โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อิมาม (ชีอะฮ์)

ดัชนี อิมาม (ชีอะฮ์)

อิมาม เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้นำ ซึ่งในทัศนะของชาวมุสลิมชีอะฮ์ หมายถึงบุคคลที่นบีมุฮัมมัดได้แต่งตั้งให้เป็นผู้นำหลังจากท่านเสียชีวิต บรรดาอิมามเหล่านี้จะเป็นผู้อธิบายความหมายของสาส์นอิสลามให้แก่ชนร่วมสมัย ยามใดที่พวกเขาเหล่านั้นไม่อยู่หรือเสียชีวิต ผู้ที่จะทำหน้าที่แทนก็คือบรรดาผู้ที่มีคุณวุฒิสูงสุด เรียกว่า มุจญ์ตะฮิด ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับอัลกุรอานและหะดีษ อิมามสิบสองท่าน อิมามียะหฺ หรือ ญะอฺฟะรียะหฺ เป็นชื่อเรียกชาวชีอะฮ์ใช้เรียกอิมามสูงสุด ที่นบีมุฮัมมัดแต่งตั้งมา มี 12 คน ได้แก.

14 ความสัมพันธ์: ชีอะฮ์ฟาฏิมะฮ์ญะอ์ฟัร อัศศอดิกภาษาอาหรับมะฮ์ดีมุฮัมมัดหะดีษอะบูฏอลิบอะลี อัรริฎออะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบอัลกุรอานอิจญ์ติฮาดฮะซัน อิบน์ อะลีฮุซัยน์ อิบน์ อะลี

ชีอะฮ์

ีอะฮ์ (บ้างสะกด ชีอะห์) เป็นนิกายหนึ่งในอิสลาม ซึ่งนับถือพระเจ้าพระองค์เดียว และท่านนบีมูฮัมมัด(ศ็อลฯ)เป็นนบีคนสุดท้าย หากแต่มีความแตกต่างกับซุนนีย์ในเรื่องของผู้นำศาสนาต่อจากท่านนบีมุฮัมมัด ว่ามาจากการแต่งตั้งของอัลลอฮ์และท่านนบีมุฮัมมัดเท่านั้น หากผู้ใดได้ศึกษาประวัติของวันอีดฆอดีรคุมแล้ว จะพบว่าวันนั้นเป็นวันที่อัลลอฮฺทรงแต่งตั้งอะลีให้เป็นอิมามหรือผู้นำศาสนาคนต่อไปโดยผ่านท่านนบี(ศ็อลฯ) นั้นคืออิมามสิบสองคน อันได้แก่อิมามอะลีย์และบุตรหลานของอิมามอะลีกับท่านหญิงฟาติมะห์(บุตรีของท่านนบี(ศ็อลฯ)อีก 11 คน ชีอะฮ์ ตามความหมายของปทานุกรมหมายถึง ผู้ปฏิบัติตามหรือผู้ติดตาม ซึ่งบุคคลที่เป็นชีอะฮ์หมายถึง บุคคลที่เชื่อว่า ผู้นำศาสนาหลังจากท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) เสียชีวิตแล้ว เป็นสิทธิของลูกหลานของท่านเท่านั้น ซึ่งชีอะฮ์จึงยึดถือและปฏิบัติ ตามแนวทางของลูกหลานของท่านศาสดา(อะฮฺลุลบัยตฺ) ทั้งด้านความรู้ และการปฏิบัติ ชีอะฮ์มีความเชื่อว่า พระองค์อัลลอฮ์ คือพระผู้ทรงสร้างชั้นฟ้าและแผ่นดิน คือพระผู้ทรงบริสุทธิ์ยิ่ง ศาสนาของพระองค์ก็เป็นศาสนาที่บริสุทธิ์ ศาสดามุฮัมมัด (ศ) ศาสนทูตของพระองค์ก็ต้องเป็นผู้บริสุทธิ์ และผู้สืบทอดตำแหน่งของศาสดาของพระองค์ก็จำเป็นจะต้องเป็นผู้บริสุทธิ์เท่านั้น และเมื่อศาสนทูตของพระองค์ พระองค์เป็นผู้ทรงแต่งตั้ง ดังนั้นตัวแทนของศาสนทูตของพระองค์ พระองค์ก็จะต้องเป็นผู้แต่งตั้งเช่นเดียวกัน มิใช่ปล่อยให้ใครก็ได้มาเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งศาสนทูตของพระองค์ มิใช่ปล่อยให้ใครก็ได้มาแต่งตั้งผู้สืบทอดตำแหน่งศาสนทูตของพระอง.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และชีอะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาฏิมะฮ์

ฟาฏิมะห์ อัซ ซะรออ์ หรือ ท่าหญิงฟาฏิมะหฺ บิดาคือศาสดามุฮัมมัด มารดาคือท่านหญิงคอดีญะหฺ เป็นภรรยาของอะลี บินอะบีฏอลิบ เสียชีวิตในมะดีนะหฺ ปีฮิจญ์เราะหฺศักราชที่ 10 หลังบิดาเพียง 6 เดือน ท่านหญิงฟาฏิมะหฺ เป็นสตรีที่มีความสำคัญมากที่สุดในศาสนาอิสลาม นางไม่เพียงแต่เป็นบุตรสาวของศาสนทูตแห่งอิสลาม นางยังเป็นมารดาของท่านฮะซัน และท่านฮุซัยน์ ผู้ซึ่งมีบุตรหลานเป็นอิมามในสำนักคิดชีอะฮ์และบุคคลสำคัญมากมาย ท่านหญิงฟาติมะห์ มีบุตรและธิดารวมกันแล้ว4คน ได้แก่ ท่านอิมามฮะซัน อิมามฮุซัยน์ ท่านหญิงซัยนับ และท่านหญิงอุมมุลกุลซุม ท่านนั้นเสียมารดา(ท่านหญิงคอิยะฮ์)ตั้งแต่ยังเด็ก แล้วท่านก็เป็นผู้คอยปรนนิบัตรบิดาทุกอย่าง ท่านจึงได้สมยานมว่า "มารดาของผู้เป็นบิดา" หมายความว่าท่านนั้นคอยดูแลท่านนบีมูฮัมหมัดทุกอย่าง หมวดหมู่:ชาวอาหรับ หมวดหมู่:บุคคลในศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:บุคคลจากมักกะฮ์.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และฟาฏิมะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ญะอ์ฟัร อัศศอดิก

ญะอ์ฟัร อิบน์ มุฮัมมัด อัศศอดิก (جعفر بن محمد الصادق; Jaʿfar ibn Muhammad al-Sādiq) หรือเรียกสั้น ๆ ในภาษาไทยว่า อิมามศอดิก เป็นอิมามที่ 6 ของชีอะฮ์ เกิดในปี..

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และญะอ์ฟัร อัศศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

มะฮ์ดี

ตามแนวคิดทางอวสานวิทยาของศาสนาอิสลาม มะฮ์ดี (مهدي ผู้ถูกนำทาง) คือบุคคลหนึ่ง ที่นบีมุฮัมมัดพยากรณ์ว่าจะมาขจัดความชั่วร้าย และปกครองโลกเป็นเวลาหลายปี และสร้างสันติสุขบนโลกก่อนที่ถึงวันกิยามะฮ์บรรจง บินกาซัน, สารานุกรมอิสลาม ฉบับเยาวชนและผู้เริ่มสนใจ", 2547, หน้า 80-1.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และมะฮ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด

นบีมุฮัมมัด หรือ มุหัมมัด หรือ พระมะหะหมัด (محمد แปลว่า ผู้ได้รับการสรรเสริญ) เป็นนบีคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่อัลลอฮ์ทรงแต่งตั้ง ท่านมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกหลายชื่อ เช่น มุสตอฟา, ฏอฮา, ยาซีน และ อะฮฺมั.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และมุฮัมมัด · ดูเพิ่มเติม »

หะดีษ

ีษ บ้างก็สะกด หะดีษ, หาดีษ, ฮาดีษ (الحديث /อัลฮะดีษ/) แปลว่าคำพูด หรือใหม่ ตามทัศนะซุนนีย์หมายถึงคำพูด การกระทำ และการยอมรับของนบีมุฮัมมัด ตามทัศนะชีอะฮ์ยังรวมถึงถึงคำพูด การกระทำ และการยอมรับของบรรดามะอฺศูมอีกด้วย ฮะดีษต่าง ๆ ได้มีการรวบรวมเป็นเล่ม เรียกในภาษาไทยว่า พระวจนานุกรม มีการแบ่งเป็นอนุกรมและหมวดหมู่ สะดวกแก่การค้นห.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และหะดีษ · ดูเพิ่มเติม »

อะบูฏอลิบ

อะบูฏอลิบ บิน อับดิลมุฏฏอลิบ เป็นพี่ชายของ อับดุลลอหฺ บิดาของศาสนทูตมุฮัมมัด ผู้เป็นศาสดาของอิสลาม และเป็นบิดาของ อะลีย์ ผู้เป็นอิมามคนแรกของอิสลามชีอะหฺ และคอลีฟะหฺคนที่ 4 ของอิสลามซุนนี อะบูฏอลิบ รับศาสนทูตมุฮัมมัด มาเลี้ยงตั้งแต่อายุ 8 ขวบ อะบูฏอลิบ มีภรรยาชื่อ ฟาฏิมะหฺ บินตุ อะสัด มีบุตรธิดา 6 คนคือ 1.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และอะบูฏอลิบ · ดูเพิ่มเติม »

อะลี อัรริฎอ

อะลี อิบน์ มูซา อัรริฎอ (علي بن موسى الرضا; ‘Alī ibn Mūsā al-Ridhā; 1 มกราคม ค.ศ. 766 - 26 พฤษภาคม ค.ศ. 818) อิมามที่ 8 ของอิสลามนิกายชีอะฮ์ และปรมาจารย์ท่านหนึ่งของอิสลามนิกายศูฟี.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และอะลี อัรริฎอ · ดูเพิ่มเติม »

อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ

อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ (علي بن أﺑﻲ طالب; ʿAlī ibn Abī Ṭālib) เป็นบุตรเขยของศาสนทูตมุฮัมมัด อิมามที่ 1 ตามทัศนะชีอะฮ์ อย่างไรก็ตามทัศนะของมัซฮับซุนนี อิมามอะลีเป็นเคาะลีฟะฮ์ที่ 4 และศูฟีย์เกือบทุกสายถือว่าเป็นปฐมาจารย์ ต่างก็ยกย่อง อะลี ว่าเป็นสาวกผู้ทรงธรรมและเป็นปราชญ์ผู้ประเสริฐเล.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และอะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรอาน

อัลกุรอาน บ้างเรียก โกหร่าน (الْقُرآن) เป็นคัมภีร์ในศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมเชื่อว่าเป็นพระวจนะของอัลลอฮ์ที่ประทานผ่านทางเทวทูตญิบรีล มาสู่นบีมุฮัมมัด คำว่า กุรอาน มาจากรากศัพท์ในภาษาอาหรับแปลว่า การอ่าน หรือ อาขยาน อัลลอฮ์ได้ประทานคัมภีร์อัลกรุอานแก่นบีมุฮัมมัดซึ่งชาวมุสลิมถือว่าเป็นศาสนทูตคนสุดท้าย และคัมภีร์นี้ก็เป็นคัมภีร์สุดท้ายที่อัลลอฮ์ได้ส่งมาให้แก่มวลมนุษยชาติ หลังจากนี้แล้วจะไม่มีคัมภีร์ใด ๆ จากพระเป็นเจ้าอีก คัมภีร์กรุอานนี้ได้ประทานมาเพื่อยกเลิกคัมภีร์เก่า ๆ ที่เคยได้ทรงประทานมาในอดีตนั่นคือคัมภีร์เตารอต ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีมูซา คัมภีร์ซะบูร ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีดาวูด (ดาวิด) และคัมภีร์อินญีลที่เคยทรงประทานมาแก่นบีอีซา (พระเยซู) เป็นคัมภีร์ที่บริบูรณ์ไม่มีการเพี้ยนเปลี่ยนแปลง ภาษาของคัมภีร์อัลกุรอานนั้นคือภาษาอาหรับ ที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบัน การศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานทั้งเล่มเป็นหลักการหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องศรัทธา นั่นก็หมายความว่าหากไม่ศรัทธาในอัลกุรอาน หรือศรัทธาเพียงบางส่วนก็จะเป็นมุสลิมไม่ได้ เช่นเดียวกับที่ต้องศรัทธาว่าคัมภีร์อัลกุรอานนี้มีความบริบูรณ์ภายใต้การพิทักษ์ของพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึง ตั้งแต่วันที่ท่านศาสดาเสียชีวิตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยมีความเหมือนกันในทุกฉบับบนโลก และภาษาอาหรับในคัมภีร์จึงเป็นภาษาโบราณภาษาเดียว ที่มีใช้อย่างคงเดิมอยู่จนกระทั่งวันนี้ได้ และได้กลายเป็นภาษามาตรฐานของประเทศอาหรับทั้งหลาย เป็นภาษาวิชาการของอิสลาม และเป็นภาษาที่ใช้ในการปฏิบัติศาสนพิธีของมุสลิมทุกคนทั่วโลก.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และอัลกุรอาน · ดูเพิ่มเติม »

อิจญ์ติฮาด

330x330px อิจญ์ติฮาด (اجتهاد, Ijtihad) ทางภาษา คือ การใช้ความพยายามและความสามารถ ทางวิชาการศาสนา คือ การใช้ความพยายามเกี่ยวกับตัวบทหลักฐานเพื่อวิเคราะห์และวินิจฉัยกำหนดบทบัญญัติ กฎบัญญัติของศาสนาอิสลาม มาจากพระผู้เป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) ที่บัญญัติมาทางพระดำรัสหรืออัลกุรอาน และความรู้อีกส่วนหนึ่งที่ประทานให้แก่นบีมุฮัมมัด ที่เรียกว่า ซุนนะฮฺ หรือ หะดีษ ซึ่งทั้งอัลกุรอานและหะดีษ เป็นคำสอนอันบริสุทธิ์จากพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้เกี่ยวกับสัจธรรมที่มาที่ไปและความเป็นจริงของโลกและชีวิตมนุษย์ทุกคน มีเนื้อหาเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางธรรมชาติ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งเร้นลับ การเกิดการตาย เป้าหมายของการมาอยู่บนโลกและทางรอดของชีวิต และก็มีส่วนที่เป็นกฎหมายหรือบทบัญญัติ ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อพระเจ้า พึงปฏิบัติต่อมนุษย์ และการปกครองสังคม กฎหมายนี้ในภาษาอาหรับเรียกว่า "ชารีอะฮฺ" ซึ่งมีที่มาคือ.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และอิจญ์ติฮาด · ดูเพิ่มเติม »

ฮะซัน อิบน์ อะลี

อัลฮะซัน อิบน์ อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ (الحسن بن علي بن أﺑﻲ طالب; Al-Hasan ibn ‘Alī ibn Abī Tālib; ค.ศ. 624–669 / ฮ.ศ. 3-50) เป็นพี่ชายของอิมามฮุซัยน์ อิบน์ อะลี และเป็นบุตรของอิมามอะลี กับท่านหญิงฟาฏิมะหฺ(อ) บุตรีนบีมุฮัมมัด ศาสดามุฮัมมัดได้กล่าวเกี่ยวกับหลานรักทั้งสองอีกว่า "ฮะซันและฮุซัยน์เป็นหัวหน้าชายหนุ่มแห่งสรวงสวรรค์" อิมามฮะซัน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอิมามตามคำสั่งเสียของท่านศาสดา ซึ่งเหล่าศรัทธาชนก็ได้ให้สัตยาบันกับท่าน ท่านขึ้นปกครองอาณาจักรอิสลามได้เพียงหกเดือนเศษ ในเวลานั้นซีเรียและอียิปต์ที่อยู่ในการปกครองของมุอาวิยะหฺ บุตรอะบูสุฟยาน มิได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อการปกครองของอิมามฮะซัน อิมามฮะซันได้เตรียมกำลังทหารเพื่อปราบปรามมุอาวิยะหฺ ผู้ตั้งตนเป็นกบฏและก่อกวนความสงบสุขของอาณาจักรอิสลามตั้งแต่สมัยอิมามอะลี ผู้เป็นบิดา ทว่าท่านต้องยกเลิกแผนการอันนี้ เพราะทราบว่าทหารของท่านมีใจโอนเอียงฝักใฝ่อยู่กับมุอาวะยะหฺ และรอคำสั่งจากมุอาวิยะหฺ ว่าจะให้จัดการกับท่านอิมามอย่างไร จะสังหารท่านหรือจับกุมส่งท่านไปให้มุอาวิยะหฺ ด้วยเหตุนี้เองอิมามฮะซันจึงต้องจำยอมเลือกวิธีการประนีประนอมด้วยการทำสนธิสัญญาหย่าศึก แต่ต่อมามุอาวิยะหฺก็บิดพลิ้วสนธิสัญญา เขาได้เดินทางมายังอิรัก แล้วขึ้นมินบัรในมัสยิดกูฟะหฺ เพื่อกล่าวปราศรัยกับประชาชนว่า "โอ้ประชาชน ฉันไม่ต้องการทำสงครามกับพวกท่านในเรื่องของศาสนา ว่าต้องทำนมาซหรือถือศีลอด เพียงแต่ฉันต้องการขึ้นเป็นผู้ปกครองเท่านั้นเองและฉันก็ถึงเป้าหมายของฉันแล้ว ส่วนสัญญาที่ลงนามร่วมกับฮะซันบุตรของอะลีนั้น มันไม่มีความหมายสำหรับฉันเลย ฉันตั้งมันไว้ใต้ฝ่าเท้าของฉัน" อิมามฮะซันต้องตกอยู่ภายใต้อิทธิพลการปกครองของมุอาวิยะหฺนานถึง 9 ปี.

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และฮะซัน อิบน์ อะลี · ดูเพิ่มเติม »

ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี

ซัยน์ อิบน์ อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ (حسين بن علي بن أﺑﻲ طالب‎; Hussein ibn ‘Alī ibn Abī Ṭālib) เกิดปี..

ใหม่!!: อิมาม (ชีอะฮ์)และฮุซัยน์ อิบน์ อะลี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Twelverอิมามสิบสองอิมามชีอะหฺอิมามชีอะฮฺ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »