อยยากในตัวคน โปรตีนก็มีน้อยแต่สิ่งที่ได้จากสาหร่าย คือ แร่ธาตุและวิตามินหลายชนิด นอกจากเป็นอาหารคน เช่น สาหร่ายอบกรอบ และปัจจุบันนำมาประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แล้วยังใช้เป็นอาหารสัตว์ เป็นปุ๋ยและเป็นยา สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน สามารถจับไนโตรเจนในอากาศได้อย่างอิสระ (Nonsymbiotic Nitrogen Fixer) Anabaena, Oscillatoria, nostoc.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสาหร่าย · ดูเพิ่มเติม »

สาเก

ก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสาเก · ดูเพิ่มเติม »

สำนักข่าวกรองกลาง

ำนักข่าวกรองกลาง (Central Intelligence Agency) หรือย่อว่า ซีไอเอ (CIA) เป็นหน่วยงานราชการด้านข่าวกรองต่างชาติพลเรือนของ รัฐบาลกลางสหรัฐ มีหน้าที่รวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติจากทั่วโลก โดยผ่านการข่าวกรองทางมนุษย์ (Human Intelligence; HUMINT) เป็นส่วนใหญ่ ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกหลักของชุมชนข่าวกรองสหรัฐ (U.S. Intelligence Community; IC) สำนักข่าวกรองรายงานต่อผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ (Director of National Intelligence; DNI) และจะเน้นไปที่การหาข่าวกรองให้ ประธานาธิบดีสหรัฐ และ คณะรัฐมนตรีสหรัฐ เป็นหลัก ไม่เหมือนกับ สำนักงานสอบสวนกลาง ที่เป็นหน่วยงานราชการความมั่นคงภายใน สำนักข่าวกรองกลางไม่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายและเน้นการรวบรวมข่าวกรองในต่างประเทศ โดยมีข้อจำกัดเฉพาะในการที่จะหาข่าวกรองจากในประเทศ อย่างไรก็ตามสำนักข่าวกรองกลางไม่ได้เป็นแค่หน่วยงานรัฐบาลสหรัฐฯที่เชี่ยวชาญในด้านข่าวกรองทางมนุษย์เท่านั้น มันยังมีหน้าที่ในการเป็นผู้จัดการระดับชาติในการประสานงานกับหน่วนงานต่างๆที่ทำกิจกรรมเกี่ยวกับการข่าวกรองทางมนุษย์ทั้งหมด ในชนชุมข่าวกรองสหรัฐฯ ยิ่งไปกว่านั้น สำนักข่าวกรองกลางเป็นหน่วยงานเดียวที่ได้รับอนุญาตโดยกฎหมาย ในการดำเนินการและดูแลการปฏิบัติการณ์ซ่อนเร้น (Covert Action/Operation) โดยคำสั่งประธานาธิบดี สำนักข่าวกรองกลางสามารถควบคุมอิทธิพลทางการเมืองของต่างประเทศได้โดยผ่านทางแผนกยุทธวิธีของตน อย่างเช่น แผนกปฏิบัติการณ์พิเศษ (Special Activities Division; SAD) ก่อนจะมีรัฐบัญญัติการปฏิรูปการข่าวกรองและการป้องกันการก่อการร้าย (Intelligence Reform and Terrorism Prevention Act) ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางยังทำหน้าที่ควบคู่ไปกับการเป็นหัวหน้าชุมชนข่าวกรองสหรัฐฯ แต่ปัจจุบันสำนักข่าวกรองถูกจัดระเบียบภายใต้ผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ แม้จะมีการถ่ายโอนอำนาจบางส่วนไปยังผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติก็ตาม สำนักข่าวกรองกลางได้มีขนาดเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจาก วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสำนักข่าวกรองกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียงคันไซ

ำเนียงคิงกิ คิงกิโฮ่เกง) หรือ สำเนียงคันไซ (関西弁 คันไซเบง) คือสำเนียงท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น ที่พูดกันในเขตภูมิภาคคันไซ หรือทางตะวันตกของประเทศ คนญี่ปุ่นส่วนมากจะนิยมเรียกว่า คันไซเบง มากกว่า คันไซเบงยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงถิ่นย่อยๆอีก คือ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสำเนียงคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิบัตร

ทธิบัตร (patent) หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบว่าด้วยสิทธิบัตร..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสิทธิบัตร · ดูเพิ่มเติม »

สุกียากี้

กียากี้ หรือมักจะเรียกโดยย่อว่า สุกี้ เป็นอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ เต้าหู้ ผัก วุ้นเส้น ไข่ กินกับน้ำจิ้ม เป็นอาหารยอดนิยมในเอเชียมีหลายแบบ ที่เป็นที่รู้จักแพร่หลายในเมืองไทยเป็นสุกี้แบบจีนและแบบญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสุกียากี้ · ดูเพิ่มเติม »

สุขาวดี (นิกาย)

ระอมิตาภพุทธะและพระโพธิสัตว์ 2 องค์คือพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ (ขวา) และพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ (ซ้าย) ในวัดใกล้กับเมือง Meinong, มณฑลเกาสง, ไต้หวัน นิกายสุขาวดี (浄土教, Jōdokyō; 정토종, jeongtojong; Tịnh Độ Tông) เป็นนิกายในศาสนาพุทธที่ตั้งขึ้นครั้งแรกในประเทศจีน แม้จะมีกำเนิดมาจากพระสูตรที่มาจากประเทศอินเดีย แต่ในอินเดียไม่ได้เป็นนิกายเอกเทศ นิกายนี้พระฮุ่นเจียงตั้งขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 9 สมัยราชวงศ์ตั้งจิ้น คำสอนของท่านเน้นการเจริญพุทธสติถึงพระอมิตาภพุทธะและปรารถนาไปเกิดในแดนสุขาวดี ในจีนเรียกนิกายนี้ว่า นิกายวิสุทธิภูมิ (จิ้งถู่จง).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสุขาวดี (นิกาย) · ดูเพิ่มเติม »

สี่โรคสิ่งแวดล้อมใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น

ป็นกลุ่มโรคจากน้ำมือมนุษย์ที่เกิดจากมลภาวะสิ่งแวดล้อมเนื่องจากบริษัทญี่ปุ่นจัดการขยะอุตสาหกรรมไม่เหมาะสม เกิดครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสี่โรคสิ่งแวดล้อมใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (First Sino-Japanese War) หรือ สงครามญี่ปุ่น-ชิง หรือ สงครามเจี่ยอู่ (甲午戰爭) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิชิงกับจักรวรรดิญี่ปุ่นเพื่อครอบครองคาบสมุทรเกาหลี สงครามนี้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของราชวงศ์ชิง และการประสบผลสำเร็จของญี่ปุ่นที่พัฒนาชาติให้ทันสมัยตามแบบชาติตะวันตกซึ่งเริ่มมาตั้งแต่จักรพรรดิเมจิขึ้นครองราชย์ ส่งผลให้อิทธิพลของราชวงศ์ชิงเสื่อมถอยลงจนนำไปสู่การปฏิวัติในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโบะชิง

งครามโบะชิง บ้างเรียก การปฏิวัติญี่ปุ่น เป็นสงครามกลางเมืองในประเทศญี่ปุ่น รบพุ่งกันตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามโบะชิง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโอนิน

สงครามโอนิน (Ōnin War) สงครามกลางเมือง ระหว่าง ค.ศ. 1467 - ค.ศ. 1477 ในช่วง ยุคมุโระมะชิ อันเป็นต้นกำเนิดของ ยุคเซ็งโงะกุ สาเหตุของสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากความขัดแย้งเรื่องทายาททางการเมืองของโชกุน อะชิกะงะ โยะชิมะซะ ระหว่าง โฮะโซะกะวะ คะสึโมะโตะ ผู้ดำรงตำแหน่ง คันเร หรือผู้แทนโชกุนที่สนับสนุน อะชิกะงะ โยะชิมิ น้องชายของโชกุนโยะชิมะซะและ ยะมะนะ โซเซ็น พ่อตาของคะสึโมะโตะที่สนับสนุนบุตรชายคนเดียวของโชกุนโยะชิมะซะคือ อะชิกะงะ โยะชิฮิซะ ทำให้ทั้งสองฝ่ายรวบรวมกองทัพจากแคว้นต่าง ๆ ที่เป็นพันธมิตรเข้าสู้รบจนทำให้ นครหลวงเฮอัง หรือ นครหลวงเคียวโตะ ในปัจจุบันได้รับความเสียหายอย่างหนักประชาชนหลบหนีจากเมืองหลวงทำให้เฮอังกลายสภาพเป็นเมืองร้าง ในปี ค.ศ. 1469 โชกุนโยะชิมะซะตัดสินใจตั้งโยะชิฮิซะบุตรชายเป็นทายาททางการเมือง ถึงแม้โซเซ็นและคะสึโมะโตะจะเสียชีวิตทั้งคู่ในปี ค.ศ. 1473 แต่สงครามก็ยังดำเนินต่อไปจนกระทั่งทั้งสองฝ่ายยอมสงบศึกเมื่อปี ค.ศ. 1477 หมวดหมู่:ยุคเซงโงะกุ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามโอนิน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก็มเป

งครามเก็มเป เป็นสงครามอันเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่าง 2 ตระกูลใหญ่ปลายยุคเฮอัง ของญี่ปุ่น จากสงครามครั้งนี้ทำให้ตระกูลไทระพ่ายแพ้และต้องสูญสิ้นอำนาจ ในขณะที่ตระกูลมินะโมะโตะก็เข้าครองอำนาจ และสถาปนารัฐบาลโชกุนคะมะกุระ อาจกล่าวได้ว่า สงครามครั้งนี้เป็นเส้นแบ่งระหว่างยุคเฮอังและยุคคะมะกุร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสงครามเก็มเป · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาแห่งชาติเรียวโงะกุ

้านนอกสนาม ด้านในสนาม สนามกีฬาแห่งชาติเรียวโงะกุ (/เรียว-โงะ-กุ-โค-กุ-งิ-กัง/) เป็นสนามแข่งซูโม่ อยู่ในความดูแลของสมาคมซูโม่ญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่ย่านเรียวโงะกุ ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีความจุเต็มที่ 13,000 คน เปิดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1909 จากนั้นได้มีการปรับปรุงในปี ค.ศ. 1985 เช่นในปัจจุบัน นอกจากซูโม่ อันเป็นกีฬาประจำชาติของญี่ปุ่นแล้ว เรียวโงกุ โคกุงิกังยังได้จัดการแข่งขันกีฬาประเภทศิลปะป้องกันตัวอีกหลายประเภทและหลายครั้ง เช่น มวยสากล, มวยปล้ำ เป็นต้น ในส่วนของมวยสากลใช้เป็นสถานที่ชกระหว่างนักมวยญี่ปุ่นกับนักมวยต่างชาติหลายครั้ง เช่น ไฟติ้ง ฮาราด้า - โผน กิ่งเพชร (ครั้งแรก), เคียว โนกูจิ - โผน กิ่งเพชร, มิตสุโนริ เซกิ - โผน กิ่งเพชร, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น - โตชิอากิ นิชิโอกะ (ครั้งที่ 3) เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสนามกีฬาแห่งชาติเรียวโงะกุ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก

โยชิดะ ชิเกรุ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ลงนามในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น หรือ สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก (Treaty of San Francisco; Traité de paix avec le Japon; ญี่ปุ่น: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, โรมะจิ Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน พ.ศ. 2494) เป็นสนธิสัญญาที่นำไปสู่การยุติสงครามระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศร่วมลงนามในสัญญาอีก 49 ประเทศ ประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ประเทศที่ได้ประกาศสงครามกับญี่ปุ่น ยกเว้นรัสเซีย จีนไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่และประเทศอื่นเคยอยู่ในการยึดครองของญี่ปุ่นระหว่างสงคราม ที่ประกาศตั้งเป็นรัฐใหม่หลังการประกาศยอมแพ้ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2488 สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก เป็นสัญญาที่นำไปสู่การยุติการยึดครองประเทศญี่ปุ่นของประเทศต่าง ๆ หลังการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข และเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการรับญี่ปุ่นเข้าร่วมกับประชาคมโลกในฐานะเท่าเทียมกันอีกครั้งหนึ่ง มีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะรีวกีว

หมู่เกาะรีวกีว (ルーチュー รูชู) หรือ หมู่เกาะนันเซ เป็นหมู่เกาะยาวรูปโซ่ในแปซิฟิกตะวันตก อยู่สุดขอบทางตะวันออกของทะเลจีนตะวันออก และอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะคีวชูในประเทศญี่ปุ่น จากประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและหมู่เกาะรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโอะงะซะวะระ

หมู่เกาะโอะงะซะวะระ หรือ หมู่เกาะโบนิน เป็นกลุ่มเกาะที่ประกอบด้วยเกาะในเขตร้อนและเกาะใกล้เขตร้อนกว่า 30 เกาะ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของกรุงโตเกียวราวๆ 1,000 กิโลเมตร มีสถานะเป็นกิ่งจังหวัดของมหานครโตเกียว มีประชากรอาศัยอยู่ราว 2,440 คน โดยกว่า 2,000 คน อาศัยอยู่บนเกาะชิชิจิมะ ซึ่งบนเกาะชิชิจิมะนี้ ยังมีกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ขนาด 25 เมตร ของหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น (NAOJ) ตั้งอยู่อีกด้วย เนื่องจากหมู่เกาะโอะงะซะวะระแทบไม่ค่อยได้ติดต่อกับทวีปภายนอก พืชพันธุ์และสัตว์ในแถบนี้จึงมีลักษณะเฉพาะตัวและความแตกต่างในด้านกระบวนการวิวัฒนาการ หมู่เกาะโอะงะซะวะระมีฉายาว่า "กาลาปาโกสแห่งตะวันออก" และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก ในวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและหมู่เกาะโอะงะซะวะระ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเซ็งกะกุ

หมู่เกาะเซ็งกะกุ หรือ หมู่เกาะเตียวหยู หรือ หมู่เกาะพินนาเคิล (Pinnacle Islands) เป็นกลุ่มเกาะร้างขนาดเล็กในทะเลจีนตะวันออก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไต้หวัน และทางตะวันตกของเกาะโอะกินะวะ อยู่ทางเหนือของปลายตะวันตกสุดของหมู่เกาะรีวกีวของญี่ปุ่น แผนที่วาดโดยนักเขียนแผนที่ชาวญี่ปุ่น แสดงว่าหมู่เกาะเซ็งกะกุ/เตียวหยูเป็นของจีน หมู่เกาะดังกล่าวเป็นชายแดนนอกชายฝั่งของจีนเพื่อใช้ในการป้องกันโจรสลัดญี่ปุ่น (Wokou) ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและหมู่เกาะเซ็งกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

หมีสีน้ำตาล

หมีสีน้ำตาล (Brown bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่มาก โดยตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย เมื่อยืน 4 เท้ามีความสูงถึง 5 ฟุต และเมื่อยืนด้วย 2 เท้า อาจสูงถึง 9 ฟุต แต่ยืนได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักมากถึง 1,000 ปอนด์ ส่วนตัวเมียอาจมีน้ำหนักมากกว่า 450 ปอนด์ มีขนสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ปุ่มหรือเนินตรงหัวไหล่ มีขนและเล็บยาว มีจมูกที่ใหญ่ แต่มีใบหูขนาดเล็ก แต่จะมีขนสีเข้มหรืออ่อนไปตามสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศที่อาศัย รวมถึงขนาดตัวด้วย ซึ่งถือเป็นชนิดย่อย (ดูในตาราง) โดยกระจายพันธุ์ไปในพื้นที่ ๆ กว้างไกลมาก ตั้งแต่อะแลสกา, แคนาดา, รัสเซีย, หลายพื้นที่ในยุโรป และตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย, เนปาล และจีน และตะวันออกกลาง หมีสีน้ำตาลกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้งพืชและสัตว์ โดยหากเป็นพืชมักจะเป็นผลไม้ประเภทเบอร์รี่ บางครั้งกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง หรือ หนู แต่บางครั้งก็กินสัตว์ใหญ่ เช่น ม้า, วัวป่า, กวาง รวมถึงซากสัตว์ ในช่วงฤดูกาลที่มีอาหารสมบูรณ์ อาหารที่หมีสีน้ำตาลชอบมาก คือ ปลาแซลมอน และปลาเทราท์ หมีสีน้ำตาลตัวเมียต้องมีอายุ 4 ถึง 10 ปี จึงจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และให้กำเนิดลูกโดยเฉลี่ย 2 ตัว ในระยะเวลา 4 ปี ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิถึงต้นฤดูร้อน แม่หมีจะให้กำเนิดลูกในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ปกติ 2-3 ตัว โดยลูกหมีที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และยังไม่มีขน ลูกหมีจะอาศัยอยู่ในถ้ำที่แม่หมีขุดขึ้นมาจนกระทั่งถึงเดือนเมษายน หรืออาจถึงเดือนมิถุนายน และเริ่มหย่านมเมื่ออายุประมาณ 5 เดือน และเริ่มเรียนรู้ว่า พืชหรือสัตว์ประเภทไหนที่ใช้เป็นอาหาร ลูกหมีจะอยู่กับแม่อย่างน้อยอีก 1 ปี หรือมากกว่านั้น จากนั้นจึงเริ่มแยกตัวออกไป ส่วนในฤดูหนาว หมีสีน้ำตาลจะจำศีลในถ้ำเป็นระยะเวลาราว 2 เดือน โดยใช้พลังงานจากไขมันที่สะสมไว้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและหมีสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

หยาดน้ำฟ้า

ในทางอุตุนิยมวิทยา หยาดน้ำฟ้า (precipitation) เป็นปรากฏการณ์ของน้ำในอากาศ (hydrometeor) ประเภทหนึ่ง ซึ่งหมายความถึงผลิตภัณฑ์ใด ๆ อันเกิดจากการควบแน่นของไอน้ำในบรรยากาศและตกลงมาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วง รูปแบบหลักของหยาดน้ำฟ้าประกอบด้วยฝนละออง (drizzle), ฝน, ฝนน้ำแข็ง (sleet), หิมะ, ลูกปรายหิมะ (graupel) และลูกเห็บ หยาดน้ำฟ้าเกิดขึ้นเมื่อบรรยากาศเหนือพื้นดินบริเวณหนึ่งอิ่มตัวด้วยไอน้ำ จากนั้นน้ำเกิดการควบแน่นและตกลงมา หมอกและหมอกน้ำค้างจึงไม่จัดเป็นหยาดน้ำฟ้า มีอยู่สองกระบวนการที่อากาศอิ่มตัวได้ คือ อากาศได้รับความเย็นหรือเพิ่มไอน้ำเข้าไปในอากาศ ซึ่งสองกระบวนการนี้อาจเกิดร่วมกันได้ โดยทั่วไป หยาดน้ำฟ้าจะตกกลับคืนสู่พื้นดิน แต่ยกเว้นน้ำโปรยฐานเมฆ (virga) ซึ่งระเหยไปหมดก่อนตกถึงพื้น หยาดน้ำฟ้าก่อตัวขึ้นเป็นหยาดเล็กที่รวมกันโดยชนกับหยดฝนหรือผลึกน้ำแข็งอื่นภายในเมฆ หยดฝนที่ตกลงมามีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่รูปทรงคล้ายแพนเค้กกลมแป้นสำหรับหยดขนาดใหญ่ ถึงทรงกลมเล็กสำหรับหยดขนาดเล็ก เกล็ดหิมะ (snowflake) มีหลายรูปทรงและแบบ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่เกล็ดหิมะเคลื่อนผ่านก่อนตกสู่พื้น หิมะและลูกปรายหิมะจะเกิดเฉพาะเมื่ออุณหภูมิใกล้ผิวดินใกล้หรือต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ ส่วนลูกเห็บสามารถเกิดขึ้นในเขตอุณหภูมิอบอุ่นได้จากกระบวนการก่อตัว โดยรวมหยาดน้ำฟ้าเกิดจากความชื้นเหนือแนวปะทะ (weather front) เป็นหลัก หากมีความชื้นเพียงพอและมีการเคลื่อนที่ขึ้น หยาดน้ำฟ้าจะตกจากมวลอากาศร้อนขึ้นทางแนวดิ่ง (convective cloud) เช่น คิวมูโลนิมบัส และสามารถก่อตัวเป็นบริเวณแถบฝนแคบ ๆ ได้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและหยาดน้ำฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ (Ashikaga Takauji,足利尊氏) เป็น โชกุน คนแรกแห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอะชิกะงะ ทะกะอุจิ · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

อะเกะชิ มิสึฮิเดะ

อะเกะชิ มิสึฮิเดะ เป็นขุนพลคนสำคัญของ โอะดะ โนะบุนะงะ ในยุคเซ็งโงะก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอะเกะชิ มิสึฮิเดะ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร · ดูเพิ่มเติม »

อาชิกางะ โยชิมิตสึ

อาชิกางะ โยชิมิตสึ เป็นโชกุนคนที่ 3 แห่ง ตระกูลอาชิกางะ โดยในสมัยโชกุนโยชิมิตสึสามารถรวบรวมราชวงศ์เหนือ-ใต้ให้เป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอาชิกางะ โยชิมิตสึ · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธนิวเคลียร์

ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอาวุธนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารญี่ปุ่น

อาหารเช้าญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม อาหารญี่ปุ่น ในคำจำกัดความปัจจุบัน หมายถึงอาหารพื้นเมืองของประเทศญี่ปุ่นก่อนการสิ้นสุดการปิดประเทศหรือซาโกกุ (鎖国 Sakoku) เมื่อค.ศ. 1868 แต่ในความหมายที่กว้างขึ้นนั้นจะรวมถึงอาหารที่ใช้ส่วนผสมและวิธีการทำอาหารซึ่งรับมาจากต่างประเทศภายหลังการเปิดประเทศ แต่ชาวญี่ปุ่นก็ได้ประยุกต์ให้เข้ากับตนเอง อาหารญี่ปุ่นนั้นมีชื่อเสียงด้านการเน้นอาหารตามฤดูกาล (旬shun) คุณภาพของวัตถุดิบ และการจัดวาง อาหารญี่ปุ่นถูกพัฒนามานานหลายศตวรรษ อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการเมืองในประเทศ อาหารญี่ปุ่นถูกเปลี่ยนแปลงอย่างมากเมื่อเข้าสู่สมัยกลางซึ่งเป็นสมัยที่ญี่ปุ่นถูกปกครองด้วยระบอบศักดินาอันนำโดยโชกุน ต่อมาในช่วงต้นยุคใหม่หลังการเปิดประเทศ ญี่ปุ่นรับวัฒนธรรมจากต่างชาติ โดยเฉพาะวัฒนธรรมตะวันตก ซึ่งมีอิทธิพลทำให้วัฒนธรรมการกินของชาวญี่ปุ่นเปลี่ยนแปลงอย่างมาก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอาหารญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแพ็กเจ

อาณาจักรแพ็กเจ (เกาหลี:백제, ฮันจา: 百濟; 18 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. 660) สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอนจอพระราชโอรสองค์เล็กในจักรพรรดิดงเมียงยองในพุทธศตวรรษที่ 13 เมื่อจักรวรรดิโคกูรยอพยายามจะกลืนอำนาจของอาณาจักรพูยอ พระเจ้าอนจอได้นำกำลังคนกลุ่มหนึ่งแยกตัวออกมาจากจักรวรรดิโคกูรยอลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลอำนาจของอาณาจักรมาฮัน โดยข้ามแม่น้ำฮันมา เลือกชัยภูมิอยู่ใกล้ๆกับที่เป็นโซล เมืองหลวงของเกาหลีใต้ในปัจจุบัน เพื่อตั้งเมืองใหม่ชื่อ วิเรซอง แล้วสถาปนาเป็นอาณาจักรซิปเจหลังสิ้นรัชกาลของพระองค์มีกษัตริย์ปกครองต่อมาอีกหลายพระองค์ จนถึงกษัตริย์รัชกาลที่ 31 ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายคือพระเจ้าอึยจา ก็พ่ายแพ้แก่กองทัพพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยกองทัพชิลลาและกองทัพถังของจีนในปี ค.ศ. 660 (พ.ศ. 1203) ทำให้อาณาจักรแพ็กเจที่ปกครองมานานถึง 678 ปีก็ถึงกาลอวสาน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอาณาจักรแพ็กเจ · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอด และ Integrated Circuit และ ชิ้นส่วน พาสซีฟ (passive component) เช่น ตัวนำไฟฟ้า, ตัวต้านทานไฟฟ้า, ตัวเก็บประจุ และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร ลอจิกเกต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, มอเตอร์, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, แบตเตอรี่, สวิตช์, รีเลย์, หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์ไตรโอดโดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950 ปัจจุบัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ ใช้ชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนำเพื่อควบคุมการทำงานของอิเล็กตรอน การศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและเทคโนโลยีโซลิดสเตต ในขณะที่การออกแบบและการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติอยู่ภายใต้สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บทความนี้มุ่งเน้นด้านวิศวกรรมของ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น

องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น; Japan Aerospace Exploration Agency; JAXA) เป็นองค์การด้านการสำรวจอวกาศแห่งชาติญี่ปุ่น ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นสถาบันบริหารอิสระที่เกิดจากการรวมตัวเข้าด้วยกันขององค์กรสามแห่ง ได้แก่ สถาบันอวกาศและวิทยาศาสตร์นอกโลก (Institute of Space and Astronautical Science; ISAS) สถาบันทดลองยานอวกาศแห่งชาติญี่ปุ่น (National Aerospace Laboratory of Japan; NAL) และองค์การพัฒนาอวกาศแห่งชาติ (National Space Development Agency; NASDA) ภารกิจของ JAXA ได้แก่การวิจัย การพัฒนาและการส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร รวมถึงการมีส่วนร่วมในภารกิจอื่นอีกมากเช่น การสำรวจดาวเคราะห์น้อย และภารกิจการส่งมนุษย์ไปสู่ดวงจันทร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอนด้า

อนด้า มอเตอร์ หรือ บริษัท อุตสาหกรรมและวิจัยฮอนด้า มหาชนจำกัด เป็นบริษัทผู้ผลิต และจำหน่ายรถยนต์จากประเทศญี่ปุ่น โดยมีผลิตภัณฑ์ รถยนต์ รถบรรทุก จักรยานยนต์ และเครื่องจักรอุตสาหกรรมหนักอีกหลายประเภท ฮอนด้ามีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฮอนด้า · ดูเพิ่มเติม »

ฮะรุกิ มุระกะมิ

รุกิ มุระกะมิ เป็นนักเขียนและนักแปลร่วมสมัยชาวญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงในระดับโลก ผลงานของเขาถูกนำไปแปลแล้วกว่า 30 ภาษ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฮะรุกิ มุระกะมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิระงะนะ

รางานะ คือ อักษรในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของอักษรญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบันควบคู่กับคาตากานะและคันจิ ฮิรางานะและคาตากานะเป็นระบบคานะที่ตัวอักษรหนึ่งตัวแสดงถึงหนึ่งเสียง ในแต่ละ "คานะ" สามารถเป็นได้ทั้งในรูปสระและตัวสะก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและฮิระงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคัมมุ

ักรพรรดิคัมมุ (Emperor Kammu) จักรพรรดิองค์ที่ 50 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิคัมมุครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 781 - ค.ศ. 806.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจักรพรรดิคัมมุ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โยเซ

ักรพรรดิโกะ-โยเซ เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 107 ของญี่ปุ่นครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โยเซ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โทะบะ

มเด็จพระจักรพรรดิโกะ-โทะบะ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 82 ของญี่ปุ่น ทรงครองราชย์เมื่อพระชนมายุยังน้อยและยังอยู่ในยุคที่บ้านเมืองมีแต่ความวุ่นว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โทะบะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1861 - พ.ศ. 1882 โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิไดโงะ ที่ครองราชย์ในช่วง ศตวรรษที่ 9 โดยเมื่อใส่คำว่า โก ที่แปลว่า สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ว่า จักรพรรดิไดโงะที่สอง หรือ จักรพรรดิไดโงะยุคหลัง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวาลวิทยา

ักรวาลวิทยา (cosmology) เป็นการศึกษาเอกภพโดยรวม ซึ่งนับว่าเป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นพื้นฐานที่สุดในเวลาเดียวกัน จักรวาลวิทยามุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งทั้งหลายในเอกภพ พร้อมกับพยายามที่จะอธิบายความเป็นมาของเอกภพในอดีต และทำนายความเป็นไปของเอกภพในอนาคต เอกภพเป็นอย่างไร เอกภพมีขอบเขตจำกัดหรือไม่ เอกภพเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใดเอกภพจึงมีรูปร่างลักษณะอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และอนาคตข้างหน้าเอกภพจะเป็นอย่างไร ปัญหาเหล่านี้คือสิ่งที่นักจักรวาลวิทยาทั้งหลายสนใจ จักรวาลวิทยาในความหมายที่กว้างที่สุด จะหมายถึงการทำความเข้าใจเอกภพโดยอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็น วิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา หรือศิลปะ แต่โดยทั่วไปในปัจจุบัน จักรวาลวิทยาจะหมายถึงการศึกษาเอกภพโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นสองเครื่องมือสำคัญในการใช้ศึกษาเอกภพ เป็นที่ยอมรับกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า ยิ่งเรามีความรู้ทางด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์มากขึ้นเท่าใด เราก็จะยิ่งมีความเข้าใจในเอกภพมากขึ้นเท่านั้น มโนทัศน์เกี่ยวกับเอกภพของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยโลก คือ เทพเจ้าชื่อเก็บ ซึ่งถูกโอบล้อมด้วยท้องฟ้าคือ นัท ต่อมาเมื่อชาวกรีกโบราณศึกษาท้องฟ้าและการโคจรของดวงดาวมากขึ้น เขาก็สามารถสร้างแบบจำลองเอกภพที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษานั้น โดยให้โลกเป็นจุดศูนย์กลางของเอกภพ และมีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ รวมทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ทั้งหลาย โคจรอยู่รายล้อม แบบจำลองโลกเป็นศูนย์กลางนี้เป็นที่ยอมรับกันมานับพันปี ก่อนที่โคเปอร์นิคัสจะเสนอแบบจำลองใหม่ที่ให้ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ด้วยเหตุผลว่าแบบจำลองนี้ใช้การคำนวณที่ซับซ้อนน้อยกว่า (หลักการของออคแคม) จะเห็นว่าความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นนั้นทำให้มนุษย์มองโลกและเอกภพต่างออกไป การศึกษาเอกภพก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะในศตวรรษนี้มีทฤษฎีใหม่ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของเอกภพมากขึ้น เช่น ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป และควอนตัมฟิสิกส์ รวมทั้งมีการค้นพบหลายสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการจักรวาลวิทยา เช่น การค้นพบว่าเอกภพกำลังขยายตัว หรือการค้นพบการแผ่รังสีคอสมิกไมโครเวฟเบื้องหลัง เป็นต้น ทั้งทฤษฎีและการค้นพบใหม่ ๆ เหล่านี้ทำให้ภาพของเอกภพในใจมนุษย์นั้นกระจ่างแจ่มชัดและใกล้เคียงความจริงยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามก็ต้องยอมรับว่าสิ่งที่มนุษย์รู้เกี่ยวกับเอกภพนั้นยังน้อยมาก และยังคงมีอีกหลายปัญหาในทางจักรวาลวิทยาที่ยังคงเป็นปริศนาอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจักรวาลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิบะ

ังหวัดชิบะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น อยู่ในเขตคันโต บนเกาะฮนชู มีเมืองเอกชื่อเดียวกันคือ ชิบะ จังหวัดชิบะเป็นที่ตั้งของสนามบินนะริตะซึ่งอยู่ในเมืองนะริตะ และโตเกียวดิสนีย์รีสอร์ต (ประกอบด้วยโตเกียวดิสนีย์แลนด์และโตเกียวดิสนีย์ซี) ซึ่งอยู่ในเมืองอุระยะซ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดชิบะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิมาเนะ

จังหวัดชิมาเนะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคชูโงกุบนเกาะฮนชู ลักษณะภูมิศาสตร์ของจังหวัดชิมาเนะเป็นที่ราบสลับหุบเขาสูงทิศเหนือติดกับทะเลญี่ปุ่น ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดยามางูจิ ทิศใต้ติดกับจังหวัดฮิโรชิมะ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดทตโตริ จังหวัดชิมาเนะมีเมืองหลวงชื่อเมืองมัตสึเอะ ตั้งอยู่ริมทะเลสาบชินจิโกะ ซึ่งทะเลสาบแห่งนี้มีทัศนียภาพที่สวยงามยามเย็นเวลาพระอาทิตย์ตกดิน ยังมีปราสาทมัตสึเอะปราสาทเก่าแก่โบราณ มีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ คือ โบราณสถานโคจินดานิ ตั้งอยู่ที่เมืองฮิกะวะ เป็นที่ที่ขุดพบดาบสัมฤทธิ์จำนวนมากถึง 358 เล่ม และในปีต่อมาก็มีการขุดพบทวน 16 เล่ม ระฆังสำริด 6 ใบ ปัจจุบันได้มีจัดแสดงภาพการจำลองตอนขุดพบ รวมทั้งจำลองบ้านทรงกระโจมกึ่งใต้ดินเอาไว้ให้ชม หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดชิมาเนะ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดชิมาเนะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิงะ

ังหวัดชิงะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคคันไซ มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโอสึ มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 4,017.36 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดชิงะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิซูโอกะ

ังหวัดชิซูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคชูบุ บนเกาะฮนชู เมืองหลักใช้ชื่อเดียวกันคือเมืองชิซูโอกะ (静岡市 Shizuoka-shi) จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาฟูจิ (富士山 Fuji-san) และมีชื่อเสียงของการปลูกชาเขียวที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดชิซูโอกะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟูกูชิมะ

ังหวัดฟูกูชิมะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคโทโฮกุบนเกาะฮนชู เมืองหลักอยูที่เมืองฟูกูชิมะ เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่สำคัญคือ บริเวณตามชายฝั่งทะเลมีการตกปลาและมีอาหารทะเล มีการผลิตพลังงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและเจาะจงที่อุตสาหกรรมที่กำเนิดพลังปรมาณู มีอุตสาหกรรมหนักอยู่หลายแห่ง จังหวัดฟูกูชิมะเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และซอฟต์แวร์ และเด่นในด้านอาหารทะเล จากเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ในจังหวัดมิยางิทางตอนเหนือ จังหวัดฟูกูชิมะได้รับความเสียหายใหญ่หลวงและได้รับความสนใจเป็นพิเศษจากผลของการประกาศ "ภาวะฉุกเฉินพลังงานนิวเคลียร์" และการอพยพผู้อยู่อาศัยหลายพันคนซึ่งอาศัยอยู่ใกล้กับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะแห่งที่หนึ่ง บางส่วนของโรงไฟฟ้าเกิดระเบิดขึ้นเมื่อเวลา 8.30 น. GMT เมื่อวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดฟูกูชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟูกูอิ

จังหวัดฟูกูอิ ตั้งอยู่บริเวณภาคจูบุของญี่ปุ่น มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองฟูกูอิ ฟูกูอิ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดฟูกูอิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟูกูโอกะ

ังหวัดฟูกูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคคีวชู มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองฟูกูโอกะ นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์เป็นเมืองพี่น้องกับกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดฟูกูโอกะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกิฟุ

ังหวัดกิฟุ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในบริเวณภูมิภาคจูบุบนเกาะฮนชู โดยเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในใจกลางของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดกิฟุ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกุมมะ

ังหวัดกุมมะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น อยู่ในเขตคันโต บนเกาะฮนชู มีเมืองหลวงชื่อมะเอ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดกุมมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมิยางิ

ังหวัดมิยางิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคโทโฮกุของญี่ปุ่นอยู่บนเกาะฮนชู มีเซ็นไดเป็นเมืองหลวงเป็นเมืองแห่งปราสาท และหนึ่งในนั้นเป็นปราสาทที่ไดเมียวดาเตะ มาซามุเนะ เจ้าผู้ครองแคว้นโบราณเคยสร้างเอาไว้ เด่นในด้านเกษตรกรรมและการประมง และเป็นแหล่งจุดชมวิวที่สวยงามของญี่ปุ่นที่อ่าวมัตสึชิมะ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดมิยางิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมิยาซากิ

จังหวัดมิยาซากิ ตั้งอยู่บริเวณภาคคีวชูของญี่ปุ่น มีเมืองหลักคือมิยาซากิ มิยาซากิ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดมิยาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมิเอะ

ังหวัดมิเอะ เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคคิงกิบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น เมืองเอกคือเมืองทสึ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดมิเอะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยามางาตะ

ังหวัดยามางาตะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคโทโฮะกุบนเกาะฮนชู เมืองหลวงอยู่ที่เมืองยามางาต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดยามางาตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยามางูจิ

ังหวัดยามางูจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นในภูมิภาคชูโกกุบนเกาะฮนชู ยามางูจิเป็นเมืองเอกของจังหวัด แต่เมืองใหญ่ที่สุดคือชิโมโนเซก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดยามางูจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยามานาชิ

ังหวัดยามานาชิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคชูบุของประเทศญี่ปุ่นมีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโคฟุ ยามานาชิเป็นจังหวัดที่มีภูเขาปิดล้อม โดยเฉพาะภูเขาไฟฟูจิซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวนิยมมาเที่ยวกันมาก มีสินค้าขึ้นชื่อคือไวน์ ที่เมืองโคฟุมีชื่อเสียงมากในอุตสาหกรรมอัญมณี และมีทิวทัศน์ธรรมชาติอันงดงาม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดยามานาชิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดวากายามะ

จังหวัดวากายามะ ตั้งอยู่บริเวณภาคคันไซของญี่ปุ่น มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองวากายามะ หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดวากายามะ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดวากายามะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอากิตะ

ังหวัดอากิตะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคโทโฮกุซึ่งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น มีเมืองหลวงชื่ออากิต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดอากิตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาโอโมริ

ังหวัดอาโอโมริ เป็นจังหวัดตั้งอยู่เหนือสุดของเกาะฮนชู อยู่ในภาคโทโฮกุของประเทศญี่ปุ่น เมืองเอกของจังหวัดคือนครอาโอโมร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดอาโอโมริ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอิบารากิ

ังหวัดอิบารากิ ตั้งอยู่บริเวณภาคคันโตของญี่ปุ่น มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองมิโต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดอิบารากิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอิชิกาวะ

จังหวัดอิชิกาวะ ตั้งอยู่บริเวณภาคกลาง (中部地方, จูบูจิโฮ, Chuubu-chihou) ของประเทศญี่ปุ่น และเป็น 1 ใน 3 จังหวัดในภูมิภาคโฮกูริกุ (北陸地方, โฮกูริกูจิโฮ, Hokuriku-chihou) มีเมืองหลักของจังหวัดคือเมืองคานาซาวะ (金沢市, คานาซาวะชิ, Kanazawa-shi) หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดอิชิกาวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอิวาเตะ

ังหวัดอิวาเตะ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคโทโฮะกุ (東北地方 Tōhoku-chihō) หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บนเกาะฮนชู (本州 Honshū) มีเมืองเอกคือ เมืองโมะริโอะกะ (盛岡市 Morioka-shi).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดอิวาเตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮกไกโด

กไกโด (ไอนุ: アィヌ・モシリ อัยนูโมซีร์) เดิมเรียก เอะโซะ เป็นชื่อจังหวัดและเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสองในประเทศญี่ปุ่น รองจากเกาะฮนชู แต่มีอุโมงค์เซกังเชื่อมถึงกัน นอกจากนี้ฮกไกโดยังเป็นเขตการปกครอง ซึ่งประกอบไปด้วยหมู่เกาะ โดยมีเกาะฮกไกโดเป็นศูนย์กลาง และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเขต คือ ซัปโปโระ ฮกไกโดเป็นเขตที่มีคนอาศัยอยู่เบาบาง มีประชากรทั้งเกาะประมาณ 5 ล้านคน คนส่วนใหญ่ย้ายมาจากเกาะฮนชูเมื่อราว 100 กว่าปีก่อน โดยเป็นแหล่งที่ซามูไรแพ้สงครามจึงต้องหนีมาอยู่ที่เกาะนี้ ความจริงแล้วที่เกาะนี้มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่มานานแล้ว คือ ชาวไอนุ แต่โดนกลืนชนชาติไป ปัจจุบันหลงเหลืออยู่น้อยมากและมีชีวิตเช่นชาวญี่ปุ่นทั่วไป ฮกไกโดเป็นเขตที่มีอากาศหนาวเย็น โดยเฉลี่ยจะมีหิมะท่วมอยู่ทั่วไปประมาณ 4-6 เดือน ในถดูหนาวจะมีอุณหภูมิ -20 ถึง 5 องศาเซลเซียส ในหน้าร้อนจะมีอุณหภูมิ 15 ถึง 30 องศาเซลเซียส ในด้านภูมิประเทศเป็นภูเขาเป็นส่วนใหญ่ ในบริเวณที่ราบลุ่มก็จะเป็นเมืองที่คนอาศัย โดยจะหนาแน่นในบริเวณเมืองซัปโปโระ ซึ่งมีอากาศอุ่นกว่าบริเวณต่าง ๆ ของเกาะ แต่ก็ยังหนาวกว่าเมืองอื่น ๆ ในเกาะฮนชู ฮกไกโดเป็นเกาะที่มีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีทิวทัศน์ที่สวยงาม ชาวญี่ปุ่นจากส่วนอื่น ๆ ของประเทศจึงนิยมมาตากอากาศหรือย้ายมาอยู่อาศัยและทำงานเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดฮกไกโด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮิโรชิมะ

ังหวัดฮิโรชิมะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคจูโงกุของญี่ปุ่นมีเมืองเอกในชื่อเดียวกันคือ นครฮิโรชิมะ left.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดฮิโรชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดทตโตริ

ังหวัดทตโตริ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคชูโงกุ มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองทตโตร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดทตโตริ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น แบ่งเขตการปกครองเป็น 47 เขตการปกครองระดับ "จังหวัด" หรือเรียกว่า "โทโดฟูเก็ง" (อังกฤษ: Prefectures) ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคางาวะ

ังหวัดคางาวะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนเกาะชิโกกุ เมืองหลักคือทากามัตสึ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดคางาวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคานางาวะ

ังหวัดคานางาวะ ตั้งอยู่บริเวณภาคคันโต บนเกาะฮนชูของญี่ปุ่น มีโยโกฮามะเป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เมืองโยโกฮามะนั้นเป็นสถานที่จัดศึกฟุตบอลโลกในปี 2002 รอบชิงชนะเลิศ และเป็นเมืองที่มีย่านที่คนจีนอาศัยอยู่มากที่สุดแห่งหนึ่งในญี่ปุ่น มีวัดวาอารามตั้งอยู่หลายวัดในเมืองคามากูระ ปัจจุบันเมืองโยโกฮามะเป็นส่วนหนึ่งของกรุงโตเกียว และเป็นเมืองศูนย์กลางที่สำคัญเนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล เมืองโยโกฮามะเป็นเมืองใหญ่อันดับสองรองจากโตเกียว โดยมีประชากรกว่า 3 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดคานางาวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคาโงชิมะ

จังหวัดคาโงชิมะ ตั้งอยู่บนเกาะคีวชูทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของญี่ปุ่น มีคาโงชิมะเป็นเมืองเอก ซึ่งในอดีตนั้นก็เป็นเมืองหลวงของแคว้นซัตสึมะ และเป็นบ้านเกิดของท่านเทนโชอิน ที่นี้นั้นมี มันเทศ หัวไชเท้า ข้าว ถ้วยชามดินเผา เป็นสินค้าขึ้นชื่อ นอกจากนั้นยังมีแหล่งมรดกโลกอีกแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้ คือ เกาะยะกุ คาโงชิมะ หมวดหมู่:จังหวัดคาโงชิมะ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดคาโงชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคูมาโมโตะ

ังหวัดคูมาโมโตะ ตั้งอยู่บริเวณภาคคีวชูของญี่ปุ่น มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองคูมาโมโต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดคูมาโมโตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซางะ

ังหวัดซางะ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณคีวชู มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือซาง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดซางะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนาระ

ังหวัดนาระ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในภาคคันไซ มีเมืองหลักจังหวัดในชื่อเดียวกันคือ นาระ ซึ่งในอดีตเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศญี่ปุ่นเมื่อ 1,300 ปีก่อน ในเมืองนาระมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายอาทิ เช่น พระพุทธรูปไดบุตสึซึ่งเป็นพระพุทธหล่อองค์ใหญ่ที่สุดในโลก ถูกสร้างเมื่อ 1,200 ปีก่อน และยังมีวัดโฮริวจิ สิ่งก่อสร้างซึ่งทำด้วยไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก และยังได้รับการบันทึกให้เป็นมรดกโลกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดนาระ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนางาซากิ

ังหวัดนางาซากิ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคคีวชู มีเมืองหลวงอยู่ที่นางาซาก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดนางาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนางาโนะ

ังหวัดนางาโนะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตจูบุ บนเกาะฮนชู มีเมืองเอกจังหวัดในชื่อเดียวกันคือ นางาโน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดนางาโนะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนีงาตะ

ังหวัดนีงาตะ หรือ นีกาตะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บริเวณภาคชูบุของญี่ปุ่น มีเมืองเอกในชื่อเดียวกัน นีงาต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดนีงาตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอกายามะ

ังหวัดโอกายามะ ตั้งอยู่บริเวณภาคจูโงะกุ บนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโอกายาม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโอกายามะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอกินาวะ

ที่ตั้งของหมู่เกาะรีวกีว แผนที่จังหวัดโอกินาวะ จังหวัดโอกินาวะ (沖縄県 Okinawa-ken) เป็นจังหวัดใต้สุดของญี่ปุ่น พื้นที่ยาวกว่า 1,000 กิโลเมตร กินสองในสามของเกาะรีวกีวซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของคีวชูไปทางไต้หวัน เมืองเอกคือนาฮะซึ่งอยู่ภาคใต้ของเกาะโอกินาวะ แม้จังหวัดโอกินาวะจะเป็นพื้นที่เพียงร้อยละ 0.6 ของดินแดนญี่ปุ่นทั้งหมด แต่ร้อยละ 75 ของทหารสหรัฐที่ประจำในญี่ปุ่นก็ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้ ปัจจุบัน มีกองกำลังสหรัฐราว 26,000 กองตั้งอยู่ในจังหวัดโอกินาว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโอกินาวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโออิตะ

จังหวัดโออิตะ ​ ตั้งอยู่บริเวณภาคคีวชูของประเทศญี่ปุ่น มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโออิตะ (โออิตะชิ) หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดโออิตะ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโออิตะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอซากะ

ลากลางจังหวัดโอซากะ จังหวัดโอซากะ เป็นส่วนหนึ่งของเขตแดนคันไซ ภูมิภาคคิงกิ เกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองเอกคือโอซากะ เป็นใจกลางของพื้นที่เคียวโตะ-โอซากะ-.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโทกูชิมะ

ังหวัดโทกูชิมะ ตั้งอยู่บริเวณภาคชิโกกุ ของญี่ปุ่น มีเมืองหลักอยู่ที่โทกูชิม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโทกูชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโทยามะ

จังหวัดโทยามะ ตั้งอยู่บริเวณภาคชูบุของญี่ปุ่นมี่เมืองเอกอยู่ที่เมืองโทยามะ หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดโทยามะ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโทยามะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโทจิงิ

จังหวัดโทจิงิ เป็นจังหวัดหนึ่งในภูมิภาคคันโตบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองหลักคือ อุตสึโนมิยะ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านร้านขายเกี๊ยวซ่าเลิศรส และยังมีศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคคันโตทางตอนเหนือ มีชื่อว่า เบลล์มอลล์ เมืองนิกโกในจังหวัดโทจิงิ เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าและวัดที่องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมืองนิกโกนี้ใช้เวลาเดินทางโดยรถไฟจากกรุงโตเกียวเพียง 1 ชั่วโมง แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ ได้แก่ เมืองนะซุ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านรีสอร์ตน้ำพุร้อน รีสอร์ตสกี และแหล่งผลิตเหล้าสาเก เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของตำหนักที่ประทับประจำราชวงศ์ มีสถานีรถไฟนะซุ-ชิโอะบะระเป็นสถานีใหญ่ที่รองรับขบวนรถด่วนชินคันเซน รีสอร์ตน้ำพุร้อนที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งอยู่ที่เมืองคินุงะวะ โทจิงิ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโทจิงิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโคจิ

ังหวัดโคจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งภาคใต้ของเกาะชิโกกุ มีเมืองหลักอยู่ที่เมือง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดโคจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดไอจิ

ังหวัดไอจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในภูมิภาคจูบุ ประเทศญี่ปุ่น เมืองศูนย์กลางคือ นาโง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดไอจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดไซตามะ

มืองไซตามะ จังหวัดไซตามะ เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคคันโต มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือ ไซตามะ จังหวัดไซตามะเป็นที่ตั้งของสนามกีฬาไซตามะ 2002 เป็นสนามกีฬาฟุตบอลที่ใช้แข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายปี 2002 ศูนย์กีฬาในร่มไฮเทคไซตามะซูเปอร์อารีนา จังหวัดไซตามะเป็นจังหวัดที่มีความเจริญมากเพราะอยู่ติดกับกรุงโตเกียว ซึ่งเขตชิชิบุในจังหวัดนี้มีเทือกเขา ทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม จึงเป็นจุดที่มีนักท่องเที่ยวนิยมเดินทางมา ส่วนสถานที่น่าสนใจอีกที่หนึ่งก็คือ หมู่บ้านบอนไซ โอม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดไซตามะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกียวโต

ังหวัดเกียวโต เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บนเกาะฮนชู มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือเมืองเกียวโต มีความสำคัญเคยเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น มีโบราณวัตถุมากมาย มีชื่อในการทำผ้าไหมและแพร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเอฮิเมะ

ังหวัดเอฮิเมะ ตั้งอยู่บนเกาะชิโกกุ มีมัตสึยามะเป็นเมืองหลวง เป็นแหล่งต่อเรือที่สำคัญ รวมไปถึงอุตสาหกรรมสิ่งทอ กระดาษ เคมีภัณฑ์ และขุดเจาะน้ำมัน และมีส้มเป็นสินค้าขึ้นชื่อ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดเอฮิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเฮียวโงะ

ังหวัดเฮียวโงะ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะฮนชู ในจังหวัดเฮียวโงะมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์คือ หลุมศพโกะฉิขิสึกะโขะฟุน จังหวัดเฮียวโงะเคยประสบกับแผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุดในโลกที่เมืองโคเบะ (โกเบ) เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจังหวัดเฮียวโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและจี7 · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเหลือง

ั่วเหลือง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับปลูกสลับกับการปลูกข้าว ได้มีรายงานการปลูกถั่วเหลืองในประเทศจีนเมื่อเกือบ 5,000 ปีมาแล้ว แต่ก็ยังไม่แน่ชัดว่าส่วนใดของประเทศจีนเป็นถิ่นกำเนิดที่สันนิษฐานและยอมรับกันโดยทั่วไปคือบริเวณหุบเขาแม่น้ำเหลือง (ประมาณเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ) เพราะว่าอารยธรรมของจีนได้ถือกำเนิดที่นั่น และประกอบกับมีการจารึกครั้งแรกเกี่ยวกับถั่วเหลือง เมื่อ 2295 ปีก่อนพุทธกาล ที่หุบเขาแม่น้ำเหลือง จากนั้นถั่วเหลืองได้แพร่กระจายสู่ประเทศเกาหลีและญี่ปุ่น เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล แล้วเข้าสู่ยุโรปในช่วงหลัง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและถั่วเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ถ่านหิน

นหิน ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่เกิดจากการตกตะกอนสะสมของซากพืชในยุคดึกดำบรรพ์เป็นเวลายาวนานหลายล้านปี จนตะกอนนั้นได้เปลี่ยนสภาพไปและมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุคาร์บอน โดยมีธาตุอื่นๆทั้งที่เป็นก๊าซและของเหลวปนอยู่ด้วยในสัดส่วนที่น้อยกว่าและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีดำ มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน น้ำหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สำคัญ 4 อย่างได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้น มีธาตุหรือสารอื่น เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจำนวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่ำ เมื่อนำมาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและถ่านหิน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยูเรเชีย

ทวีปยูเรเชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรป กับทวีปเอเชียเข้าด้วยกัน โดยเส้นแบ่งของทวีปยุโรปกับเอเชียคือเทือกเขายูราล คำนี้ส่วนใหญ่จะใช้พูดถึงกับเรื่องในประวัติศาสตร์เมื่อครั้งโลกหลายร้อยล้านปีที่ทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียยังติดกัน ทวีปนี้ขยายตัวมาจากมหาทวีปพันเจีย โดยมีทวีปต่างๆที่แยกตัวออกมาคือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ (แยกออกมาจากทวีปแอฟริกา) ทวีปยูเรเชีย เกาะอินเดีย ออสเตรเลีย และขั้วโลกใต้ โดยที่ทวีปยูเรเชียนั้น ในปัจจุบันเรามักจะเรียกว่า ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย มากกว่าที่จะเรียกว่า ยูเรเชีย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากที่ การเรียกอย่างนี้จะทำให้เกิดการสับสนว่าเป็น ทวีปใดกันแน่ ทั้งวัฒนธรรม การเมือง ประเพณี ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ วิถีชีวิต อาหารการกิน ยังแตกต่างกันด้วย นอกจากเราจะยังพูดถึงโลกล้านปีแล้ว การที่ทวีปเอเชียและทวีปยุโรป ติดกันตรงพรมแดนของประเทศจีน-ประเทศรัสเซีย เป็นต้น เป็นเสมือนเกาะใหญ่ และการคมนาคม ประวัติศาสตร์ยังคล้ายคลึงกันอีกด้วย เราจึงยังจะคงเรียกอยู.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทวีปยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะนุกิ

ทะนุกิ หรือ จิ้งจอกแรคคูนญี่ปุ่น (อังกฤษ: Japanese raccoon dog, Tanuki; ญี่ปุ่น: 狸, タヌキ, たぬき) เป็นชนิดย่อยของจิ้งจอกแรคคูน (N. procyonoides) ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทะนุกิ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลญี่ปุ่น

ทะเลญี่ปุ่น เป็นทะเลชายอาณาเขตทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างแผ่นดินใหญ่เอเชีย หมู่เกาะญี่ปุ่น และเกาะซาฮาลิน ล้อมรอบด้วยประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ และรัสเซีย เป็นผืนน้ำที่ถูกปิดกั้นจากมหาสมุทรแปซิฟิกเกือบสมบูรณ์ ทำให้แทบไม่มีปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งคล้ายกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และความโดดเดี่ยวเช่นนี้ยังทำให้จำนวนชนิดพันธุ์สัตว์และความเค็มของน้ำมีน้อยกว่าในมหาสมุทร ภายในพื้นที่ไม่มีเกาะ อ่าว หรือแหลมขนาดใหญ่ สมดุลของน้ำได้รับอิทธิพลอย่างมากจากกระแสน้ำที่ไหลเข้าและออกผ่านช่องแคบต่างๆ ที่เชื่อมต่อกับทะเลรอบข้างและมหาสมุทรแปซิฟิก ขณะที่แม่น้ำที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้มีจำนวนน้อย จึงมีผลต่อปริมาตรน้ำในทะเลเพียงไม่เกินร้อยละ 1 น้ำในทะเลญี่ปุ่นมีความเข้มข้นของออกซิเจนละลายอยู่สูง ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ทางชีวภาพ การประมงจึงมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ และการขนส่งทางเรือในทะเลญี่ปุนกำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออก แม้ว่าในอดีตจะไม่คับคั่งนักเนื่องด้วยประเด็นปัญหาทางการเมือง ขณะที่ชื่อของผืนน้ำแห่งนี้ยังคงเป็นประเด็นขัดแย้ง เนื่องจากเกาหลีใต้พยายามเรียกร้องให้ใช้ชื่อว่า ทะเลตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทะเลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลโอค็อตสค์

แผนที่ของทะเลโอคอตสค์ ทะเลโอคอตสค์ (Охотское море; Sea of Okhotsk) เป็นส่วนหนึ่งหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก อยู่ระหว่างคาบสมุทรคัมชัตคาที่อยู่ทางตะวันออก, หมู่เกาะคูริลทางตะวันออกเฉียงใต้, เกาะฮกไกโดทางใต้, เกาะซาฮาลินทางตะวันตก รวมไปถึงแนวยาวของชายฝั่งไซบีเรียตะวันออก (รวมถึงเกาะชานตาร์) ตั้งอยู่ทางตะวันตกและเหนือ ส่วนมุมตะวันออกเฉียงเหนือคืออ่าวเชลีคอฟ ชื่อตั้งตามโอคอตสค์ เมืองรัสเซียแห่งแรกที่ตะวันออกไกล อโอคอตสค์.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทะเลโอค็อตสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเซโตะใน

ทะเลในและช่องแคบหลัก ๆ ทะเลเซโตะใน หรือ ทะเลใน เป็นทะเลที่ขั้นกลางระหว่างเกาะฮนชู, เกาะชิโกกุ, และเกาะคีวชู สามเกาะหลักของประเทศญี่ปุ่น เป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลญี่ปุ่น สามารถเชื่อมต่อไปยังอ่าวโอซากะ และเชื่อมโยงการขนส่งทางทะเลไปยังศูนย์กลางอุตสาหกรรมในภูมิภาคคันไซ ประกอบด้วยโอซากะและโคเบะ ก่อนจะมีการก่อสร้างรถไฟสายซันโย (Sanyō Main Line) ทะเลเซโตะในเป็นการคมนาคมหลักระหว่างคันไซและคีวชู จังหวัดยามางูจิ, ฮิโรชิมะ, โอกายามะ, เฮียวโงะ, โอซากะ, คางาวะ, เอฮิเมะ, ฟูกูโอกะ, และโออิตะเป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลในเซโตะ รวมทั้งเมืองฮิโรชิมะ, อิวากูนิ, ทากามัตสึ, และมัตสึยามะด้วยเช่นกัน พื้นที่แถบทะเลเซโตะในมีภูมิอากาศอบอุ่น มีอุณหภูมิเกือบจะคงที่ตลอดปีและมีปริมาณน้ำฝนที่ต่ำ บ่อยครั้งมักถูกเรียกว่า ดินแดนที่มีสภาพอากาศเท่าเทียม ทะเลแห่งนี้มักเกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ บ่อย ๆ เพราะกลุ่มแพลงก์ตอนพืชที่หนาแน่น เป็นเหตุให้เกิดปลาตายจำนวนมาก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทะเลเซโตะใน · ดูเพิ่มเติม »

ทาเคดา

ทาเคดา (Takeda Pharmaceutical Co., Ltd.) เป็นบริษัทยาที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น มีฐานผลิตอยู่ทั่วโลก ทั้งยุโรปและอเมริกา ผลิตภัณฑที่มีชื่อเสียงได้แก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทาเคดา · ดูเพิ่มเติม »

ทงกัตสึ

ทงกัตสึ เป็นอาหารญี่ปุ่น ทำจากเนื้อหมูหั่นเป็นแผ่นหนาราวสองเซนติเมตร หมักด้วยเกลือและพริกไทย โรยแป้งบาง ๆ ชุบแป้งผสมไข่และน้ำอันตีจนเหลวเข้ากัน ชุบเกล็ดขนมปังซึ่งเรียก "ปังโกะ" (panko) อีกชั้น แล้วทอดจนสุก รับประทานกับอาหารอื่น เป็นต้นว่า ข้าวสวย, กะหล่ำใบ หรือซุปเต้าเจี้ยว โปรตุเกสเป็นผู้นำเข้าทงกัตสึมายังญี่ปุ่น และเดิมเรียก "คัตสึเร็ตสึ" (katsuretsu) และเรียกโดยย่อว่า "คัตสึ" ทั้งนับเป็นอาหารในเหล่า "โยโชกุ" (yōshoku) คือ อาหารญี่ปุ่นบรรดาซึ่งดัดแปลงจากอาหารยุโรปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คัตสึเร็ตสึดั้งเดิมนั้นใช้เนื้อวัวปรุง ส่วนเนื้อหมูที่นิยมกันในปัจจุบันนั้นเริ่มใช้ ณ ร้านอาหารยุโรปแห่งหนึ่งในย่านกินซะ กรุงโตเกียว เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและทงกัตสึ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ถมทะเล ชานเมืองนาโงยะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นท่าอากาศยานแห่งใหม่ (แทนท่าอากาศยานนานาชาติชูบุ - Chubu International Airport) ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับงาน เอกซ์โป 2005 ที่จังหวัดไอชิ เนื่องจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่กึ่งกลางประเทศญี่ปุ่น จึงสามารถเป็นศูนย์กลางการเดินทางทางอากาศของประเทศที่สำคัญ มีลักษณะพิเศษคือมีพื้นที่พาณิชยกรรมแยกอยู่บนชั้นหนึ่งของอาคารผู้โดยสาร เรียกว่า แอร์ซิตี (Aircity) ประกอบด้วยพื้นที่ขายของแบบตะวันตก แบบญี่ปุ่น และพื้นที่พักผ่อน เช่น โรงอาบน้ำแร่ ทำให้นอกจากเป็นท่าอากาศยานแล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประชาชนในจังหวัดไอชิและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถเดินทางระหว่างตัวเมืองนาโงยะได้รถไฟฟ้าความเร็วสูง ภายในเวลา 20 นาที.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว

อาคาร 1 อาคาร 2 อาคารระหว่างประเทศ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานฮะเนะดะ ตั้งอยู่ที่เมืองโอตะ กรุงโตเกียว ญี่ปุ่น รองรับการบริการกรุงโตเกียว ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ขงจื๊อ

งจื๊อ (Confucius; ภาษาไทยมีเรียกกันหลายชื่อ เช่น ขงฟู่จื่อ ขงบรมครูจื่อ ข่งชิว) (ตามธรรมเนียม, 8 กันยายน 551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) หรือ วันที่ 27 เดือน 8 (八月廿七日) ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปานใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่สุดท้ายต้องร่วงโรย".

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น

้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น เป็นความขัดแย้งตามแนวชายแดนระหว่างสหภาพโซเวียตกับจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ ทรัมป์

อนัลด์ จอห์น ทรัมป์ (Donald John Trump; เกิด 14 มิถุนายน ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 45 และยังเป็นนักธุรกิจ, พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์หลายเรื่อง เขาเป็นประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัททรัมป์ออร์กาไนเซชัน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา ทรัมป์ยังเป็นผู้ก่อตั้งทรัมป์เอนเตอร์เทนเมนต์รีสอร์ต ที่มีกิจการกาสิโนและโรงแรมหลายแห่งทั่วโลก และด้วยการใช้ชีวิตที่หรูหราและการพูดจาที่โผงผางทำให้เขามีชื่อเสียง ยังเป็นส่วนให้เขาประสบความสำเร็จในรายการเรียลลิตี้โชว์ทางช่องเอ็นบีซี ที่ชื่อ The Apprentice (ที่เขารับตำแหน่งพิธีกรและผู้อำนวยการสร้าง) ดอนัลด์เกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก เขาเป็นบุตรคนที่ 4 ใน 5 ของเฟรด ทรัมป์ เศรษฐีผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในนครนิวยอร์ก ดอนัลด์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากพ่อของเขาในเป้าหมายของอาชีพการเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และในครั้งจบการศึกษาจากโรงเรียนธุรกิจวอร์ตันแห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดอนัลด์ ทรัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีการพัฒนามนุษย์

ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index: HDI) คือดัชนีทางสถิติแบบองค์รวมที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการคาดหมายคงชีพ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อหัว ซึ่งใช้จัดลำดับการพัฒนามนุษย์ในแต่ละประเทศเป็น 4 กลุ่ม ยิ่งประเทศใดมีระดับการคาดหมายคงชีพ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อหัวมาก ก็จะยิ่งส่งผลให้ระดับการพัฒนามนุษย์มากตามไปด้วย ทั้งนี้ดัชนีดังกล่าวถูกพัฒนาโดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถาน มาห์บับ อุล ฮัก ร่วมกับนักเศรษฐศาสตร์ชาวอินเดีย อมรรตยะ เสน ซึ่งได้วางกรอบการศึกษาไว้ว่าผู้คนสามารถที่จะ "เป็น" หรือ "กระทำ" สิ่งที่ตนปรารถนาในชีวิตได้หรือไม่ และเผยแพร่รายงานการศึกษาโดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดัชนีการพัฒนามนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีสันติภาพโลก

แผนที่ดัชนีสันติภาพโลก ค.ศ. 2014 สัญลักษณ์สียิ่งเขียวยิ่งมีสันติภาพมาก ยิ่งแดงยิ่งมีสันติภาพน้อย การเปลี่ยนแปลงจำนวนของประเทศในชั้นของดัชนีสันติภาพโลกแต่ละชั้น พ.ศ. 2550-2553 ดัชนีสันติภาพโลก (Global Peace Index) เป็นความพยายามที่จะวัดและเปรียบเทียบระดับความสงบสุขของชาติและทวีปต่าง ๆ โดยสถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพและได้รับการพัฒนาผ่านการปรึกษาหารือกับคณะผู้เชี่ยวชาญสันติภาพระหว่างประเทศจากสถาบันสันติภาพและถังความคิดร่วมกับข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมและเปรียบเทียบโดยหน่วยข่าวกรองเศรษฐศาสตร์ รายชื่อดังกล่าวได้รับการเปิดเผยเป็นครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดัชนีสันติภาพโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดักลาส แมกอาเธอร์

ลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ (ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2486 หรือ 2487) พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ในการรบที่อ่าวเลเต หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ (Douglas MacArthur; 26 มกราคม พ.ศ. 2423 - 5 เมษายน 2507) เป็นพลเอกชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิฟิก ในสมัยสงครามสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบานยูเอสเอส มิสซูรี นอกจากนี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัยสงครามเย็น ในสงครามเกาหลี อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดักลาส แมกอาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิออบเซิร์ฟเวอร์

ออบเซิร์ฟเวอร์ (The Observer) เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับวันอาทิตย์ฉบับแรกของสหราชอาณาจักร มีแนวคิดทางการเมืองฝ่ายขวาเล็กน้อยจากหนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน (The Guardian) ในเครือเดียวกัน และยึดแนวเสรีนิยม / สังคมประชาธิปไตยในเกือบทุกประเด็นปัญห.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดิออบเซิร์ฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและดนตรีคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

คมบุ

หร่ายคมบุ (Saccharina japonica) คมบุ หรือ ไห่ไต้ เป็นสาหร่ายชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในทะเลแถบญี่ปุ่นและเกาหลี คมบุในตลาดกว่า 90% ในญี่ปุ่น เป็นคมบุที่มาจากฟาร์มที่ส่วนใหญ่อยู่ในฮกไกโด นอกจากนี้ยังสามารถพบคมบุได้แถบทะเลเซโตะในที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะปลูกที่ก้าวไกล คมบุถูกนำไปประยุกต์ใช้มากมายสำหรับอาหารญี่ปุ่น โดยเฉพาะถือเป็น 1 ใน 3 วัตถุดับหลักเพื่อทำดาชิ (น้ำซุป) คมบุมักจะวางจำหน่ายในรูปแบบหลักๆ คือ แบบเป็นแผ่นอบแห้ง (ดาชิคมบุ) ซึ่งนิยมที่สุด, แบบดองในน้ำส้มสายชู (ซุคมบุ) หรือแบบชิ้นๆอบแห้ง (โบโระคมบุหรือชิงาระคมบุ) นอกจากนี้ ในบางครั้งยังมีการใช้คมบุสด ๆ ทานคู่กับปลาดิบ การทำคมบุดาชิ นั้นไม่ยาก การใช้ผงคมบุนั้นเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด สำหรับการทำดาชิจากแผ่นคมบุ ขั้นตอนแรก เริ่มจากแช่คมบุแห้งในน้ำเย็น ระหว่างนั้นให้ต้มน้ำจนใกล้เดือด และนำคมบุที่คลายแล้วลงไปต้มซักพัก ก็จะได้น้ำซุปคมบุ ส่วนแผ่นคมบุนิ่มจากการต้ม โดยทั่วไปมักจะรับประทานปิดท้ายอาหาร นอกจากนี้ยังสามารถซอยเป็นเส้นเพื่อใช้ทำสึกุดานิซึ่งเป็นเส้นคมบุที่เคี่ยวในซอสถั่วเหลืองและมิริง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคมบุ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้ว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

คะบุกิ

การแต่งหน้าแบบคะบุกิ คาบูกิ เป็นศิลปการแสดงของญี่ปุ่น โดยมีการแต่งหน้าที่เป็นเอกลักษณ์ มีการเคลื่อนไหวที่กระฉับกระเฉง แสดงออกซึ่งท่าทางที่มีความหมาย เช่น ร้องไห้ เสียใจ โดยมีเนื้อเรื่อง 2 ประเภท คือเรื่องเกี่ยวกับสังคมซามูไร และ เรื่องราวชีวิตของชาวเมือง คาบูกิ เริ่มต้นในตอนต้นของศตวรรษที่ 17 โดยมีการเปิดการแสดงในเกียวโต โดยคณะละครที่ประกอบด้วยผู้ร่ายรำสตรีที่นำโดยผู้ดูแลศาลเจ้าอิซุโมะ แต่หลังจากนั้นปี ค.ศ. 1629 ได้มีประกาศรัฐบาลห้ามสตรีแสดงด้วยมีจุดประสงค์ที่จะรักษาศีลธรรมของประชาชน ดังนั้นคะบุกิจึงแสดงโดยผู้ชายและเมื่อรัฐบาลห้ามมิให้ผู้หญิงแสดง คะบุกิจึงแสดงโดยผู้ชาย เช่น ผู้ร้ายหน้าสีน้ำเงิน พระเอกหน้าสีขาว เวทีละครสร้างอย่างวิจิตรงดงาม เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคะบุกิ · ดูเพิ่มเติม »

คะตะกะนะ

ตากานะ เป็นตัวอักษรสำหรับแทนเสียงในภาษาญี่ปุ่นประเภทหนึ่ง คาตากานะได้รับการนำไปเขียนภาษาไอนุซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยอยู่ทางภาคเหนือของเกาะฮกไก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคะตะกะนะ · ดูเพิ่มเติม »

คะตะนะ

มัยของดาบซามูไร แบ่งออกได้ 4.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคะตะนะ · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

คันโต

ันโต เป็นภูมิภาคของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกุมมะ, คะนะงะวะ, ชิบะ, ไซตะมะ, โตเกียว, โทะชิงิ และ อิบะระกิ คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคันโต · ดูเพิ่มเติม »

คันไซ

ันไซ หรือเรียก คิงกิ (近畿) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู โดยเขตคันไซประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ เฮียวโงะ เคียวโตะ โอซะกะ ชิงะ นะระ วะกะยะมะ และมิเอะ คันไซมีขนาดประมาณ 27,335.11 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 22,757,897 คน (พ.ศ. 2553) อัตราความหนาแน่น 755.39 คน/ตารางกิโลเมตร ภูมิภาคคินคิ หรือที่คนส่วนใหญ่จะเรียกกันในนามของภูมิภาคคันไซ หรือภาคกลางตอนใต้ของญี่ปุ่น ภูมิภาคคันไซแห่งนี้เป็นอีกภูมิภาคที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น นอกเหนือจากภูมิภาคคันโตซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียวเมืองหลวง ภูมิภาคคันไซนับเป็นภูมิภาคที่ความเจริญมาช้านานเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของญี่ปุ่นในยุคแรก ๆ ประวัติศาสตร์คือ เมืองนะระและเมืองเคียวโตะ เมืองหลวงทั้งสองแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศญี่ปุ่นมานับพันปี มีพระราชวังที่ประทับองค์จักรพรรดิหรือพระราชวังอิมพีเรียล ณ เมืองเคียวโตะ ก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่กรุงโตเกียว นอกจากจะเป็นศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นแล้ว ภูมิภาคแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรมหลายแห่ง ได้แก่ นครโอซะกะ ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศเป็นเมืองใหญ่อันดับสามรองจากกรุงโตเกียวและโยะโกะฮะมะ เมืองเคียวโตะและนารา เมืองหลวงเก่าที่ยังคงอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญและงดงามเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงเมืองโคเบะซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรเกาหลี

มุทรเกาหลี (Korean Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคาบสมุทรเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

คามากูระ

"คามากูระ" อาจหมายถึง ยุคคะมะกุระ หรือ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ คามากูระ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 50 กิโลเมตร จากโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 39.60 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคามากูระ · ดูเพิ่มเติม »

คาราเต้

thumb คาราเต้ หรือ คาราเต้โด เป็นศิลปะการต่อสู้ถือกำเนิดที่โอะกินะวะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นการผสมผสานระหว่างการต่อสู้ของชาวโอะกินะวะและชาวจีน คาราเต้ได้เผยแพร่เข้าสู่ญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921) เมื่อชาวโอะกินะวะอพยพเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น คาราเต้มักถูกเข้าใจผิดว่า เป็นการต่อสู้ด้วยการฟันอิฐ แต่ที่จริงแล้ว คือการต่อสู้ด้วยการใช้อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เช่น กำปั้น เท้า สันมือ นิ้ว ศอก เป็นต้น แต่เมื่อถูกดัดแปลงเป็นกีฬาแล้วเหลือเพียงมือและเท้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคาราเต้ · ดูเพิ่มเติม »

คิมิงะโยะ

มิงะโยะ เป็นเพลงชาติของประเทศญี่ปุ่น และนับได้ว่าเป็นเพลงชาติที่สั้นที่สุดในโลก โดยมีความยาวเพียง 11 ห้องเพลง มีตัวโน้ตเพียง 40 ตัว เนื้อเพลงนั้นมาจากบทกลอนประเภทวะกะในยุคเฮอังของญี่ปุ่น (ระหว่าง ค.ศ. 794-1185) ส่วนทำนองเพลงนั้น ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่ในยุคเมจิ โดยทำนองแรกสุดนั้นประพันธ์โดยนักดนตรีชาวไอริชเมื่อ ค.ศ. 1869 ภายหลังราชสำนักญี่ปุ่นจึงเลือกใช้ทำนองเพลงใหม่ ซึ่งเรียบเรียงโดยนักดนตรีชาวญี่ปุ่น เป็นทำนองของเพลงคิมิงะโยะในปัจจุบัน เมื่อ ค.ศ. 1880 แม้ว่าเพลงคิมิงะโยะจะเป็นเพลงชาติของญี่ปุ่นโดยพฤตินัยมานานแล้วก็ตาม แต่การรับรองฐานะทางกฎหมายเพิ่งจะมีขึ้นในปี ค.ศ. 1999 จากการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยธงชาติและเพลงชาติของญี่ปุ่นในปีนั้น ซึ่งหลังจากการผ่านกฎหมายดังกล่าว ก็ได้มีข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการขับร้องและบรรเลงเพลงชาติในโรเรียนต่าง ๆ ของญี่ปุ่นขึ้น ด้วยเหตุผลเดียวกับธงฮิโนะมารูอันเป็นธงชาติของญี่ปุ่น กล่าวคือ เพลงคิมิงะโยะอ้างถึงในฐานะสัญลักษณ์ของลัทธิจักรวรรดินิยมและลัทธิทหารของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคิมิงะโยะ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโฮโจ

ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะจึงได้รับพระราชทาน ตำแหน่ง เซไตโชกุน เป็นคนแรกจาก จักรพรรดิโกะ-โทะบะ ยิ่งทำให้ตระกูลโฮโจทรงอำนาจและอิทธิพล มากขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1202 โยะริโตะโมะถึงแก่อสัญกรรม โยะริอิเอะ บุตรชายคนโตจึงขึ้นเป็นโชกุนสืบต่อมา แต่ในสมัยของโยะริอิเอะอำนาจทั้งหมดอยู่ที่โทะคิมะซะ ผู้เป็นตาพร้อมกันนั้นยังบีบบังคับโชกุนโยะริอิเอะให้ตั้ง ตัวเองเป็น ชิกเก็ง หรือผู้สำเร็จราชการทำให้โชกุน โยะริอิเอะไม่พอใจสละตำแหน่งให้ ซะเนะโตะโมะ ผู้ เป็นน้องชายหลังจากดำรงตำแหน่งเพียง 1 ปีซึ่งหลังจาก สมัยของโชกุนโยะริอิเอะเป็นต้นไปอำนาจทั้งหมดอยู่ที่ ชิกเก็งที่มาจากตระกูลโฮโจทั้งสิ้น ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงในปี ค.ศ. 1333 หลังจาก ตระกูลอะชิกะงะ ที่นำโดย อะชิกะงะ ทะกะอุจิ กระทำรัฐประหาร บุกเข้ายึด คะมะกุระ ทำให้ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงพร้อมกับตระกูลมินะโมะโต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและตระกูลโฮโจ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลไทระ

ตราประจำตระกูลไทระ ตระกูลไทระ เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ยิ่งใหญ่ ทรงอำนาจอิทธิพลมากที่สุดตระกูลหนึ่งในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ตระกูลไทระสันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิพระองค์หนึ่ง พระนามว่า จักรพรรดิคันมู ในปี พ.ศ. 1368 ซึ่งตระกูลไทระนี้มีผู้ปกครองมาอีกหลายชั่วคนจนถึงยุคของ ไทระ โนะ คิโยะโมะริ ซึ่งปกครองตระกูลช่วงปี 1153-1183 ในยุคของคิโยะโมะริ สามารถผลักดันชน ชั้นซะมุไรให้ขึ้นปกครองญี่ปุ่นและมีอำนาจเหนือราชสำนักและพระจักรพรรดิได้สำเร็จ แต่หลังจากที่คิโยะโมะริถึงแก่อสัญกรรมในปี พ.ศ. 1726 เขาก็ได้ทิ้งภาระการปกครองให้กับ ไทระ โนะ มุเนะโมะริ บุตรชายผู้ไร้ความสามารถให้ผจญกับกองทัพของ ตระกูลมินะโมะโตะ ซึ่งนำโดย มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ บุตรชายของโยะชิโตะโมะผู้เป็นทั้งศัตรูและเพื่อนรักของคิโยะโมะริ ใน ยุทธการเกนเปย์ ปรากฏว่าตระกูลไทระเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และล่มสลายลงในปี พ.ศ. 1728 เพียง 2 ปีหลังการอสัญกรรมของคิโยะ โมะริ หลังจากยุทธการเกนเปย์แล้ว โยะริโตะโมะก็ได้เป็น โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ตระกูลไทระ หมวดหมู่:ตระกูลญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและตระกูลไทระ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดหลักทรัพย์

ตลาดหลักทรัพย์ หรือ ตลาดหุ้น เป็นสถานที่สำหรับซื้อขายแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ระยะยาว ของ บริษัทมหาชนจำกัด ซึ่งถือว่าเป็นตลาดรอง (Secondary Market) ทั้งนี้เนื่องจากจะทำการซื้อขายเฉพาะหลักทรัพย์ที่ได้ออกจำหน่ายให้แก่ประชาชนโดยทั่วไปแล้วเท่านั้น หลักทรัพย์ระยะยาว จะประกอบไปด้วยตราสารหนี้ และตราสารทุนซึ่งประกอบไปด้วย หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิแบบต่าง ๆ ใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ หุ้นกู้ และ หน่วยลงทุน เป็นต้น โดยเรียกว่าเป็นประเภทของตราสารเพื่อการลงทุนตลาดหลักทรัพย์มีอยู่แทบทุกประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดหลักทรัพย์โตเกียว

ห้องค้าหลักของตลาดหลักทรัพย์โตเกียว ซึ่งปัจจุบันดำเนินการโดยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตลาดหลักทรัพย์โตเกียว (Tokyo Stock Exchange (TSE), /โตเกียวโชเก็นโทริฮิกิโจะ/) เป็นตลาดหลักทรัพย์ ตั้งอยู่ในกรุง โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เปิดดำเนินการเมื่อ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1878, และเริ่มซื้อขายหลักทรัพย์เมื่อ1 มิถุนายน ของปีเดียวกัน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลาดปิดไประยะหนึ่ง หลังจัดรูปองค์กรใหม่ตลาดก็เปิดดำเนินอีกครั้งในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1949.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและตลาดหลักทรัพย์โตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานเก็นจิ

มุราซากิ ชิคิบุ ตำนานเก็นจิ (源氏物語; Genji Monogatari) เป็นงานเขียนของ มุราซากิ ชิคิบุ นางข้าหลวงในราชสำนักญี่ปุ่นสมัยเฮอัน หรือ เฮอันเคียว ซึ่งมีชิวิตอยู่ราวต้นศตวรรษที่ 11 ว่ากันว่า นี่คือนวนิยายที่เก่าแก่ที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก และมีการจัดกิจกรรมฉลองครบรอบ 1000 ปี ในปี 2008 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีหลักฐานสนับสนุนจากเนิ้อความใน มุราซากิ ชิคิบุ นิกกิ (Murasaki Shikibu Nikki บันทึกของมุราซากิ ชิคิบุ) ซึ่งเธอได้เขียนบันทึกนั้นในวันที่ 1 เดือนพฤศจิกายน.1008 ว่า ฟุจิวะระ โนะ คินโตะ (Fujiwara no Kinto) นักปราชญ์ราชบัณฑิตชั้นแนวหน้าในยุคนั้น ชื่นชมในงานเขียนของเธอเป็นอันมาก และบันทึกนี้ยืนยันกับเราให้ทราบว่า เธอเขียน บท วะกะมุราซากิ จบในเวลานั้นเอง (1 พฤศจิกายน ค ศ.1008) บางข้อมูลอ้างว่า มุราซากิ ชิคิบุ เริ่มเขียน ตำนานเก็นจิที่วัดอิชิยะมะเดระ ในคืนวันจันทร์เต็มดวงของวันที่ 15 เดือนสิงหาคม ปี.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและตำนานเก็นจิ · ดูเพิ่มเติม »

ซะโกะกุ

ซะโกะกุ (Sakoku; 鎖国) เป็นนโยบายต่างประเทศของญี่ปุ่นซึ่งห้ามคนต่างด้าวเข้าและชาวญี่ปุ่นออกประเทศ โดยมีโทษประหารชีวิต รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะสมัยโทะกุงะวะ อิเอะมิสึกำหนดขึ้นผ่านกฤษฎีกาและนโยบายต่าง ๆ ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซะโกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ซะโด

การชงชาแบบญี่ปุ่น ซะโด หรือ ชะโด หรือ ชาโนะยุ หรือพิธีชงชาญี่ปุ่น เป็นเอกลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่นว่าด้วยการใช้เวลาอย่างสุนทรีย์ ประกอบด้วยการปรนนิบัติระหว่างการดื่มและการดื่มชาผงสีเขียวหรือมัทชา (matcha) การจัดการพบปะกันในวงสังคมเพื่อดื่มมัทชาได้แพร่หลายในบรรดาชนชั้นสูงนับตั้งแต่ประมาณศตวรรษที่ 14 ต้นฉบับของพิธีชงชา รูปแบบของซะโดซึ่งปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน ยุคนาระ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านชาคือ เซ็น โนะ ริคิว (Sen no Rikyu) ซะโดมีลักษณะที่เป็นแบบแผน ได้พัฒนาภายใต้อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซ็นซึ่งจุดประสงค์สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูดเรียบง่าย คือเพื่อทำวิญญาณให้บริสุทธิ์โดยการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติหัวใจแท้จริงของพิธีชงชาได้รับการบรรยายโดยคำต่าง ๆ เช่น ความสงบ ความเรียบง่าย ความสง่างาม และ สุนทรียศาสตร์แห่งความเรียบง่ายอันเข้มงวดและความยากจนที่ประณีต ซะโดยังมีบทบาทสำคัญในด้านชีวิตด้านศิลปะของชาวญี่ปุ่น พิธีชงชาจะเกี่ยวข้องกับการชื่นชมห้องที่ประกอบพิธี ส่วนที่ติดอยู่ในห้องนั้น เครื่องใช้ในการชงชา เครื่องประดับบริเวณพิธี เช่น ภาพแขวนหรือการจัดดอกไม้ สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น การจัดสวน เครื่องปั้นดินเผาเซรามิก สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็ล้วนแต่ได้รับอิทธิพลมาจากพิธีชงชา และความเป็นพิธีการที่ถือปฏิบัติในพิธีชงชาได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนามารยาทของชาวญี่ปุ่นในลักษณะที่เป็นพื้นฐาน ภายหลังที่เซ็น โนะ ริคิว ถึงแก่กรรมในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซะโด · ดูเพิ่มเติม »

ซาชิมิ

ซาชิมิ (ด้านหน้า) ซาชิมิ (刺身) เป็นอาหารญี่ปุ่นแบบประณีตชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยเนื้อสัตว์หรือเนื้อปลาดิบสด แล่ให้เป็นชิ้น ๆ คำว่า ซาชิมิ หมายถึง "ร่างกายที่ถูกเจาะ" กล่าวคือ 刺身.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซาชิมิ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น

กะโหลกซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น (Japanese giant salamander; オオサンショウウオ, ハンザキ–โอซานโชอูโอ, ฮานซะกิ) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Andrias japonicus จัดอยู่ในวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Cryptobranchidae).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ซูชิ

ซูชิ หรือ ข้าวปั้นมีหน้า เป็นอาหารญี่ปุ่น ที่ข้าวมีส่วนผสมของน้ำส้มสายชู และกินคู่กับปลา เนื้อ หรือของคาวชนิดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ซูชิมักจะหมายถึงอาหารที่มีส่วนประกอบของซูชิเมชิ (寿司飯, ข้าวที่ผสมน้ำส้มสายชู) และมีหน้าแบบต่าง ๆ หน้าที่นิยมได้แก่ อาหารทะเล ผัก ไข่ เห็ด เนื้อที่นำมาใช้อาจจะเป็นเนื้อดิบหรือเนื้อที่ผ่านกระบวนการทำอาหารแล้ว สำหรับในประเทศอื่น และซูชิส่วนใหญ่มักใส่วาซาบิบนข้าวเพื่อให้ได้ความอร่อยมากยิ่งขึ้น ซูชิ หมายถึง การรวมกันระหว่างปลากับข้าว ซูชิมีวิวัฒนาการมาเมื่อหลายร้อยปีมาแล้วซึ่งเกิดจากความต้องการถนอมอาหารของคนญี่ปุ่น คำว่า "ซูชิ" นิยมหมายถึง นิงิริซูชิ ที่เป็นข้าวมาอัดเป็นก้อนและมีเนื้อปลาวางบนด้านหน้าเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซูชิ · ดูเพิ่มเติม »

ซูโม่

ซูโม่ ซูโม่ หรือมวยปล้ำญี่ปุ่นเป็นกีฬาประจำชาติที่ได้รับความนิยมในญี่ปุ่น ประวัติของซูโม่สามารถย้อนกลับไปได้ไกลถึงศตวรรษที่ 8 โดยวังหลวงได้คัดเลือกนักมวยปล้ำจากกองทัพมาสู้กัน เพื่อสร้างความบันเทิงแก่ชาววังในเกียวโต และพัฒนาจนกลายเป็นกีฬาอาชีพในปัจจุบัน นอกจากนั้นยังเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมจากประเทศในยุโรป เช่น อังกฤษ เป็นต้น อีกด้วย ประเพณีที่ยึดถือในกีฬาซูโม่นั้นมีความเก่าแก่มาก และยึดถือเป็นแบบปฏิบัติต่อเนื่องกันมาถึงปัจจุบัน เช่น การโปรยเกลืออันเป็นสัญลักษณ์แสดงความบริสุทธิ์ ซึ่งเป็นประเพณีที่ซูโม่ถูกนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในศาสนาชินโต การใช้ชีวิตของนักปล้ำซูโม่นั้นเคร่งครัดเป็นอย่างยิ่ง และอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดโดยสมาคมซูโม่ นักปล้ำซูโม่อาชีพจะใช้ชีวิตร่วมกันภายใต้ค่ายสังกัด (heya) ของตนเอง โดยแบบแผนการดำเนินชีวิตในทุกด้าน นับตั้งแต่อาหารการกิน ไปจนกระทั่งการแต่งกาย นั้น ถูกกำหนดด้วยประเพณีปฏิบัติอันเคร่งครั.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซูโม่ · ดูเพิ่มเติม »

ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)

ระบบกฎหมายทั่วโลก ซีวิลลอว์ (civil law) เป็นระบบกฎหมายซึ่งได้รับอิทธิพลจากกฎหมายโรมัน ลักษณะพื้นฐานของซีวิลลอว์คือ เป็นกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นระบบประมวล และมิได้ตัดสินตามแนวคำพิพากษาของศาล ระบบกฎหมายดังกล่าวจึงได้ยึดถือฝ่ายนิติบัญญัติเป็นบ่อเกิดหลักของกฎหมาย และระบบศาลมักจะใช้วิธีพิจารณาโดยระบบไต่สวน และศาลจะไม่ผูกพันตามคำพิพากษาในคดีก่อนๆ ในเชิงความคิด ซีวิลลอว์เป็นกลุ่มของแนวคิดและระบบกฎหมายซึ่งได้รับมาจากประมวลกฎหมายจัสติเนียน รวมไปถึงกฎหมายของชนเผ่าเยอรมัน สงฆ์ ระบบศักดินา และจารีตประเพณีภายในท้องถิ่นเอง รวมไปถึงความคิดเช่น กฎหมายธรรมชาติ แนวคิดในการจัดทำประมวลกฎหมาย และกลุ่มปฏิฐานนิยม (กลุ่มที่ยึดถือกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็นหลัก) ซีวิลลอว์ดำเนินจากนัยนามธรรม วางระเบียบหลักการทั่วไป และแบ่งแยกกฎระเบียบสารบัญญัติออกจากระเบียบพิจารณาความ ในระบบนี้จะให้ความสำคัญกับกฎหมายลายลักษณ์อักษรเป็นอันดับแรก เมื่อมีข้อเท็จจริงปรากฏขึ้น จะพิจารณาก่อนว่ามีกฎหมายลายลักษณ์อักษรบัญญัติไว้หรือไม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงดังกล่าว ถ้ามีก็จะนำกฎหมายลายที่บัญญัติไว้นั้นนำมาปรับใช้กับข้อเท็จจริง หากไม่มีกฎหมายให้พิจารณาจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นนั้นๆ จารีตประเพณีก็คือ ประเพณีที่ประพฤติและปฏิบัติกันมานมนาน และไม่ขัดต่อศีลธรรม ถ้าไม่ปฏิบัติตามก็ถือว่าผิด และถ้าไม่มีจารีตประเพณีที่เกี่ยวข้อง กฎหมายจะอนุโลมให้ใช้บทบัญญัติที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งก่อน จนในที่สุดหากยังไม่มีบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งอีก ก็จะให้นำหลักกฎหมายทั่วไปมาปรับใช้ ดังนั้นในระบบนี้จึงไม่ยึดหลักคำพิพากษาเดิม จะต้องดูตัวบทก่อนแล้วถึงจะตัดสินคดีได้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย) · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

ประตูซุซะกุ ประตูเมืองหลวงเฮโจวเกียว สมัยนะระ (บูรณะขึ้นมาใหม่) คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ ในชุด ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ วาดเมื่อปี พ.ศ. 2369 โดยคะสึชิกะ โฮะกุไซ ประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น (ภาษาญี่ปุ่น: 日本の歴史; นิฮงโนะเระกิชิ).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพัฒนาแล้ว

แผนที่โลกแสดงประเทศแบ่งตาม GDP per capita (2008) ประเทศพัฒนาแล้ว หมายถึงประเทศที่มีการพัฒนาในระดับที่สูงเมื่อวัดตามมาตรฐานบางประการ แต่การยึดเอามาตรฐานใดเป็นหลัก หรือการจัดกลุ่มให้ประเทศใดอยู่ในกลุ่มพัฒนาแล้วนั้นยังคงเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ โดยทั่วไปมาตรวัดทางเศรษฐกิจมักเป็นที่ยอมรับ เช่นการใช้รายได้ต่อหัวเป็นหลัก และให้ประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวสูงอยู่ในกลุ่มพัฒนาแล้ว ในระยะหลังมีการใช้ดัชนีการพัฒนามนุษย์ ซึ่งเป็นการรวมเอามาตรวัดทางเศรษฐกิจรวมกับมาตรวัดอื่น ๆ เช่นดัชนีอายุขัย และการศึกษา เพื่อเป็นตัววัดการพัฒนาของประเทศต่าง ๆ มากขึ้น จึงมีการจัดกลุ่มประเทศที่มีค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศพัฒนาแล้ว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิโตรเลียม

แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น เป็นตำแหน่งสำหรับ ประมุขฝ่ายบริหาร ของญี่ปุ่น อันได้รับโปรดเกล้าฯแต่งตั้งโดย สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ภายหลังจากที่ได้รับการเสนอชื่อ ในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และได้รับความไว้วางใจจากบรรดาสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ตำแหน่งนี้ถูกสถาปนาขึ้นในยุคเมจิ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นางาซากิ

มืองนางาซากิ เป็นเมืองเอกและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนางาซากิ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุ่น นางาซากิถูกก่อตั้งขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆเพื่อการประมง ซึ่งทำให้นางาซากิกลายเป็นศูนย์กลางอิทธิพลของชาวโปรตุเกสและชาวยุโรป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 มีโบสถ์และศาสนสถานของศาสนาคริสต์มากมายในนางาซากิ ซึ่งศาสนสถานเหล่านี้ ได้ถูกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก นอกเหนือไปจากนี้ ท่าเรือในนางาซากิ ยังเคยเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง และ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นามของเมืองว่า "นางาซากิ" (長崎) มีความหมายว่า "แหลมที่ทอดยาว" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและนางาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นิฮงโชะกิ

นิฮงโชะกิ คือ พงศาวดารญี่ปุ่น เรียบเรียงสำเร็จใน ค.ศ. 720 นับเป็นหนังสือเล่มที่สองของญี่ปุ่นในสมัยโบราณ เขียนด้วยอักษรจีน ผู้เรียบเรียงคือองค์ชายโทะเนะริ และอาลักษณ์ชื่อโอโนะ ยาสึมะโร นิฮงโชะกิ ประกอบด้วยเนื้อหา 30 บท เป็นประวัติของพระราชวงศ์และจักรพรรดิ เริ่มจากภาคตำนาน เมื่อเทพได้จุติลงมาเป็นจักรพรรดิจนถึงรัชสมัยจักรพรรดิในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและนิฮงโชะกิ · ดูเพิ่มเติม »

นินเท็นโด

นินเท็นโด (Nintendo) เป็นบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) เริ่มแรกทำธุรกิจเกี่ยวกับการ์ดเกมและของเล่น รวมถึงธุรกิจอื่น เช่น โรงแรมและแท็กซี่ ใน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) นินเท็นโดได้ผันตัวเองมาเป็นบริษัทวิดีโอเกม ซึ่งเป็นบริษัทเกี่ยวกับวิดีโอเกมที่มีอายุยาวนานที่สุดและทรงอิทธิพลที่สุดจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและนินเท็นโด · ดูเพิ่มเติม »

แกงกะหรี่ญี่ปุ่น

แกงกะหรี่ญี่ปุ่น (Japanese curry) เป็นหนึ่งในอาหารที่นิยมในประเทศญี่ปุ่น โดยทั่วไปจะเสิร์ฟในสามรูปแบบหลักคือ ข้าวแกงกะหรี่ (แกงกะหรี่ที่ราดบนข้าว) อูดงแกงกะหรี่ (แกงกะหรี่ที่ราดบนเส้น) และขนมปังแกงกะหรี่ (แกงกะหรี่ที่มีไส้ในขนมปัง) ข้าวแกงกะหรี่โดยทั่วไปจะเรียกสั้น ๆ ว่า แกงกะหรี่ (カレー) การทำแกงกะหรี่ญี่ปุ่นมีผักและเนื้อสัตว์ที่ใช้แตกต่างกัน ผักพื้นฐานคือ หอมใหญ่ แคร์รอต และมันฝรั่ง สำหรับเนื้อสัตว์ได้แก่ เนื้อวัว เนื้อหมู และเนื้อไก่ซึ่งเป็นที่นิยม คัตสึกาเร (Katsu-karē) เป็นทงกัตสึที่ราดซอสแกงกะหรี่ แกงกะหรี่เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นในช่วงยุคเมจิ (ค.ศ. 1868–1912) ที่นำเข้ามาจากอังกฤษในช่วงที่อินเดียอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ แกงกะหรี่กลายเป็นที่นิยมและมีขายในซูเปอร์มาร์เก็ตและร้านอาหารในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ได้มีการปรับปรุงมากขึ้นตั้งแต่มีการเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่นและมีการบริโภคกันอย่างแพร่หลายจนถูกเรียกว่าเป็นอาหารประจำชาต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแกงกะหรี่ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สธรรมชาติ

ประเทศผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอนที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็นมีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน 15.6 องศาเซลเซียส และ 101 กิโลปาสคาล โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทนล้วนหรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังแก๊ส เรียกว่า แก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ แก๊สหุงต้ม แก๊สธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่สิ่งแวดล้อมน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเตาและแก๊สหุงต้ม ด้วยเหตุนี้หลายประเทศจึงนิยมใช้แก๊สธรรมชาติ โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแก๊สธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

แมทธิว ซี. เพร์รี

แมทธิว คัลเบรธ เพร์รี (Matthew Calbraith Perry) เป็นพลเรือจัตวาแห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เขาเป็นหนึ่งในผู้มีบทบาทสำคัญในสงครามเม็กซิโก-อเมริกาและสงครามปี 1812 นอกจากนี้ยังเป็นผู้ที่นำกองเรือปืนบังคับให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศผ่านสนธิสัญญาคะนะงะวะในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแมทธิว ซี. เพร์รี · ดูเพิ่มเติม »

แมนจูเรีย

นแดนแมนจูเรีย แมนจูเรีย เป็นแคว้นหนึ่งทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ในบางบริบทอาจหมายถึงแคว้นหนึ่งของประเทศจีน (ปัจจุบันเรียกว่าจีนตะวันออกเฉียงเหนือ) หรือครอบคลุมถึงประเทศรัสเซีย ดินแดนนี้เป็นถิ่นอาศัยของชาวเซียนเปย์ ชาวชี่ตัน และชาวแมนจู (ชื่อแคว้นมาจากชื่อชนกลุ่มนี้) ซึ่งสถาปนารัฐของตนขึ้นหลายรัฐในดินแดนนี้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแมนจูเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แมนดาริน

แมนดาริน เป็นคำทับศัพท์มาจาก Mandarin อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

แอนิเมชัน

ตัวอย่างแอนิเมชันของเครื่องจักรรูปทรงวงกลม แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงโดยการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกัน การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือหรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแอนิเมชัน · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นอเมริกาเหนือ

แผ่นอเมริกาเหนือแสดงในสีน้ำตาล แผ่นอเมริกาเหนือ (North American Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ คิวบา บาฮามาส เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือไอร์แลนด์ และบางส่วนของไอซ์แลนด์ แผ่นเปลือกโลกนี้รองรับทั้งทวีปและมหาสมุทร หมวดหมู่:แผ่นเปลือกโลก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแผ่นอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466

270px แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน พ.ศ. 2538

แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน (The Great Hanshin earthquake) หรือ แผ่นดินไหวโกเบ เกิดขึ้นเมื่อวันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2538 เวลา 05:46 น. ตามเวลาท้องถิ่น บริเวณตอนใต้ของจังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาด 6.8 ตามมาตราโมเมนต์ ลึกลงไปใต้ผิวโลก 16 กิโลเมตร จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่บริเวณเกาะอาวาจิ ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองโกเบ 20 กิโลเมตร ระยะเวลาการสั่นสะเทือนนานประมาณ 20 วินาที มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 6,434 คน (นับถึงวันที่ 22 ธันวาคม 2538) ในจำนวนนี้ประมาณ 4,600 คน มาจากโกเบ ซึ่งเป็นเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้ที่สุด และมีประชากรทั้งสิ้น 1.5 ล้านคน เหตุแผ่นดินไหวครั้งนี้ ร้ายแรงที่สุดในรอบ 72 ปี นับตั้งแต่แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466 ที่มีผู้เสียชีวิต 6,434 คน ความเสียหายเบื้องต้น ทำให้บ้านเรือนพังพลายกว่า 200,000 หลัง, โครงสร้างยกระดับของทางด่วนสายฮันชิน พังทลายเป็นระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร, ปั้นจั่นของท่าเรือโกเบเสียหายกว่าหนึ่งร้อยตัว มูลค่าตวามเสียหายทั้งสิ้นประมาณ 10 ล้านล้านเยน (ประมาณ 102.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) คิดเป็น 2.5% ของจีดีพีของญี่ปุ่นในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นแปซิฟิก

แผ่นแปซิฟิกแสดงในสีเหลือง แผ่นแปซิฟิก (Pacific Plate) คือแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรที่ครอบคลุมพื้นที่ส่วนของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ประมาณ 103 ล้านตารางกิโลเมตรจึงถือว่าเป็นแผ่นเปลือกโลกที่ใหญ่ที่สุด แผ่นแปซิฟิกมีจุดร้อนภายในที่ทำให้เกิดหมู่เกาะฮาว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแผ่นแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

แคนนอน

แคนนอน เป็นบริษัทจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งชำนาญด้านผลิตภัณฑ์ภาพทัศน์ เช่น กล้องถ่ายภาพ, เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องพิมพ์สำหรับคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ สำนักงานใหญ่ของแคนนอนตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและแคนนอน · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โชจู

หล้าโชจูแบบบรรจุขวดและกล่องกระดาษ โชจู (焼酎) เป็นเหล้าชนิดหนึ่งของญี่ปุ่นที่มักกลั่นจากข้าวบาร์เลย์ มันเทศ หรือข้าว ปกติมีปริมาณแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 25 จึงแรงกว่าสาเก ซึ่งทำให้ได้รับการขนานนามว่า "วอดกาแห่งญี่ปุ่น" โชจูมีต้นกำเนิดมาจากเกาะคีวชู ปัจจุบันมีการผลิตโชจูทั่วประเทศญี่ปุ่น โชจูสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือแบบโค และแบบอตสึ โชจูแบบโคจะถูกกลั่นหลายครั้งจนทำให้รสชาติที่เจือปนหายไป มีแอลกอฮอล์ไม่เกินร้อยละ 36 ส่วนแบบอตสึจะถูกกลั่นเพียงครั้งเดียวทำให้เหลือกลิ่นเฉพาะของวัตถุดิบที่ใช้ มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกินร้อยละ 45.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโชจู · ดูเพิ่มเติม »

โมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่น

มดูล JEM ขององค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น บนสถานีอวกาศนานาชาติ โมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่น (Japanese Experiment Module หรือ JEM) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อเรียกว่า โมดูลคิโบ เป็นโมดูลด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นบนสถานีอวกาศนานาชาติ พัฒนาขึ้นโดยองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA) เป็นโมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติแบบโมดูลเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชิ้นส่วน 2 ชิ้นแรกของโมดูลนำส่งขึ้นโดยกระสวยอวกาศเที่ยวบิน STS-123 และ STS-124 ชิ้นที่ 3 ซึ่งเป็นชิ้นสุดท้ายนำขึ้นโดยเที่ยวบิน STS-127 โมดูลคิโบมีส่วนประกอบหลัก 4 ส่วนได้แก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโมดูลห้องทดลองของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โรคฝีดาษ

ฝีดาษตามลำตัวของผู้ป่วย การระบาดของฝีดาษในยุโรป การติดเชื้อฝีดาษของชาวอเมริกันอินเดียนจากชาวยุโรป ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ หรือ ไข้หัว (Smallpox) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก small poxvirus (Variolar) มีลักษณะเฉพาะคือมีผื่นขึ้นตามตัว และมีอาการทั่วไปรุนแรง โรคนี้ระบาดในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถานและเอธิโอเปียเมื่อปี พ.ศ. 2519 สำหรับประเทศไทยมีการบันทึกไว้ว่าระบาดครั้งสุดท้ายปี พ.ศ. 2504 องค์การอนามัยโลกได้เลิกฉีดวัคซีนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโรคฝีดาษ · ดูเพิ่มเติม »

โอกินาวะ

อกินาวะ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโอกินาวะ · ดูเพิ่มเติม »

โอริกามิ

นกกระเรียนโอริกามิ การพับนกกระเรียน โอริกามิ (จากคำว่า โอริ แปลว่า "การพับ" และ กามิ แปลว่า "กระดาษ") เป็นศิลปะในการพับกระดาษ เพื่อสร้างสรรค์รูปทรงหรือวัตถุต่างๆ ขึ้นมาจากการพับกระดาษ โดยทั่วไปการพับกระดาษจะเริ่มจากกระดาษแผ่นสี่เหลี่ยม ซึ่งอาจใช้สีเดียวกัน สีต่างกัน หรือกระดาษที่มีลวดลายต่างๆ และทำการพับทบไปจนเป็นรูปร่าง ซึ่งส่วนมากจะไม่มีการตัดกระดาษ สำหรับการประดิษฐ์ที่มีการตัดระหว่างการทำจะเรียกว่า คิริกามิ (切り紙) เชื่อกันว่าการทำโอริกามิมีมาตั้งแต่ยุคเอโดะ (ค.ศ. 1603-1867).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโอริกามิ · ดูเพิ่มเติม »

โอดะ โนบูนางะ

อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโอดะ โนบูนางะ · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุ

ทโฮกุ แปลตรงตัวว่า "ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ" เป็นอนุภูมิภาคของญี่ปุ่น ดินแดนที่ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสี่ทางเหนือของเกาะฮนชู มีชื่อเดิมว่า "มิชิโนะกุ" แปลว่าถนนภายในหรือถนนสายแคบ เนื่องจากในอดีตนั้นยากต่อการเข้าถึง ด้วยภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาขรุขระ และฤดูหนาวอันโหดร้าย โทโฮกุเป็นดินแดนที่ยังคงธรรมชาติอันสวยงาม และเป็นแหล่งของน้ำพุร้อนจำนวนนับไม่ถ้วน นอกจากนั้น โทโฮกุยังเป็นดินแดนแห่งตำนานเรื่องเล่าขานมากมาย และเป็นแห่งสุดท้ายที่ยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิตขนบประเพณีญี่ปุ่นโบราณอยู่ รวมถึงหัตถกรรมพื้นเมืองที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ ภายใต้ความเจริญและอารยธรรมสมัยใหม่ที่หลั่งไหลเข้ามา อนุภูมิอากาศในโทโฮกุ ถูกแบ่งโดยเทือกเขาที่เป็นแนวยาวจากเหนือลงมาเป็นสองด้าน คือทางด้านฝั่งทะเลญี่ปุ่น จะมีอากาศหนาวเย็น หิมะตกหนักในฤดูหนาว ในขณะที่ทางด้านฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกจะมีอากาศอบอุ่นกว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในแถบโทโฮกุ ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 9 ล้านคน ลดลงจากปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโทโฮกุ · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้า

ตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน เป็นบริษัทผลิตรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองโทะโยะตะ จังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น ในเดือนมีนาคม 2557 โตโยต้ามีพนักงานในเครือบริษัททั่วโลกรวมแล้วกว่า 338,875 คน และในเดือนพฤศจิกายน 2557 ได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 12 บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลกวัดตามรายได้ และตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา โตโยต้ายังเป็นบริษัทผลิตรถยนต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (วัดตามจำนวนคันผลิต) แซงหน้า โฟล์กสวาเกน กรุ๊ป และ เจเนรัลมอเตอร์ ซึ่งในปีนั้นโตโยต้ารายงานว่าได้ผลิตรถยนต์คันที่ 200 ล้าน นับแต่ก่อตั้งบริษัท นอกจากนี้ โตโยต้ายังเป็นบริษัทแรกของโลกที่มีกำลังการผลิตรถยนต์เกิน 10 ล้านคันต่อปี และโตโยต้า ยังเป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดทุนญี่ปุ่นที่ใหญ่และมีรายได้มากที่สุดของญี่ปุ่น ห่างจากอันดับสองคือ SoftBank กว่าสามเท่าตัว โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน ได้รับการก่อตั้งโดย คิอิชิโร โทะโยะดะ ใน..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโตโยต้า · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โซบะ

ซบะ เป็นอาหารญี่ปุ่นที่ได้ความนิยมชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งบักวีต (ไม่ใช่แป้งสาลี) มีลักษณะเป็นเส้นยาว สีน้ำตาล โซบะนิยมรับประทานทั้งแบบเย็น จุ่มกับซอส และแบบร้อนในซุป ซึ่งมีชื่อเรียกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวิธีนำเส้นโซบะไปประกอบอาหารนั้น นอกจากนี้ ในประเทศญี่ปุ่นเองยังนิยมเรียกอาหารเส้นที่เป็นเส้นขนาดเล็กว่า โซบะ อีกด้วย ซึ่งต่างจากอูดงซึ่งมีลักษณะเส้นหนา ทำจากแป้งสาลี โซบะมีขายในหลากหลายสถานที่ ตั้งแต่ในร้านอาหารจานด่วนราคาถูกตามสถานีรถไฟต่าง ๆ ไปจนถึงร้านอาหารหรูหราราคาแพง นอกจากนี้ เส้นโซบะยังมีขายแบบเส้นแห้งและบะหมี่สำเร็จรูปตามซูเปอร์มาร์เก็ตอีกด้วย ในประเทศไทย มักเรียกเส้นบะหมี่ฮกเกี้ยนซึ่งมีลักษณะเส้นใหญ่ หนา สีเหลืองว่า เส้นโซบะ เนื่องจากร้านอาหารในประเทศไทยนิยมนำบะหมี่ชนิดนี้มาผัด คล้ายอาหารญี่ปุ่นที่เรียกว่า ยากิโซ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโซบะ · ดูเพิ่มเติม »

โซนี่

ซนี่คอร์ปอเรชัน (Sony Corporation) หรือ บริษัท โซนี่ มหาชน จำกัด เป็นกลุ่มบริษัทข้ามชาติของญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในแขวงมินะโตะ กรุงโตเกียว ผลิตสินค้าและบริการหลายประเภท อาทิ เครื่องใช้ไฟฟ้า, เครื่องเล่นเกม และ บริการทางการเงิน ทั้งนี้ในปี 2015 โซนี่ได้รับการจัดอันดับเป็นบริษัทที่มีรายได้มากเป็นอันดับที่ 116 ของโลก ในรายการจัดอันดับ Fortune Global 500 และยังเป็นผู้ผลิตโทรทัศน์รายใหญ่เป็นอับดับสี่ของโลกรองจาก ซัมซุง, แอลจี และ ทีซีแอล โซนี่คอร์ปอเรชันในฐานะบริษัทหนึ่งในเครือโซนี่ รับผิดชอบสายงานธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งภายในเครือโซนี่ได้แบ่งสายงานออกเป็นสี่สายธุรกิจด้วยกัน คือ สายธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า (รวมถึงวีดีโอเกม, บริการเน็ตเวิร์ก และ การแพทย์), สายธุรกิจภาพยนตร์, สายธุรกิจเพลง และ สายธุรกิจการเงิน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและโซนี่ · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและไวโอลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เบสบอล

Busch Stadium) ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี เบสบอล (Baseball) เป็นกีฬาประเภททีม โดยผู้เล่นที่รับ ที่เรียกว่า ผู้ขว้าง หรือ พิทเชอร์ (pitcher) จะขว้างลูกเบสบอล ซึ่งมีขนาดประมาณเท่ากำปั้น มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2นิ้ว ให้ผู้เล่นทีมรุก ซึ่งเรียกว่า ผู้ตี หรือ แบตเตอร์ (batter) นั้นทำการตีลูกด้วยไม้เบสบอล (bat)ซึ่งทำจากไม้หรืออะลูมิเนียม.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเบสบอล · ดูเพิ่มเติม »

เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค

ือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค หรือ ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เป็นประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศเยอรมนีซึ่งเริ่มร่างเมื่อ ค.ศ. 1881 (พ.ศ. 2424) และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) นับเป็นโครงการขนาดมหึมาและไม่ปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์โลกโครงการหนึ่ง กับทั้งกลายมาเป็นแม่แบบของประมวลกฎหมายแพ่งแห่งประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ระบบซีวิลลอว์ อาทิ โปรตุเกส จีนแผ่นดินใหญ่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน กรีซ ยูเครน และรวมถึงไทย เองด้ว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชิโกกุ

กกุ เป็นเกาะที่เล็กที่สุดในบรรดาสี่เกาะหลักของญี่ปุ่น มีพื้นที่ 18,783 ตารางกิโลเมตร ถูกล้อมรอบ 3 ด้านด้วยเกาะฮนชูและเกาะคีวชู ตอนกลางของเกาะมีภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,000-2,000 เมตร มีประชากรประมาณ 4.2 ล้านคนอาศัยอยู่กระจายตามที่ลุ่มชายฝั่งทะเล หากเทียบกับอีก 3 เกาะหลักของญี่ปุ่นแล้ว ชิโกกุมีความเงียบสงบและยังคงบรรยากาศแบบธรรมชาติไว้ได้ โดยที่ไม่ถูกกลืนโดยวัฒนธรรมสมัยใหม่ ชิโกกุถูกแบ่งออกเป็นตอนเหนือและตอนใต้โดยภูเขาสูงชัน ทางเหนือมีปริมาณน้ำฝนน้อยและมีเมืองอุตสาหกรรมอยู่ตลอดแนว ส่วนทางใต้ด้านมหาสมุทรแปซิฟิกนั้นจะเป็นป่ารก อากาศจะอบอุ่น ปริมาณน้ำฝนมีมาก อากาศบนเกาะจะอบอุ่นสบายในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ และช่วงเริ่มฤดูใบไม้ร่วง นอกจากอุตสาหกรรมผลิตเหล็กและเคมีแล้ว การประมงกับการเกษตรกรรมแบบเร่งผลผลิตทำกันอย่างแพร่หลาย บนที่ราบของเมืองโคจิชายฝั่งทะเลแปซิฟิก มีการมีการทำไร่ผลไม้ และการปลูกผักในเรือนกระจก เกาะชิโกกุถูกเชื่อมต่อกับเกาะฮนชูด้วยสะพานเซโตโอฮาชิ ซึ่งเป็นสะพานหกสาย ใช้เกาะเล็ก ๆ 5 แห่งเป็นจุดเชื่อมต่อ ด้วยความยาวถึง 12.3 กิโลเมตร ทำให้สะพานแห่งนี้ เป็นหนึ่งในสะพานสองชั้นที่มีความยาวมากกว่าสะพานแห่งอื่น ๆ ในโลกเก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเกาะชิโกกุ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฮนชู

นชู (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของประเทศญี่ปุ่น มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่าเกาะอังกฤษเล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะGeography of the World. Dorling kindersley: London, 2003.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเกาะฮนชู · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเกาะคีวชู · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซาฮาลิน

เกาะซาฮาลิน (ภาษารัสเซีย: Сахали́н) เป็นเกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 45° 50’ และ 54° 24' เหนือ โดยตั้งอยู่เหนือเกาะฮกไกโดของญี่ปุ่นเพียงเล็กน้อย เกาะซาฮาลินเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของรัสเซียและครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคว้นซาฮาลิน ในปี ค.ศ. 1905 เกาะซาฮาลินถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือเหนือและใต้ โดยเกาะซาฮาลินใต้นั้นถูกยึดครองโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งในปี ค.ศ. 1907 ญี่ปุ่นได้จัดตั้งจังหวัดคาราฟูโตะ ขึ้นบนเกาะซาฮาลินใต้ โดยมีเมืองเอกคือ โอโตมาริ ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เกาะซาฮาลินทั้งหมดจึงตกเป็นของสหภาพโซเวียต และเป็นของรัสเซียในปัจจุบัน เกาะซาฮาลินเป็นที่อยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ท้องถิ่นหลายกลุ่ม กลุ่มที่สำคัญและเป็นที่รู้จักทั่วไปคือชาวไอนุ ซึ่งปัจจุบันชาวไอนุส่วนใหญ่ได้ย้ายไปอยู่ในเกาะฮอกไกโด หลังจากที่ญี่ปุ่นต้องสูญเสียเกาะซาฮาลินให้กับโซเวียต ซาฮาลิน หมวดหมู่:เกาะในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:รัสเซียตะวันออกไกล หมวดหมู่:ซาฮาลินโอบลาสต์.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเกาะซาฮาลิน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะโอกินาวะ

เกาะโอกินาวะ (ウチナー อุชินา;; คุนิงะมิ: ฟุชินา) ทางตอนใต้ของเกาะคีวชู อยู่ในกลุ่มหมู่เกาะรีวกีวซึ่งประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ที่อยู่กระจัดกระจายในบริเวณกว้าง มีหาดทรายขาวสวย น้ำทะเลสีคราม และปะการังที่ยังสมบูรณ์ ทำให้โอกินาวะเป็นแหล่งท่องเที่ยวพักร้อนในฝันของชาวญี่ปุ่น โอกินาวะ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเกาะโอกินาวะ · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เยน

แบงก์ 1000 เยน โดยมีรูปของ นัทซึเมะ โซเซกิ เยน (ญี่ปุ่น: 円, สัญลักษณ์ ¥, รหัส ISO 4217 JPY) เป็นสกุลเงินของประเทศญี่ปุ่น มีหน่วย่อยคือ cen.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเยน · ดูเพิ่มเติม »

เวลามาตรฐานญี่ปุ่น

วลามาตรฐานญี่ปุ่น (JST; 日本標準時 หรือ 中央標準時) เป็นเขตเวลามาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น และเร็วกว่า UTC 9 ชั่วโมง ยกตัวอย่างเช่น หาก UTC เป็นเวลาเที่ยงคืน (00:00) ประเทศญี่ปุ่นจะเป็นเวลา 09:00 ประเทศญี่ปุ่นไม่มีการใช้เวลาออมแสง ถึงแม้ว่าระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเวลามาตรฐานญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เหล็ก

หล็ก (Iron ออกเสียงว่า ไอเอิร์น /ˈaɪ.ərn/) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ มีสัญลักษณ์ธาตุ Fe และหมายเลขอะตอม 26 เหล็กเป็นธาตุโลหะทรานซิชันหมู่ 8 และคาบ 4 สัญลักษณ์ Fe ย่อมาจาก ferrum ในภาษาละติน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

เหล็กกล้า

นเหล็ก สายเคเบิลที่ทำจากเหล็กกล้า เหล็กกล้า (steel) คือ เหล็ก (สัญลักษณ์ทางเคมี: Fe) ที่ผ่านกรรมวิธีเพิ่มสารอื่นๆเข้าไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของเหล็กให้ดีขึ้น เป็นโลหะผสมที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็กที่มีปริมาณคาร์บอนอยู่ระหว่าง 0.2 – 2.04% โดยน้ำหนักขึ้นกับคุณภาพ คาร์บอนเป็นวัสดุผสมที่ลดต้นทุนของเหล็กแต่ก็มีการใช้ธาตุอื่นๆ เช่น แมงกานีส โครเมียม วานาเดียม และทังสเตน คาร์บอนและธาตุอื่นๆเป็นตัวทำให้แข็ง การเปลี่ยนปริมาณธาตุที่ผสมในโลหะผสมที่พบในเหล็กกล้า มีส่วนในการควบคุมคุณภาพทั้งด้านความแข็ง การรีดเป็นแผ่นได้ และความตึงของเหล็กกล้าที่ได้ เหล็กกล้าที่มีคาร์บอนมากขึ้นจะแข็งแกร่งและมีความแข็งมากกว่าเหล็ก แต่จะเปราะ ค่าสูงสุดในการละลายของคาร์บอนในเหล็กเป็น 2.14% โดยน้ำหนัก เกิดขึ้นที่อุณหภูมิ 1149 องศาเซลเซียสในการอบใช้อุณหภูมิประมาณ950 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นที่สูงกว่านี้หรือหรืออุณหภูมิต่ำกว่านี้จะเกิดลักษณะเป็นซีเมนต์ โลหะผสมที่มีคาร์บอนมากจะเป็นเหล็กที่มีความแข็งมาก เพราะมีจุดหลอมเหลวต่ำ และมีความแข็ง เหล็กกล้าต่างจากเหล็กบริสุทธิ์ที่มีอะตอมของธาตุอื่นน้อยมาก แต่มีกากแร่ 1-3% โดยน้ำหนักในรูปของอนุภาคอยู่ในทิศทางหนึ่ง ซึ่งมีความทนทานกว่าเหล็กกล้า และโค้งงอง่ายกว่าแบ่งเป็น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเหล็กกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นทีที โดโคโม

ริษัทเอ็นทีที โดโคโม อิงค์,, เป็นผู้นำในการให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ในญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ซันโนะปาร์คทาวเวอร์ เขตจิโยะดะ เมืองโตเกียว.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเอ็นทีที โดโคโม · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออก

แผนที่เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ประมาณ 6,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 15% ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย ประเทศซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ

อเชียนคัพ (AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับตำแหน่งแชมป์เปียนของเอเชียนคัพ การจัดการแข่งขันจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และจัดต่อเนื่องทุก 4 ปี จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเอเชียนคัพ · ดูเพิ่มเติม »

เฮอังเกียว

''Heian-kyō'' เฮอังเคียว หรือ เฮอังเกียว คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคังมุ ในจังหวัดเคียวโตะ หรือ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ในปี พ.ศ. 2411.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเฮอังเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เฮโจเกียว

'''ประตูซูซากุ''' ซึ่งรัฐบาลญี่ปุ่นได้ก่อสร้างขึ้นมาใหม่ เฮโจเกียว หรือ เฮเซเกียว (平城京) เป็นเมืองหลวงโบราณของประเทศญี่ปุ่น อีกนัยหนึ่งก็คือเมืองหลวงในยุคนะระนั่นเอง ตั้งอยู่ใน จังหวัดนะระ ประเทศญี่ปุ่น มีรูปทรงเป็นแบบ เวียง คือรูปทรงสี่เหลี่ยมพื้นผ้าตามแบบจีน หรือ ตามแบบที่นิยมสร้างกันในอาณาจักรล้านนา และ พม่า ซึ่งเฮโจเกียวนี้ได้นำแบบแผนมาจากเมืองซีอานประเทศจีน เมืองหลวงของจีนในขณะนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเฮโจเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เจลีก

ลีก เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบัน ฟุตบอลลีกอาชีพแห่งประเทศญี่ปุ่น แบ่งออกเป็น 3 ดิวิชั่น คือ เจลีก ดิวิชัน 1, เจลีก ดิวิชัน 2 และ เจลีก ดิวิชัน 3 ปัจจุบัน ผู้ให้การสนับสนุนหลักของเจลีกคือ บริษัทประกันภัย "เมจิ ยะสึดะ ไลฟ์" ดังนั้น ชื่ออย่างเป็นทางการของเจลีกจึงเป็น เมจิ ยะสึดะ เจลีก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเจลีก · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโชโตะกุ

้าชายโชโตะกุ (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1115 – 8 เมษายน พ.ศ. 1165) รู้จักกันในพระนามเจ้าชายอุมะยะโดะ หรือเจ้าชายคะมิสึยะ เป็นผู้ปกครองในยุคอะซุกะแห่งประเทศญี่ปุ่น อยู่ภายใต้อำนาจการปกครองของจักรพรรดินีซุอิโกะ พระองค์เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิโยเมและเจ้าหญิงอะนะโนะเบะ โนะ ฮะชิฮิโตะ พระบิดาและพระมารดาเป็นพระญาติของตระกูลโซะกะ ซึ่งมีอำนาจมากในสมัยนั้น และพระองค์ทรงเกี่ยวพันกับการกำจัดตระกูลโมะโนะโนะเบะอีกด้วย หลักฐานสำคัญที่ใช้อ้างอิงพระประวัติและพระกรณียกิจนั้นมาจากพงศาวดารญี่ปุ่นนามนิฮงโชะก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเจ้าชายโชโตะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลของญี่ปุ่น

ซง เป็นรูปแบบเขตการปกครองในประเทศญี่ปุ่นในระดับเทศบาล มีอยู่ด้วยกันหลายระดับตั้งแต่ระดับนคร, เมืองศูนย์กลาง, เมืองพิเศษ, เมือง, ตำบล, หมู่บ้าน.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเทศบาลของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เท็มปูระ

210px เท็มปูระ เป็นอาหารญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักมากอย่างหนึ่ง ทำจากของทะเลและผักที่นำไปชุบแป้งที่ปรุงแบบญี่ปุ่นแล้วนำไปทอ.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเท็มปูระ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสเตรตส์ไทมส์

อะสเตรตส์ไทมส์ (The Straits Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษของประเทศสิงคโปร์ เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่มียอดจำหน่ายสูงสุดในสิงคโปร์ วันละ 400,000 ฉบับ ฉบับวันอาทิตย์ใช้ชื่อว่า เดอะซันเดย์ไทมส์ ปัจจุบันเดอะสเตรตส์ไทมส์เป็นส่วนหนึ่งของบริษัท สิงคโปร์เพรสโฮลดิงส์ เดอะสเตรตส์ไทมส์ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเดอะสเตรตส์ไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดจิมะ

right right right เกาะเดจิมะเป็นเกาะเทียมเล็กๆ ถูกสร้างขึ้นในอ่าวนางาซากิ เมื่อปี 1634 ด้วยการคุดคลองผ่านคาบสมุทรเล็กๆ เพื่อให้พ่อค้าชาวโปรตุเกสได้เข้ามาค้าขายและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม จนเมื่อถึงปี 1638 ชาวโปรตุเกสก็ถูกขับไล่ออกไป และพวกดัตช์ก็เข้ามาแทนที่ โดยเกาะแห่งนี้เป็นสถานที่เดียวที่ญี่ปุ่นจะสามารถรับวิทยาการและวัฒนธรรมแบบตะวันตก ในช่วงก่อนปี 1854.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเดจิมะ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องปั้นดินเผา

การปั้นเครื่องปั้นดินเผา เครื่องปั้นดินเผา ภาชนะชุดแรก ๆ ของมนุษย์นั้นคือการนำดินมาขึ้นรูปเป็นภาชนะต่าง ๆ แล้วนำไปตากแห้ง คุณสมบัติของดิน โดยเฉพาะดินเหนียวสามารถอุ้มน้ำได้ดี และเมื่อผสมเข้ากับน้ำแล้วจะทำให้ดินมีความเหนียวและสามารถที่จะปั้นหรือขึ้นรูปสามมิติ โดยไม่ต้องเพิ่มเติมวัสดุอื่นอีก คำว่า"เครื่องปั้นดินเผา"เป็นคำนามที่มีความหมายที่สื่อให้เข้าใจได้ในตัวของมันเอง (เอาดินมาปั้นแล้วก็เผา) เมื่อนำดินที่ขึ้นรูปแล้วมาให้ความร้อน ดินซึ่งประกอบด้วยผลึกในตระกูลของ "alumino silicate" จะมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานทางเคมี สารประกอบอัลคาไลน์ (alkaline) เป็นสารชนิดหนึ่งที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีกับผลึกดินที่อุณหภูมิสูง พลังงานความร้อนนี้สามารถขับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของผลึกดิน โดยจะทำให้เกิดสารประกอบลักษณะเป็น"แก้ว" สารประกอบนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวประสานอนุภาคดินที่เหลือ ซึ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้าง เข้าด้วยกัน ทำให้เนื้อวัสดุหลังการเผา (อย่างน้อยประมาณ 800 องศาเซลเซียส แล้วแต่คุณสมบัติทางเคมี) มีความคงทนแข็งแรงขึ้น สามารถคงรูปไว้ใช้เป็นภาชนะสังเคราะห์ชนิดแรกของมนุษย์ และที่ๆสำคัญมีอยู่ที่ตะนาวศรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเครื่องปั้นดินเผา · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เค็นซะบุโร โอเอะ

็นซะบุโร โอเอะ (31 มกราคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ญี่ปุ่นเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากวรรณกรรมฝรั่งเศสและอเมริกัน และทฤษฎีวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเชิงการเมือง, สังคม และปรัชญาที่รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์, ความไม่อยู่ในกรอบในแผนของสังคม (social non-conformism) และ อัตถิภาวนิยม (existentialism) โอเอะได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1994 เพราะเป็นผู้สร้างงานเขียนที่เป็น “โลกที่เกิดจากจินตนาการ ที่ชีวิตและความลึกลับรวมกันเป็นภาพพจน์อันแสดงถึงภาวะของความกระอักกระอ่วนของสถานภาพของความกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของสังคมปัจจุบัน”"an imagined world, where life and myth condense to form a disconcerting picture of the human predicament today." Yomiuri Shimbun. May 18, 2008.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเค็นซะบุโร โอเอะ · ดูเพิ่มเติม »

เค็นโด

็นโด (剣道) เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของประเทศญี่ปุ่น เค็นโด มีความหมายว่า"วิถีแห่งดาบ" มีพื้นฐานมาจากการใช้ดาบของพวกซามูไรในสมัยก่อน สืบทอดมากันประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเค็นโด · ดูเพิ่มเติม »

เต้าหู้

ต้าหู้ (''Kinugoshi tōfu'') เต้าหู้ กำเนิดมากว่า 2,000 ปีในจีนแผ่นดินใหญ่ คนจีนบางกลุ่มถือว่าเต้าหู้เป็นอาหารที่มีคุณค่าสูงที่อยู่ในความธรรมดาสามัญ คนไทยเรียกเต้าหู้เพี้ยนมาจากภาษาจีนว่า 豆腐 อ่านว่า โตวฟู คนฮกเกี้ยนเรียกว่า ต๋าวหู คนญี่ปุ่นเรียกกันว่า โทฟุ (tofu) คนอังกฤษเรียก bean curd หรือบางครั้งก็เรียกทับศัพท์ว่า tofu เช่นกัน ส่วนชาวฝรั่งเศสเรียกว่า fromage de soja (ชีสถั่วเหลือง).

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเต้าหู้ · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์เชื้อเพลิง

Toyota FCHV ใช้เซลล์เชื้อเพลิง proton-conducting fuel cell) เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเคมีจากเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งให้เป็นกระแสไฟฟ้าผ่านทางปฏิกิริยาเคมีของไอออนของไฮโดรเจนประจุบวกกับอ๊อกซิเจนหรือตัวทำอ๊อกซิเดชันอื่น เซลล์เชื้อเพลิงแตกต่างจากแบตเตอรี่ที่ว่ามันต้องการแหล่งจ่ายเชื้อเพลิงและอ๊อกซิเจนหรืออากาศอย่างต่อเนื่องเพื่อความยั่งยืนของปฏิกิริยาเคมี ในขณะที่ในแบตเตอรี่สารเคมีภายในจะทำปฏิกิริยาต่อกันเพื่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า (emf) เซลล์เชื้อเพลิงสามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องนานเท่าที่เชื้อเพลิงและอ๊อกซิเจนหรืออากาศยังคงถูกใส่เข้าไป ไม่เหมือนกับแบตเตอรี่ที่จะหยุดจ่ายกระแสไฟฟ้าถ้าสารเคมีหมดอายุการใช้งาน เซลล์เชื้อเพลิงครั้งแรกถูกคิดค้นในปี 1838 เซลล์เชื้อเพลิงเชิงพาณิชย์ครั้งแรกถูกใช้มากว่าหนึ่งศตวรรษต่อมาในโครงการอวกาศของ นาซ่า ที่จะผลิตพลังงานให้กับดาวเทียมและแคปซูลอวกาศ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเซลล์เชื้อเพลิงถูกนำมาใช้ในงานที่หลากหลายอื่น ๆ เซลล์เชื้อเพลิงถูกใช้สำหรับพลังงานหลักและพลังงานสำรองเพื่อการพาณิชย์ อุตสาหกรรมและอาคารที่อยู่อาศัยและในพื้นที่ห่างไกลและไม่สามารถเข้าถึงได้ พวกมันยังถูกใช้เพื่อให้พลังงานกับยานพาหนะเซลล์เชื้อเพลิง รวมทั้งรถยก, รถยนต์, รถโดยสาร, เรือ, รถจักรยานยนต์และเรือดำน้ำ เซลล์เชื้อเพลิงมีอยู่หลายชนิด ทุกชนิดประกอบด้วยแอโนด แคโทดและอิเล็กโทรไลต์ อิเล็กโทรไลต์จะยอมให้ไอออนไฮโดรเจนประจุบวก (หรือโปรตอน) สามารถเคลื่อนที่ได้จากแอโนดไปแคโทดของเซลล์เชื้อเพลิง แอโนดและแคโทดประกอบด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาที่ทำให้เชื้อเพลิงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นที่สร้างไอออนไฮโดรเจนประจุบวกและอิเล็กตรอน ไอออนไฮโดรเจนจะถูกดึงผ่านอิเล็กโทรไลต์หลังจากการเกิดปฏิกิริยาและเคลื่อนที่ไปยังแคโทด ในขณะเดียวกันอิเล็กตรอนที่เหลือจากอะตอมของไฮโดรเจนจะถูกดึงจากแอโนดไปยังแคโทดผ่านวงจรภายนอก ทำให้เกิดกระแสตรง ที่แคโทดไอออนไฮโดรเจน อิเล็กตรอนและออกซิเจนทำปฏิกิริยากันก่อตัวเป็นน้ำ เนื่องจากความแตกต่างหลักระหว่างเซลล์เชื้อเพลิงในแต่ละประเภทคืออิเล็กโทรไลต์ เซลล์เชื้อเพลิงจึงถูกแยกประเภทตามชนิดของอิเล็กโทรไลต์ที่พวกมันใช้ และแยกตามระยะเวลาเริ่มต้นตั้งแต่ 1 วินาทีสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงเยื่อหุ้มแลกเปลี่ยนโปรตอน (solid oxide fuel cell (SOFC)) เซลล์เชื้อเพลิงเดี่ยว ๆ จะผลิตกระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันขนาดค่อนข้างเล็ก ประมาณ 0.7 โวลต์ ดังนั้นเซลล์จึงต้องวาง "ซ้อน" กัน หรือถูกวางเรียงกันเป็นแถว เพื่อที่จะสร้างแรงดันเพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการของการใช้งาน นอกเหนือไปจากกระแสไฟฟ้า เซลล์เชื้อเพลิงยังผลิตน้ำ ความร้อนและ(ขึ้นอยู่กับแหล่งเชื้อเพลิง)ปริมาณขนาดเล็กมากของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ และก๊าซอื่นๆ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของเซลล์เชื้อเพลิงโดยทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 40-60% หรือสูงขึ้นถึง 85% ในการผลิตแบบความร้อนร่วม (cogeneration) ถ้าความร้อนที่เหลือทิ้งถูกนำกลับมาใช้งานอีก ตลาดของเซลล์เชื้อเพลิงกำลังเจริญเติบโตและบริษัท Pike Research ได้ประมาณการว่าตลาดเซลล์เชื้อเพลิงอยู่กับที่จะสูงถึง 50 GW ในปี 2020 สารตั้งต้นที่ใช้โดยทั่วไปในเซลล์เชื้อเพลิงได้แก่ ก๊าซไฮโดรเจนที่ด้านแอโนด และก๊าซออกซิเจนที่ด้านแคโทด (เซลล์ไฮโดรเจน) โดยปกติแล้วเมื่อมีสารตั้งต้นไหลเข้าสู่ระบบ สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นก็จะไหลออกจะระบบไปด้วย ดังนั้นการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงจึงดำเนินต่อไปได้เรื่อยๆ ตราบเท่าที่เราสามารถควบคุมการไหลได้ เซลล์เชื้อเพลิงมักจะถูกมองว่าเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงและปราศจากมลพิษ เมื่อเปรียบเทียบกับเชื้อเพลิง เช่น มีเทนและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งทำให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ ผลิตภัณฑ์อย่างเดียวที่เกิดจากการทำงานของเซลล์เชื้อเพลิงคือน้ำ อย่างไรก็ตามยังมีความกังวลอยู่ในขั้นตอนการผลิตก๊าซไฮโดรเจนซึ่งใช้พลังงานมาก การผลิตไฮโดรเจนจำเป็นต้องใช้วัตถุดิบที่มีไฮโดรเจน เช่น น้ำ หรือ เชื้อเพลิงอื่นๆ นอกจากนั้นยังต้องใช้ไฟฟ้าซึ่งก็ก็ผลิตมาจากแหล่งพลังงานแบบดั้งเดิม ได้แก่ น้ำมัน ถ่านหิน หรือแม้แต่พลังงานนิวเคลียร์ ในขณะที่พลังงานทางเลือกเช่น ลมและพลังงานแสงอาทิตย์ ก็อาจสามารถใช้ได้ แต่ราคาก็ยังสูงมากในปัจจุบัน ดังนั้นเราจึงยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงเป็นอิสระจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ จนกว่าเราจะสามารถหาวิธีการผลิตไฮโดรเจนปริมาณมากด้วยพลังงานทดแทนหรือพลังงานนิวเคลียร.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเซลล์เชื้อเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

เซเว่น อีเลฟเว่น

ร้านสะดวกซื้อ เซเว่น-อีเลฟเว่น เซเว่น-อีเลฟเว่น (7-Eleven) เป็นแฟรนไชส์ของร้านสะดวกซื้อ จำหน่ายสินค้าเครื่องใช้ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มีสาขาอยู่ทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและเซเว่น อีเลฟเว่น · ดูเพิ่มเติม »

.jp

.jp เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2529.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและ.jp · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ธันวาคม

วันที่ 7 ธันวาคม เป็นวันที่ 341 ของปี (วันที่ 342 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 24 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและ7 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศญี่ปุ่นและ9 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Japanญี่ปุ่นอาทิตย์อุทัยแดนอาทิตย์อุทัยเกาะญี่ปุ่น日本🗾

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »