โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ลัทธิประทับใจ

ดัชนี ลัทธิประทับใจ

''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

25 ความสัมพันธ์: พู่กันกล้องถ่ายภาพกามีย์ ปีซาโรการสื่อสารภาพถ่ายยัน สเตนวิลเลียม เทอร์เนอร์วิทยาศาสตร์ศิลปกรรมสัจนิยมสำนักงานราชบัณฑิตยสภาอัลเฟรด ซิสลีย์อากาเดมีเดโบซาร์อาร์ม็อง กีโยแม็งจักรพรรดินโปเลียนที่ 3จิตรกรรมทฤษฎีสีประเทศญี่ปุ่นปารีสปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์แมรี เคแซตแอดการ์ เดอกาโกลด มอแนเฟรเดริก บาซีย์เอดัวร์ มาแน

พู่กัน

ู่กัน(Paintbrush)หรือแปรงคือเครื่องมือสำหรับทาสีและระบายสี พู่กันนั้นผลิตโดยใช้เหล็กหนีบขนแปลงให้มีขนาดต่างๆโดยจะมีเกณฑ์แบ่งเป็นเบอร์ๆไป.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและพู่กัน · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพ

ำลองกล้องถ่ายภาพในปี 2520 - 2540 กล้องถ่ายภาพ หรือ กล้องถ่ายรูป เป็นเหมือนกล่องทึบแสง ทำหน้าที่รับแสงในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการสร้างภาพ กลไกและชิ้นส่วนต่าง ๆ ของกล้องทำงานสัมพันธ์กันในการที่จะควบคุมปริมาณแสงไปยังหน่วยรับภาพอย่างถูกต้องแม่นยำ อีกทั้งยังควบคุมความคมชัดของภาพ ตลอดจนอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการบันทึกภาพ ความหมายของการถ่ายภาพ มี 2 ประเด็น คือ 1.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและกล้องถ่ายภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ ปีซาโร

“ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1898 “Avenue de l'Opera” ค.ศ. 1898 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กามีย์ ปีซาโร (Camille Pissarro) หรือ ฌากอบ-อาบราอาม-กามีย์ ปีซาโร (Jacob-Abraham-Camille Pissarro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 - 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ความสำคัญของกามีย์ ปีซาโรมิใช่เพียงการเขียนภาพแบบอยู่ที่อิมเพรสชันนิสม์แต่ยังเป็นศิลปินคนสำคัญของขบวนการที่รวมทั้งปอล เซซาน และปอล โกแก็ง.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและกามีย์ ปีซาโร · ดูเพิ่มเติม »

การสื่อสาร

การสื่อสาร คือกระบวนการสำหรับแลกเปลี่ยนสาร รูปแบบอย่างง่ายของสาร คือ จะต้องส่งจากผู้ส่งสารหรืออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผู้รับสารหรืออุปกรณ์ถอดรหัส อาจอยู่ในรูปแบบของท่าทางสัญลักษณ์ บางอย่างอยู่ในรูปแบบของภาษา การสื่อสารเกิดจากความต้องการที่คนจะส่งข้อมูลหากัน การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารอาจจำแนกได้หลายหมวดหมู.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและการสื่อสาร · ดูเพิ่มเติม »

ภาพถ่าย

รูปแมว ภาพถ่าย ได้แก่ ภาพซึ่งได้มาจากกรรมวิธีการถ่ายภาพ คือ การใช้กล้องถ่ายภาพ วัสดุไวแสงสำหรับบันทึกภาพ และมีกระบวนการในการขยายภาพหรือการพิมพ์ภาพออกมา ภาพถ่ายจึงเกิดจากกระบวนการการถ่ายภาพ ภาพถ่ายที่ดีนั้นจะต้องสะท้อนความจริงที่เกิดขึ้น สามารถสื่อเรื่องราวได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง ภาพถ่ายในงานวารสารศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ภาพข่าว ภาพสารคดี และภาพโฆษณ.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและภาพถ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ยัน สเตน

ัน ฮาฟิกส์โซน สเตน (Jan Havickszoon Steen; ราว ค.ศ. 1626 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1679) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน ที่เต็มไปด้วยชีวิตจิตใจและอารมณ์ขัน สเตนมีชื่อเรื่องการใช้สี.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและยัน สเตน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เทอร์เนอร์

ซฟ มัลลอร์ด วิลเลียม เทอร์เนอร์ (Joseph Mallord William Turner) 23 เมษายน พ.ศ. 2318 (ค.ศ. 1775) - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) เขาทำให้เกิดขั้วความคิดเห็นของคนร่วมสมัยเหมือนศิลปินไม่กี่ท่านก่อนหน้าเขา ในต้นศตวรรษที่ 19 เขาพัฒนาภาษาภาพที่ถูกยกขึ้นมาอีกครั้งในหลายทศวรรษต่อมาโดยอิมเพรสชั่นนิสม์ แต่เทอร์เนอร์ไม่จับความประทับใจเท่านั้น เขาจับบรรยากาศของแสงและอากาศในทิวทัศน์ด้วย เขาสร้างองค์ประกอบ ซึ่งส่วนประกอบและพลังธรรมชาติให้หัวข้อเขาบ่อยๆ ภาพวาดต่างๆ ของเขา นำหน้าเวลาของพวกมัน ทำให้เขาได้รับคำวิจารณ์มุ่งร้ายจากฝ่ายตรงข้ามเขา แต่มีการชื่นชมและเคารพมากมายจากผู้นับถือและสนับสนุนเขาright.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและวิลเลียม เทอร์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปกรรม

ลปกรรม (อ่านว่า สิน-ละ-ปะ-กัม) มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ว่า สิ่งที่เป็นศิลปะ, สิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นเป็นศิลปะ ศิลปกรรม มีความหมายตรงกับวลีภาษาอังกฤษว่า "work of art" และคำภาษาอังกฤษว่า "art".

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและศิลปกรรม · ดูเพิ่มเติม »

สัจนิยม

ัจนิยม อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและสัจนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด ซิสลีย์

อัลเฟรด ซิสลีย์ (Alfred Sisley; 30 ตุลาคม ค.ศ. 1839 - 29 มกราคม ค.ศ. 1899) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศส คนสำคัญของประเทศอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ (Landscape painting).

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและอัลเฟรด ซิสลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อากาเดมีเดโบซาร์

อากาเดมีเดโบซาร์ หรือ สถาบันวิจิตรศิลป์ (Académie des Beaux-Arts, Academy of Fine Arts) หมายถึงองค์การปราชญ์ (learned society) ที่เป็นหนึ่งในห้าสถาบันแห่งฝรั่งเศส (Institut de France) อากาเดมีเดโบซาร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและอากาเดมีเดโบซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ม็อง กีโยแม็ง

"พระอาทิตย์ตกที่อีวรี" (Soleil couchant à Ivry) ค.ศ. 1873 "La Place Valhubert" ค.ศ. 1875 อาร์ม็อง กีโยแม็ง (Armand Guillaumin) ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ ฌ็อง-บาติสต์ อาร์ม็อง กีโยแม็ง (Jean-Baptiste Armand Guillaumin; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1841 - 26 มิถุนายน ค.ศ. 1927) เป็นจิตรกรลัทธิประทับใจของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 กีโยแม็งเกิดที่ปารีส และทำงานขายเสื้อผ้าชั้นในให้กับลุงขณะที่เรียนการเขียนภาพภาคค่ำ นอกจากนั้นก็ยังทำงานให้กับรถไฟรัฐบาลก่อนที่จะเข้าศึกษากับสถาบันสวิสเมื่อปี..

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและอาร์ม็อง กีโยแม็ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสี

ในวิชาทัศนศิลป์ ทฤษฎีสี เป็นการแนะแนวทางปฏิบัติสำหรับผสมสีและผลทางตาของการผสมสีบางอย่าง มีนิยาม (หรือหมวดหมู่) ของสีโดยอาศัยวงล้อสี ได้แก่ แม่สี สีทุติยภูมิและสีตติยภูมิ แม้หลักการทฤษฎีสีปรากฏครั้งแรกในงานเขียนของเลออน บัตติสตา อัลแบร์ตี (ประมาณ ค.ศ. 1435) และสมุดบันทึกของเลโอนาร์โด ดา วินชี (ประมาณ ค.ศ. 1490) ประเพณี "ทฤษฎีสี" เริ่มจริง ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เดิมเป็นการโต้เถียงแบบยึดพรรคพวกเกี่ยวกับทฤษฎีสีของไอแซก นิวตัน (Opticks, 1704) และธรรมชาติของแม่สี นับแต่นั้น มีการพัฒนาเป็นประเพณีศิลปินอิสระและมีการอ้างอย่างผิวเผินถึงการวิเคราะห์เคมีของสี (colorimetry) และทัศนวิทยาศาสตร์ (vision science) แม่สี สีทุติยภูมิและสีตติยภูมิในแบบจำลองสี RYB.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและทฤษฎีสี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์

อกุสต์ เรอนัวร์ ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ (Pierre-Auguste Renoir; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2383 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2462) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศส เป็นที่รู้กันว่าเขาคือหนึ่งในศิลปินในกลุ่มอิมเพรสชันนิสม์ที่ให้ความสำคัญกับการใช้สีสันที่สะท้อนอารมณ์ความรู้สึกของศิลปินในแบบฉับพลัน งานของเรอนัวร์ ส่วนมากจะเน้นที่สวยงาม อ่อนหวานของธรรมชาติและผู้หญิง ภาพของเรอนัวร์ยังสะท้อนวิถีชีวิตและวิพากษ์ระบบศักดินาของฝรั่งเศสช่วงปลายศตวรรษที่ 18 บิดาเป็นช่างตัดเสื้อ เป็นบุตรคนที่ 6 จาก 7 คน ต่อมาในอายุ 23 ปี เรอนัวร์สมัครใจที่จะเป็นนักวาดภาพอิสระ เรอนัวร์เป็นจิตรกรที่ประสบความลำบากอยู่มากมาย เพราะเรอนัวร์เป็นผู้ที่ชอบวาดภาพเปลือย ในช่วง 1890 เป็นต้นไป เรอนัวร์จะวาดภาพเปลือยอย่างอิสระ ในช่วงที่เป็นไขข้ออักเสบ ถึงจะนั่งรถเข็นหรือเอาพู่กันมาติดมือข้างแข็งไว้ก็ตาม เขาก็ให้คนอื่นระบายภาพให้ คำว่า "ดอกไม้" คือคำสุดท้ายที่เรอนัวร์ได้พูดก่อนที่จะเสียชีวิตในขณะที่เขาจัดแบบที่เขาเขียน เรอนัวร์ได้เสียชีวิตอย่างสงบในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2462.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

แอดการ์ เดอกา

“ภาพเหมือน” (ราวปี ค.ศ. 1854) โดย แอดการ์ เดอกา แอดการ์ เดอกา (Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 - 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่ากอร์ดอนและฟอร์จ,..

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและแอดการ์ เดอกา · ดูเพิ่มเติม »

โกลด มอแน

กลด มอแน (Claude Monet) หรือ อ็อสการ์-โกลด มอแน (Oscar-Claude Monet; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1926) giverny.org.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและโกลด มอแน · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก บาซีย์

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1865–1866) สถาบันศิลปะแห่งชิคาโก, สหรัฐอเมริกา ฌ็อง เฟรเดริก บาซีย์ (Jean Frédéric Bazille; 6 ธันวาคม ค.ศ. 1841 - 28 พฤศจิกายนน ค.ศ. 1870) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพคน.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและเฟรเดริก บาซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอดัวร์ มาแน

อดัวร์ มาแน (Édouard Manet,; 23 มกราคม ค.ศ. 1832 - 30 เมษายน ค.ศ. 1883) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้เป็นจิตรกรคนแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19ที่เขียนภาพเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนทั่วไป มาแนเป็นจิตรกรคนสำคัญที่มีบทบาทในการเปลี่ยนจากการเขียนภาพแบบเหมือนจริง (Realism) ไปเป็นแบบอิมเพรสชันนิสม์ “อาหารกลางวันบนลานหญ้า” (Le déjeuner sur l'herbe) และ “โอลิมเปีย” (Olympia) งานชิ้นเอกสองชิ้นของมาแนเป็นงานที่ทำให้เกิดมีความเห็นขัดแย้งกันมากและเป็นจุดที่ทำให้จิตรกรหนุ่ม ๆ รุ่นนั้นเริ่มหันมาวาดภาพอิมเพรสชันนิสม์—ซึ่งในปัจจุบันถือกันว่าเป็นจุดสำคัญของศิลปะที่แยกมาเป็นศิลปะสมัยใหม.

ใหม่!!: ลัทธิประทับใจและเอดัวร์ มาแน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Impressionismศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ฝรั่งเศสศิลปะอิมเพรสชั่นนิสม์ศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์อิมเพรสชันนิสม์อิมเพรสชันนิซึม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »