โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาร์ สยาม

ดัชนี อาร์ สยาม

อาร์ สยาม เป็นบริษัทในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) โดยค่าย อาร์ สยาม ได้แยกตัวจาก อาร์เอส โปรโมชั่น มาเป็นค่ายเพลงประเภทแนวลูกทุ่ง, หมอลำ และเพลงพื้นบ้าน โดยได้เปิดตัวในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2545.

25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พิสิษฐ์ ฐิติธนพันธ์กรุงเทพสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์หมอลำหนู มิเตอร์อาร์ สยามอาร์เอสถนนลาดพร้าวท็อปไลน์มิวสิคเพลงลูกทุ่งเขตจตุจักร1 กรกฎาคม1 กันยายน31 ธันวาคม6 ธันวาคม

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พิสิษฐ์ ฐิติธนพันธ์

ษฐ์ ฐิติธนพันธ์ หรือ โต จรัล โปรดิวเซอร์เพลงลูกทุ่ง และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทอาร์ สยาม ในเครือ บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: อาร์ สยามและพิสิษฐ์ ฐิติธนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: อาร์ สยามและกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

รชัย เชษฐโชติศักดิ์ หรือที่คนในวงการมักจะเรียกว่า เฮียฮ้อ เป็นประธานกรรมการบริหารบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: อาร์ สยามและสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

หมอลำ

หมอแคนกำลังบรรเลงเพลงให้กับหมอลำ การประชันกันของหมอลำซิ่งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย หมอลำ (อีสาน: หมอลำ)(ลาว:ໝໍລຳ) เป็นรูปแบบของเพลงลาวโบราณในประเทศลาวและภาคอีสานของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายอย่าง ตามลักษณะทำนองของการลำ เช่น ลำเต้ย ลำพื้น ลำกลอน ลำเรื่อง ลำเรื่องต่อกลอน ลำเพลิน ลำซิ่ง รวมทั้ง ลำตัดในภาคกลางก็จัดได้ว่าเป็นหมอลำประเภทหนึ่ง คำว่า "หมอลำ" มาจากคำ 2 คำมารวมกัน ได้แก่ "หมอ" หมายถึง ผู้มีความชำนาญ และ "ลำ" หมายถึง การบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองอันไพเราะ ดังนั้น หมอลำ จึงหมายถึง ผู้ที่มีความชำนาญในการบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองเพลง.

ใหม่!!: อาร์ สยามและหมอลำ · ดูเพิ่มเติม »

หนู มิเตอร์

หนู มิเตอร์ มีชื่อจริงว่า สร่างศัลย์ เรืองศรี เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ที่ จังหวัดลพบุรี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ทำงานในวงการเพลง ด้วยการเป็นโปรดิวเซอร์ แต่งเพลง และมือกีตาร์ จนได้รับฉายาว่า กีตาร์มิเตอร์ เนื่องจากโปรดิวเซอร์มักจะตะโกนสั่งว่า "กดมิเตอร์เลยหนู" เนื่องจากในสมัยนั้น กรุงเทพฯเพิ่งจะมีรถแท็กซี่มิเตอร์เป็นครั้งแรก (ปี พ.ศ. 2535) หนู มิเตอร์ทำเพลงหลากหลายแนว ทั้งป็อป, ร็อก และลูกทุ่ง มีผลงานการเป็นโปรดิวเซอร์ ให้กับศิลปินในสังกัดอาร์. เอส. โปรโมชั่น เช่น ปฏิวัติ เรืองศรี ในปี พ.ศ. 2537 หนู มิเตอร์ ได้ออกอัลบั้มของตัวเองเป็นชุดแรก ชื่อ "นิราศป่าปูน" กับค่ายรถไฟดนตรี เป็นเพลงแนวลูกทุ่งเพื่อชีวิต ได้รับความนิยมทันที เพลงที่ได้รับความนิยม เช่น ข้างหลังภาพ เป็นต้น ซึ่งเพลงในอัลบั้มนิราศป่าปูน มีผู้แต่งเนื้อร้อง/ทำนอง เกือบทุกเพลงโดย แพงคำ(ผดุง) ป้องจันลา ยกเว้นเพลง "ขอหมอนใบนั้น ที่เธอฝันยามหนุน" ซึ่งแต่งคำร้อง-ทำนองโดย หนู มิเตอร์ จากนั้นก็ได้ออกตามมาอีกหลายอัลบั้ม เช่น "แด่เธอผู้เป็นแรงใจ", "เพลงรักจากใจ" เป็นต้น มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น พบรักปากน้ำโพ, หนุ่มบ้านไกล, ดาวในฝัน หนู มิเตอร์ ยังถือว่าเป็นมือกีตาร์รุ่นเดียวกันกับ ณรงค์ เดชะ วงสเตอ อีกด้วย หนู มิเตอร์ ยังได้ร่วมทำงานเพลงกับศิลปินอีกหลายคน หลายวง เช่น ธนพล อินทฤทธิ์ ในปี พ.ศ. 2537 ในชุด "ทีของเสือ", คาราบาว ในปี พ.ศ. 2538 ในชุด "15 ปี คาราบาว หากหัวใจยังรักควาย" ด้วยการเป่าขลุ่ย และเล่นกีตาร์ รวมทั้งเล่นกีตาร์ให้อิทธิ พลางกูร ในปี พ.ศ. 2539 อัลบั้ม "อิทธิ 6 ปกขาว", เทียรี่ เมฆวัฒนา ในปี พ.ศ. 2546 ในชุด "จักรวาล" ในฐานะมือกีตาร์ ปัจจุบัน นอกจากทำงานดนตรีแล้ว ยังเป็นผู้บริหารบริษัท มีดี เร็คคอร์ด ซึ่งมีที่มาจากภาษาอังกฤษว่า มีเดี่ยม (Medium) แปลว่า กลาง ๆ โดยเจ้าตัวอธิบายว่า เป็นบริษัททำเพลงเพื่อชีวิต เป็นเพลงซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างสตริงกับลูกทุ่ง ในสังกัดของ อาร์.เอส.โปรโมชั่น ต้องประชุม พูดคุยกับตัวนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ เพื่อให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ มีดีสมชื่อ และที่สำคัญ ต้องไม่ให้ซ้ำกับคนอื่น ต้องสร้างเอกลักษณ์ของตัวเอง ดูแลบัญชี ประชาสัมพันธ์ และทำดนตรีด้วยตัวเองทั้งหม.

ใหม่!!: อาร์ สยามและหนู มิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ สยาม

อาร์ สยาม เป็นบริษัทในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) โดยค่าย อาร์ สยาม ได้แยกตัวจาก อาร์เอส โปรโมชั่น มาเป็นค่ายเพลงประเภทแนวลูกทุ่ง, หมอลำ และเพลงพื้นบ้าน โดยได้เปิดตัวในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: อาร์ สยามและอาร์ สยาม · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอส

ริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) (RS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:RS) คือผู้นำในธุรกิจสื่อบันเทิงครบวงจร โดยธุรกิจในปัจจุบันของกลุ่มอาร์เอสประกอบด้วย 4 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจเครื่องสำอาง ธุรกิจเพลงที่มีรายได้จาก 3 ช่องทางหลัก ทั้งการจำหน่าย Physical Product การจำหน่ายผ่านช่องทาง Digital และรายได้จากการจัดเก็บลิขสิทธิ์ ธุรกิจโชว์บิซ อันได้แก่ การจัดคอนเสิร์ตและอีเว้นท์ ให้กับทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงรายได้จากการบริหารศิลปิน ธุรกิจสื่อ ได้แก่ สื่อวิทยุ และสื่อโทรทัศน์ โดยสื่อวิทยุ ได้แก่ COOLfahrenheit 93 และ สื่อโทรทัศน์ ประกอบด้วยฟรีทีวีคือช่อง 8 และ 3 ช่องโทรทัศน์ดาวเทียม ได้แก่ สบายดี ทีวี, YOU Channel และ ช่อง 2.

ใหม่!!: อาร์ สยามและอาร์เอส · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลาดพร้าว

นนลาดพร้าว (Thanon Lat Phrao) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ห้าแยกลาดพร้าว (หรือที่นิยมเรียกว่า "ปากทางลาดพร้าว") ในพื้นที่เขตจตุจักร ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษก ผ่านพื้นที่เขตห้วยขวางในระยะสั้น ๆ เข้าพื้นที่เขตวังทองหลาง ผ่านแยกถนนโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53) ซอยลาดพร้าว 71 และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าพื้นที่ระหว่างเขตวังทองหลางกับเขตบางกะปิ ผ่านแยกถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) เข้าพื้นที่เขตบางกะปิ ผ่านสามแยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่สี่แยกบางกะปิตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยจากแยกนี้ไปจะเป็นถนนเสรีไทย ในปี..

ใหม่!!: อาร์ สยามและถนนลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ท็อปไลน์มิวสิค

ท็อปไลน์มิวสิค (Topline Music) เป็นค่ายเพลงลูกทุ่งหมอลำและชุดบันทึกการแสดงสดของคณะเสียงอิสาน บริหารค่ายโดย ทวีชัย จริยะเอี่ยมอุดม บริษัท ท็อปไลน์มิวสิค ก่อตั้งขึ้นเมื่อกลางปี พ.ศ. 2532 จากการแยกตัวของค่ายเพลงมิวสิกไลน์ (ในเครือโรต้า) โดยทำหน้าที่สร้างสรรค์ ผลิต โปรโมท และจัดจำหน่ายเพลงในนามบริษัท "ไดมอนด์ สตูดิโอ" (Diamond Studio) คนส่วนใหญ่จึงรู้จักและเรียกชื่อค่ายนี้ว่า "ท็อปไลน์-ไดมอนด์" (Topline-Diamond) นับแต่นั้นมา และจะพ่วงด้วยคำว่า อยู่แล้ว เมื่อมีการโฆษณาผลงานเพลงทุกชุด ศิลปินของค่ายเพลงท็อปไลน์ในยุคแรก เป็นศิลปินเพลงแนวสตริง เพื่อชีวิต และลูกทุ่ง อาทิ คันไถ, ดิเรก อมาตยกุล, เทียรี่ เมฆวัฒนา, พิงค์แพนเตอร์ รวมถึง พุ่มพวง ดวงจันทร์ หลังจากพุ่มพวงเสียชีวิตลง ท็อปไลน์จึงเน้นผลิตเพลงแนวลูกทุ่งและหมอลำเป็นหลักจนกระทั่งถึงปัจจุบัน มีศิลปินที่มีชื่อเสียงโดดเด่น อาทิเช่น คณะเสียงอิสาน (นำโดย นกน้อย อุไรพร, ลูกแพร อุไรพร, ปอยฝ้าย มาลัยพร, คำมอส พรขุนเดช), เฉลิมพล มาลาคำ, ยิ่งยง ยอดบัวงาม, ร็อกแสลง และ รุ่ง สุร.

ใหม่!!: อาร์ สยามและท็อปไลน์มิวสิค · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: อาร์ สยามและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: อาร์ สยามและเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: อาร์ สยามและ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาร์ สยามและ6 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กุ้ง สุธิราชหญิง ธิติกานต์อาร์สยามอุ้ม กศิญาใบเตย อาร์สยามเมอร์ซี่เพียว เพียว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »