โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)

ดัชนี อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)

วนหนึ่งของ “แผนที่พิวทินเจอริอานา” (Tabula Peutingeriana) ซึ่งเป็นแผนที่โรมันจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ที่แสดงดินแดนอิตาลีตอนใต้ อิตาเลีย หรือ โรมันอิตาเลีย (Italia) ภายใต้สาธารณรัฐโรมันและต่อมาจักรวรรดิโรมันคือชื่อของคาบสมุทรอิตาลี.

33 ความสัมพันธ์: ชาวออสโตรกอทพ.ศ. 1019พ.ศ. 873พ.ศ. 945พ.ศ. 953พลินีผู้อาวุโสมิลานมณฑลของโรมันรูบิคอน (รายการโทรทัศน์)ลอมบาร์ดวิกฤตการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3สาธารณรัฐโรมันสงครามกลางเมืองสตราโบอาลาริคที่ 1อาณาจักรอนารยชนจักรพรรดิจักรพรรดิดิออเกลติอานุสจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราชจักรพรรดิเอากุสตุสจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1จักรวรรดิโรมันจักรวรรดิโรมันตะวันตกจักรวรรดิไบแซนไทน์จูเลียส ซีซาร์คอนสแตนติโนเปิลแม่น้ำโปแอลพิสคอตทิเอแอลพิสแมริทิเมแคว้นคาลาเบรียโรมเทือกเขาแอลป์

ชาวออสโตรกอท

ออสโตรกอท (Ostrogoths, Ostrogothi, Austrogothi) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธ์กอทซึ่งเป็นสาขาของชนเจอร์มานิคตะวันออกที่มีบทบาทสำคัญในทางการเมืองในตอนปลายจักรวรรดิโรมัน อีกสาขาหนึ่งคือชาววิซิกอท ชนออสโตรกอทก่อตั้งรัฐในกรุงโรมในอิตาลีและคาบสมุทรบอลข่านอยู่ชั่วระยะหนึ่ง และในช่วงนั้นก็รวมส่วนใหญ่ของฮิสเปเนีย และตอนใต้ของกอล ออสโตรกอทรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษ ออสโตรกอทก็ถูกพิชิตโดยโรมในสงครามกอทิก (ค.ศ. 535–554) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้แก่อิตาลี.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และชาวออสโตรกอท · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1019

ทธศักราช 1019 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และพ.ศ. 1019 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 873

ทธศักราช 873 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และพ.ศ. 873 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 945

ทธศักราช 945 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 402.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และพ.ศ. 945 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 953

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และพ.ศ. 953 · ดูเพิ่มเติม »

พลินีผู้อาวุโส

ลินีผู้อาวุโส (Pliny the Elder) หรือ กาอิอุส ปลีนิอุส แซกุนดุส (Gaivs Plinivs Secvndvs; ค.ศ. 23 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 79) เป็นนักธรรมชาติวิทยา นักประพันธ์ และแม่ทัพชาวโรมันในสมัยจักรวรรดิโรมันตอนต้น และเป็นพระสหายของจักรพรรดิแว็สปาซิอานุส พลินีใช้เวลาส่วนใหญ่ในการศึกษา การเขียน และการสืบสวนเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและภูมิศาสตร์ งานชิ้นสำคัญที่สุดที่เขียนคือสารานุกรมชื่อ ธรรมชาติวิทยา (Natvralis Historia) ที่กลายมาเป็นแบบอย่างในการเขียนงานประเภทนี้ต่อมา พลินีเป็นลุงของพลินีผู้เยาว์ (Pliny the Younger).

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และพลินีผู้อาวุโส · ดูเพิ่มเติม »

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลของโรมัน

มณฑล (province; provincia, พหูพจน์: provinciae) เป็นเขตการปกครองระดับพื้นฐาน ในสมัยโรมันโบราณ มาจนกระทั่งถึงสมัยจตุราธิปไตย (ราว ค.ศ. 296) เมื่อกลายเป็นหน่วยเขตการปกครองระดับสูงสุดของจักรวรรดิโรมันนอกคาบสมุทรอิตาลี คำว่า "province" ในภาษาอังกฤษที่แปลว่าจังหวัดมีรากมาจากคำว่า "provincia" ในภาษาละตินที่ชาวโรมันใช้สื่อสาร จังหวัดโดยทั่วไปจะปกครองโดยนักการเมืองระดับสมาชิกวุฒิสภาที่เดิมมักจะเป็นอดีตกงสุลหรืออดีตพรีเตอร์ (Praetor) มีข้อยกเว้นในมณฑลอียิปต์ (จักรพรรดิเอากุสตุสทรงผนวกดินแดนนี้เข้ากับจักรวรรดิหลังจากคลีโอพัตราเสด็จสวรรคต) ที่จะมีข้าหลวงระดับ Equestrian order เป็นผู้ปกครองเท่านั้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะพยายามลดความทะเยอทะยานของกลุ่มสมาชิกวุฒิสภาลง ข้อยกเว้นนี้เป็นกรณีพิเศษที่ไม่ขัดกับกฎหมายโรมัน เพราะตามประเพณีของกษัตริย์เฮเลนนิสติก ถือว่าอียิปต์เป็นอสังหาริมทรัพย์ส่วนพระองค์ของจักรพรรดิเอากุสต.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และมณฑลของโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

รูบิคอน (รายการโทรทัศน์)

รูบิคอน เป็นซีรีส์อเมริกาแนวสืบสวน วิเคราะห์ กำกับโดย เจสัน ฮอร์วิทช์ และออกอากาศทางช่อง AMC โดยซีรีส์เป็นเรื่องเกี่ยวกับทฤษฎีสมคบคิด นำแสดงโดย James Badge Dale, Jessica Collins, Lili Taylor, Miranda Richardson, Dallas Roberts, Christopher Evan Welch, Paul Butler และ Peter Gerety ซีรีส์เรื่องมี 13 ตอน ฉายทุกสัปดาห์ โดยมีตัวอย่างตอนแรกเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2553 โดยจะเริ่มออกอากาศจริงวันที่ 1 สิงหาคม 2553 โดยตอนแรกได้ออกอากาศไป 46 นาที.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และรูบิคอน (รายการโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ลอมบาร์ด

มงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์ดี right ลอมบาร์ด หรือ ลังโกบาร์ด หรือ ลองโกบาร์ด (Lombards หรือ Langobards หรือ Longobards, Langobardi) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์มานิคที่เดิมมาจากยุโรปเหนือและมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ จากบริเวณนั้นลอมบาร์ดก็เข้ารุกรานจักรวรรดิไบแซนไทน์ในคาบสมุทธอิตาลีในปี..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และลอมบาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3

ักรวรรดิที่ถูกแบ่งแยกในปี ค.ศ. 271: จักรวรรดิกอลสีเขียว, จักรวรรดิพาลมิรีนสีเหลือง และจักรวรรดิโรมันสีแดง วิกฤติการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3 (Discrimen Tertii Saeculi, Crisis of the Third Century) หรืออนาธิปไตยทางทหาร (Military Anarchy หรือวิกฤติการณ์จักรวรรดิ (Imperial Crisis; ค.ศ. 235–284) เป็นช่วงระยะเวลาที่จักรวรรดิโรมันประสบวิกฤติการณ์ที่แทบจะนำความสิ้นสุดมาสู่จักรวรรดิจากปัญหาหลายอย่างรวมกันที่รวมทั้งการรุกรานของศัตรู, สงครามกลางเมือง, โรคระบาด, และความตกต่ำทางเศรษฐกิจ วิกฤติการณ์เริ่มด้วยการลอบสังหารของจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ เซเวรัส โดยทหารของพระองค์เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของห้าสิบปีของความปั่นป่วนที่ในระหว่างนั้นก็มีผู้อ้างตนเป็นจักรพรรดิถึง 20 ถึง 25 คน ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นนายพลผู้มีชื่อเสียงของกองทัพโรมันที่เข้ายึดอำนาจทั้งหมดหรือบางส่วนของจักรวรรดิ เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 258 ถึงปี ค.ศ. 260 จักรวรรดิโรมันก็แบ่งออกเป็นสามส่วน: จักรวรรดิกอล ที่รวมทั้งจังหวัดโรมันแห่งกอล, บริเตน และฮิสปาเนีย (Hispania); และจักรวรรดิพาลไมรีน ที่รวมทั้งจังหวัดทางตะวันออกของซีเรีย, ปาเลสไตน์ และเอกิบตัส (Aegyptus) สองจักรวรรดิแยกตัวออกจากจักรวรรดิโรมันที่มีศูนย์กลางอยู่ในอิตาลี วิกฤติการณ์ยุติลงด้วยการขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิไดโอคลีเชียน.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และวิกฤตการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรมัน

รณรัฐโรมัน (Res pvblica Romana) (อังกฤษ: Roman Republic)เป็นยุคสมัยของอารยธรรมโรมันโบราณขณะมีรัฐบาลเป็นสาธารณรัฐ เริ่มต้นจากการโค่นล้มราชาธิปไตยโรมัน ซึ่งมักถือว่าเมื่อราว 509 ปีก่อน..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และสาธารณรัฐโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สตราโบ

ตราโบ (StraboStrabo ("squinty") was a term employed by the Romans for anyone whose eyes were distorted or deformed., ภาษากรีก: Στράβων) (ราว 63/64 ก่อนคริสต์ศักราช – ราว ค.ศ. 24) เป็นนักประวัติศาสตร์, นักภูมิศาสตร์ และนักปรัชญาชาวกรีก.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และสตราโบ · ดูเพิ่มเติม »

อาลาริคที่ 1

อาราริคที่ 1 (Alaric I, กอธ: Alarik, Alaricus) (ราว ค.ศ. 370 – ค.ศ. 410) เป็นพระมหากษัตริย์ของชนชนวิสิกอธผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 395 จนเสด็จสวรรคตเมื่อในปี ค.ศ. 410 อาราริคเป็นพระมหากษัตริย์เจอร์มานิคที่ยึดกรุงโรมได้ อาราริคต้องการที่จะนำชนวิซิกอธเข้าไปตั้งถิ่นฐานในจักรวรรดิโรมัน การยึดโรมได้ครั้งนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของจักรวรรดิโรมัน.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และอาลาริคที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักร

อาณาจักร (kingdom; dominion) หมายถึง เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของประเทศหนึ่ง อาจจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อนารยชน

นักรบเจอร์มานิค” โดย ฟิลิปป์ คลือเวอร์ (Philipp Clüver) ใน “Germania Antiqua” (ค.ศ.1616) อนารยชน (barbarian) เป็นคำที่มีความหมายในทางเหยียดหยามสำหรับผู้ที่ถือกันว่าไม่มีวัฒนธรรมที่อาจจะเป็นการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงกลุ่มชนในชาติหรือกลุ่มชาติพันธุ์ (Ethnic group) โดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงกลุ่มชนที่มีลักษณะเป็นเผ่าพันธ์ (tribal society) จากมุมมองของวัฒนธรรมเมืองที่เห็นว่าเป็นวัฒนธรรมที่ด้อยกว่าหรือชื่นชมว่าเป็นคนเถื่อนใจธรรม (noble savage) เมื่อใช้เป็นสำนวน “อนารยชน” ก็อาจจะหมายถึงผู้ที่เป็นคนทารุณ, โหดร้าย, นิยมสงคราม และไร้ความรู้สึกต่อผู้อื่น การใช้คำว่า “อนารยชน” มาจากวัฒนธรรมกรีก-โรมันแต่คำทำนองเดียวกันก็พบในวัฒนธรรมอื่นๆ ด้ว.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และอนารยชน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดิออเกลติอานุส

ออเกลติอานุส (Gaius Aurelius Valerius Diocletianus; ภาษาอังกฤษ: Diocletian; ภาษากรีก: Διοκλής) (ราว 22 ธันวาคม ค.ศ. 244 - เสียชีวิต 3 ธันวาคม ค.ศ. 311) เมื่อแรกเกิดชื่อ “ไดโอคลีส” และรู้จักกันว่า “ดิออเกลติอานุส”เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 284 ถึงวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ด้วยพระองค์เอง และระหว่างวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันออก และร่วมกับแม็กซิเมียนในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันตก ดิออเกลติอานุสเป็นจักรพรรดิที่เป็นผู้ยุติเหตุการณ์ที่นักประวัติศาสตร์เรียกว่า วิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรพรรดิดิออเกลติอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช

ักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 (ConstantineI 27 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 272Birth dates vary but most modern historians use "ca. 272". Lenski, "Reign of Constantine", 59. – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337) ครองราชสมบัติเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306 ถึงวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 312 มีพระนามเต็มว่า “Flavius Valerius Aurelius Constantinus” หรือที่รู้จักกันว่า “คอนสตันไทน์ที่ 1” ในบรรดาผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิก หรือ “คอนสตันไทน์มหาราช” หรือ “นักบุญคอนสตันไทน์” ในบรรดาผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์หรือนิกายไบแซนไทน์คาทอลิก พระราชกรณียกิจสำคัญที่สุดคือการประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันเมือปี ค.ศ. 313 จักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จึงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันที่นับถือศาสนาคริสต์ตามพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน (Edict of Milan) ที่ประกาศโดยจักรพรรดิลีซีนีอุส (Licinius) ผู้ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระองค์ พระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นพระราชกฤษฎีกาที่ยกเลิกการทารุณกรรมต่อคริสต์ศาสนิกชนทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน ตามปฏิทินศาสนาของไบเซ็นไทน์ของนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และนิการคาทอลิกตะวันออกแห่งไบเซนไทน์บันทึกจักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1และเฮเลนแห่งคอนสแตนติโนเปิลพระมารดาว่าเป็นนักบุญ แต่ในปฏิทินศาสนาของตะวันตกไม่มีอยู่ในรายนามนักบุญ คอนสตันไทน์ได้รับนาม “มหาราช” เพราะพระราชกรณียกิจต่างที่ทรงทำให้ต่อคริสต์ศาสนา ในปี ค.ศ. 324 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ทรงประกาศการปรับปรุงเมืองไบเซนเทียมให้เป็น “กรุงโรมใหม่” (Nova Roma) และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 330 ทรงประกาศให้เมืองไบเซ็นเทียมเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบเซ็นเทียมเปลื่ยนชื่อเป็น “คอนสแตนติโนเปิล” แปลว่า “เมืองของคอนสตันไทน์” หลังจากจักพรรดิคอนสตันไทน์สิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเอากุสตุส

อิมแปราตอร์ ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส (IMPERATOR CAESAR DIVI FILIVS AVGVSTVS; 23 กันยายน 63 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 19 สิงหาคม ค.ศ. 14) เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมัน ทรงปกครองจักรวรรดิแต่เพียงผู้เดียวนับตั้งแต่ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งสวรรคตใน..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรพรรดิเอากุสตุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1

ักรพรรดิเทออดอซิอุส บนเหรียญสมัยโรมัน จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1 หรือ จักรพรรดิเทออดอซิอุสมหาราช (11 มกราคม ค.ศ. 347 - 11 มกราคม ค.ศ. 395) เป็นจักรพรรดิโรมัน ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

ักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman Empire) หมายถึงครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิโรมันหลังจากการแบ่งโดยไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรวรรดิโรมันตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเลียส ซีซาร์

กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ (Caivs/Gaivs Ivlivs Caesar) หรือ จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar; กรกฎาคม 100 ปีก่อน ค.ศ. – 15 มีนาคม 44 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นรัฐบุรุษ แม่ทัพ และผู้ประพันธ์ร้อยแก้วอันเลื่องชื่อชาวโรมัน เขามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์อันนำไปสู่การสิ้นสุดสาธารณรัฐโรมันและความเจริญของจักรวรรดิโรมัน ใน 60 ปีก่อน..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และจูเลียส ซีซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 และระหว่างปี ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1453; ของจักรวรรดิละติน ระหว่างปี ค.ศ. 1204 ถึง ค.ศ. 1261); และของจักรวรรดิออตโตมัน ระหว่างปี..

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโป

แม่น้ำโป (Padus หรือ Eridanus, Po River) เป็นแม่น้ำที่มีความยาวทั้งสิ้น 652 กิโลเมตรหรือ 682 กิโลเมตรถ้ารวมแม่น้ำไมราด้วย ที่ไหลจากต้นแม้น้ำในเทือกเขาแอลป์ไปทางตะวันออกทางตอนเหนือของอิตาลีไปยังสามเหลี่ยมปากแม่น้ำบนฝั่งทะเลอาเดรียติกไม่ไกลจากเวนิส แม่น้ำโปเป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดในอิตาลี ส่วนที่กว้างที่สุดกว้าง 503 เมตร สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโป ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งบริเวณคาบสมุทรอิตาลีทางตอนเหนือจะติดกับเทือกเขาแอลป์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลแอเดรียติกและทิศตะวันตกติดกับทะเลเมดิเตอเรเนียน โดยแม่น้ำโปเป็นแม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในอิตาลีและมีต้นกำเนิดจากเทือก เขาแอลป์ไหลเข้าสู่ประเทศอิตาลีทางทิศเหนือและไหลออกสู่ทะเลแอเดรียติกทาง ทิศตะวันออก เนื่องจากสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโปนี้มีตะกอนที่มาตกสะสมตัวอยู่จากการพัดพา ตะกอนที่มีแหล่งกำเนิดที่สำคัญมาจากเทือกเขาแอลป์ลงมาตามลำน้ำโปโดยที่แม่ น้ำโปเป็นแม่น้ำที่มีสาขามากมายบริเวณปลายน้ำจัดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ประเภท river dominate ซึ่งปริมาณตะกอนที่ได้รับมาจากอิทธิพลของแม่น้ำเป็นหลัก ตามการจำแนกประเภทโดย Willium Golloway จากมหาวิทยาลัยเทกซั.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และแม่น้ำโป · ดูเพิ่มเติม »

แอลพิสคอตทิเอ

แอลพิสคอตทิเอ หรือ อัลเปสกอตตีไอ (อังกฤษ, Alpes Cottiae) เป็นจังหวัดขนาดเล็กของจักรวรรดิโรมัน แอลพิสคอตทิเอเป็นหนึ่งในสามจังหวัดทางตะวันตกของเทือกเขาแอลพิสระหว่างฝรั่งเศสและอิตาลีปัจจุบัน ชื่อจังหวัดยังคงใช้มาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ในการเรียกเทือกเขาคอตเชียนแอลป์ ในสมัยโบราณบทบาทสำคัญของแอลพิสคอตทิเอคือการเป็นเมืองหน้าด่านในการรักษาทางผ่านช่องแคบที่เป็นเส้นทางคมนาคมของเทือกเขาแอลพิส แอลพิสคอตทิเอมีพรมแดนติดกับแกลเลียนาร์โบเนนซิสทางตะวันตก แอลพิสแมริทิเมทางตอนใต้ อิตาเลียทางตะวันออก และแอลพิสพีนิเนทางตอนเหนือ เมืองหลวงชื่อเซกูซีโอหรือซูซาในแคว้นพีดมอนต์ในปัจจุบัน จังหวัดนี้มีที่มาจากราชอาณาจักรที่ปกครองโดยพระเจ้าดอนนุส ประมุขของชาวลิกูเรียราวกลางศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช และตั้งตามชื่อกอตตีอุส (Cottius) พระราชโอรสและผู้สืบครองคนต่อมา แอลพิสคอตทิเอถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโรมันโดยจักรพรรดิเอากุสตุส เดิมกอตตีอุสและพระราชโอรสชื่อเดียวกันยังคงมีอำนาจปกครองแอลพิสคอตทิเอในฐานะรัฐบริวาร แต่ในรัชสมัยจักรพรรดิเนโรพระองค์ก็ทรงแต่งตั้งผู้แทนให้มาปกครอง แอลพิสคอตทิเอจึงกลายเป็นจังหวัดโรมันอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และแอลพิสคอตทิเอ · ดูเพิ่มเติม »

แอลพิสแมริทิเม

ักรวรรดิโรมัน แสดงที่ตั้งของจังหวัดแอลพิสแมริทิเม แอลพิสแมริทิเม หรือ อัลเปสมารีตีไม (อังกฤษ, Alpes Maritimae) เป็นจังหวัดขนาดเล็กของจักรวรรดิโรมัน แอลพิสแมริทิเมเป็นหนึ่งในสามจังหวัดทางตะวันตกของเทือกเขาแอลป์ระหว่างฝรั่งเศสกับอิตาลีปัจจุบัน ก่อตั้งขึ้นราวปี 14 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และแอลพิสแมริทิเม · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นคาลาเบรีย

ลาเบรีย (Calabria) เป็นแคว้นหนึ่งใน 20 แคว้นของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางภาคใต้หรือส่วนล่างของคาบสมุทรอิตาลี ถ้าเปรียบอิตาลีเป็นรองเท้าบูต แคว้นคาลาเบรียจะเป็นส่วนปลายด้านหน้ารองเท้า แคว้นคาลาเบรียมีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับแคว้นบาซีลีคาตา ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้อยู่ใกล้กับแคว้นปกครองตนเองซิซิลี ทางตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียน และทางทิศตะวันออกติดต่อกับทะเลไอโอเนียน ครอบคลุมพื้นที่ 15,080 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน มีเมืองหลักชื่อเมืองคาตันซาโร และมีเมืองใหญ่อีกสองเมืองคือเมืองเรจโจคาลาเบรียและเมืองโคเซนซ.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และแคว้นคาลาเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และโรม · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาแอลป์

ทือกเขาแอลป์ระบบดิจิตอล เทือกเขาแอลป์ในประเทศออสเตรีย เทือกเขาแอลป์ (Alpen; Alpes; Alpi; สโลวีเนีย: Alpe; Alps) เป็นเทือกเขาที่ใหญ่สุดของทวีปยุโรปโดยครอบคลุมตั้งแต่ออสเตรีย, อิตาลี และสโลวีเนียทางด้านตะวันออก ไปจนถึงสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, เยอรมนี และฝรั่งเศสทางด้านตะวันตก เทือกเขาแอลป์เป็นเทือกเขาอายุน้อย เกิดขึ้นเมื่อแผ่นทวีปแอฟริกามุดใต้แผ่นทวีปยูเรเซีย (อนุทวีปสเปนและอิตาลีชนกับแผ่นดินใหญ่) ภูเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาแอลป์คือ ยอดเขามองต์บลังก์ ที่ความสูง 4,807 เมตร บริเวณชายแดนฝรั่งเศสกับอิตาลี.

ใหม่!!: อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)และเทือกเขาแอลป์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Apulia et CalabriaItalia (Roman Empire)Italia (Roman province)อพูเลียและคาลาเบรียโรมันอิตาลี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »