โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์โชซ็อน

ดัชนี ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

96 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1931พ.ศ. 1935พ.ศ. 1938พ.ศ. 1944พ.ศ. 1986พ.ศ. 1989พ.ศ. 2135พ.ศ. 2151พ.ศ. 2178พ.ศ. 2419พ.ศ. 2438พ.ศ. 2440พ.ศ. 2453พระมหากษัตริย์พระราชวังชังกย็องพระราชวังชังด็อกพระราชวังท็อกซูพระราชวังคย็องบกพระราชวังคย็องฮีพระเจ้าชอลจงพระเจ้าช็องจงพระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้ามย็องจงพระเจ้ามุนจงพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าอินจงพระเจ้าอินโจพระเจ้าฮย็อนจงพระเจ้าฮอนจงพระเจ้าฮโยจงพระเจ้าจุงจงพระเจ้าทันจงพระเจ้าคย็องจงพระเจ้าคงยังพระเจ้าซองจงพระเจ้าซุกจงพระเจ้าซุนโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าแทจงพระเจ้าแทโจพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าโกจงพระเจ้าเยจงพระเจ้าเซจงมหาราชพระเจ้าเซโจภาษาเกาหลียุคเซ็งโงกุยู ซองลยองราชวงศ์ชิงราชวงศ์หมิง...ราชวงศ์โชซ็อนราชวงศ์โครยอลัทธิขงจื๊อศาสนาพุทธในเกาหลีศาสนาคริสต์สมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยใหม่สหรัฐสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่งสงครามเกาหลีสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิหฺวัง ไถจี๋อักษรฮันกึลอี กูอี ว็อนอี อึนจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อจักรพรรดิซุนจงจักรพรรดินีมย็องซ็องจักรพรรดิโคจงจักรวรรดิเกาหลีจังหวัดเชจูทวีปเอเชียคาบสมุทรเกาหลีซังกุงประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือปักกิ่งปูซานป้อมฮวาซ็องแช เจ-กงแม่น้ำฮัน (ประเทศเกาหลี)แทว็อนกุนโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโซลเชมันเกาหลีเกาะคังฮวาเจ้าชายย็อนซันเจ้าชายควังแฮเปียงยาง12 ตุลาคม17 กรกฎาคม20 พฤษภาคม27 กุมภาพันธ์9 ตุลาคม ขยายดัชนี (46 มากกว่า) »

พ.ศ. 1931

ทธศักราช 1931 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1935

ทธศักราช 1935 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1938

ทธศักราช 1938 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 1938 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1944

ทธศักราช 1944 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 1944 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1986

ทธศักราช 1986 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 1986 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1989

ทธศักราช 1989 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2135

ทธศักราช 2135 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2135 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2151

ทธศักราช 2151 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2151 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2178

ทธศักราช 2178 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2178 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังชังกย็อง

ังกย็องกุง หรือ พระราชวังชังกย็อง เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของเกาหลี ปัจจุบันตั้งอยู่ในโซล ประเทศเกาหลีใต้ เดิมเป็นพระราชวังฤดูร้อนของกษัตริย์ราชวงศ์โครยอ กระทั่งพระเจ้าเซจงมหาราชมีดำริที่จะสร้างพระราชวังถวายแก่พระราชบิดาคือ พระเจ้าแทจง ต่อมาในปี พ.ศ. 2026 ในรัชสมัยพระเจ้าซองจง โปรดให้บูรณะซ่อมแซมและขยายอาณาเขตของพระราชวัง ระหว่างยุคล่าอาณานิคมของญี่ปุ่น พวกญี่ปุ่นได้สร้างสวนสัตว์ สวนสาธารณะ และพิพิธภัณฑ์ไว้ที่นี่ จนในปี พ.ศ. 2526 ได้มีการย้ายสวนสัตว์และสวนสาธารณะออกไปเหลือแค่พิพิธภัณฑ์เท่านั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระราชวังชังกย็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังชังด็อก

ังด็อกกุง หรือ พระราชวังชังด็อก เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของเกาหลี สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าแทจงแห่งราชวงศ์โชซ็อน เมื่อปี พ.ศ. 1948 (ค.ศ. 1405) แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 1955 (ค.ศ. 1412) ด้วยเหตุที่พระราชวังแห่งนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของพระราชวังคย็องบก (Kyeongbok Palace) ผู้คนจึงเรียกพระราชวังแห่งนี้ว่าพระราชวังตะวันออก (East Palace) ซึ่งต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าซอนโจ กษัตริย์องค์ที่ 14 แห่งโชซ็อนได้โปรดเกล้าฯ ให้ขยายสนามหญ้าของพระราชวังเป็น 500,000 ตารางเมตร ในปี พ.ศ. 2135 (ค.ศ. 1592) ขุนศึกญี่ปุ่น โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิได้เข้ารุกรานเกาหลี กินเวลายาวนานถึง 7 ปี พร้อมกับเผาทำลายพระราชวัง ซึ่งในปีนี้เองเป็นปีที่ฉลองครบรอบ 200 ปีแห่งการสถาปนาราชวงศ์ โดยหลังจากผ่านสงคราม 7 ปีไปแล้ว พระราชวังก็ได้รับการบูรณะขึ้นอีกครั้งในปี พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1619) โดยพระเจ้าซอนโจ และองค์ชายควางแฮกุน แต่อีก 4 ปีต่อมา พระราชวังกลับเกิดเพลิงเผาวอดอีกครั้งในเหตุจลาจลที่ขุนนางไม่พอใจองค์ชายควางแฮและก่อการยึดอำนาจ สถาปนาองค์ชายนึงยางขึ้นเป็นพระเจ้าอินโจ พร้อมกับเนรเทศองค์ชายควางแฮไปเกาะคังฮวา จนพระราชวังถูกโจมตีอีกครั้งจากจักรวรรดิชิง (ประเทศจีน) แต่หลังจากนั้นพระราชวังก็ได้รับการสร้างใหม่ให้อยู่ในสภาพดั้งเดิม พระราชวังชังด็อกได้ถูกใช้เป็นที่ประทับขององค์กษัตริย์ ที่ว่าราชการ และที่ทำงานของขุนนางจนถึงปี พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) เมื่อพระราชวังคย็องบกซึ่งอยู่ข้างเคียงได้รับการสร้างขึ้นใหม่อีกครั้งโดยสมเด็จพระจักรพรรดิซุนจง (จักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรวรรดิเกาหลี) แต่อย่างไรก็ตามสมเด็จพระจักรพรรดิซุนจงนี้ก็ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังชังด็อกเรื่อยมากระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) โซล บีวอนอย่างไรก็ตาม บรรดาสมาชิกราชวงศ์ลี (ราชวงศ์จักรพรรดิเกาหลี) ที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบันซึ่งยังไม่มีสถานะเป็นประมุขแห่งรัฐอย่างเป็นทางการนั้น หากในอนาคตสถาบันจักรพรรดิเกาหลีถูกฟื้นขึ้นในฐานะสัญลักษณ์แห่งรัฐ (ระบอบประชาธิปไตยอันมีสมเด็จพระจักรพรรดิเป็นประมุข) พระราชวังแห่งนี้น่าจะเป็นสถานที่ใช้ในการประกอบพิธีบรมราชาภิเษกเพื่อการขึ้นเสวยราชย์ของสมเด็จพระจักรพรร.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระราชวังชังด็อก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังท็อกซู

ท็อกซูกุง หรือ พระราชวังท็อกซู เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี เดิมพระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับขององค์ชายวอลซาน พระเชษฐาในพระเจ้าซองจงหรือองค์ชายชาซาน ระหว่างสงครามเจ็ดปี ที่นี่ได้กลายเป็นพระราชวังหลวง โดยพระเจ้าซอนโจเป็นกษัตริย์องค์แรกที่เสด็จมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และองค์ชายควางแฮกุนได้ทรงสวมมงกุฎที่นี่เมื่อ ค.ศ. 1608 (พ.ศ. 2151) และทรงเปลี่ยนชื่อพระราชวังแห่งนี้เป็น คย็อนกุนกุง (경운궁, 慶運宮) ในปี ค.ศ. 1611 (พ.ศ. 2154) หลังจากทางราชสำนักได้กลับไปสร้างพระราชวังชังด็อกขึ้นมาใหม่ในปี ค.ศ. 1618 (พ.ศ. 2161) พระราชวังแห่งนี้ก็ได้เป็นพระราชวังรองตลอด 270 ปี (ค.ศ. 1618-1888) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น ซอกุง (พระราชวังตะวันตก) ต่อมาในปี ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) หลังจากเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองแล้ว พระเจ้าโกจงได้ทรงลี้ภัยเข้าไปประทับในสถานทูตรัสเซีย หลังจากนั้นพระองค์ได้กลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และได้เปลี่ยนชื่อเป็นคย็อนกุนกุงอีกครั้ง หลังจากทรงย้ายกลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้แล้วโปรดให้มีการขยายและเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกในพระราชวัง หลังจากทรงสละราชสมบัติให้สมเด็จพระจักรพรรดิซุนจง พระราชโอรสก็ทรงประทับที่พระราชวังแห่งนี้และได้เปลี่ยนชื่อพระราชวังเป็น ท็อกซูกุง จนถึงทุกวันนี้ และมีเรื่องเล่าอ้างอิงว่าทรงอธิษฐานให้มีพระชนม์ชีพที่ยาวนานและทรงใช้พระชนม์ชีพที่เหลือประทับที่ ฮัมนย็องจ็อน โดยปัจจุบันนี้พระราชวังท็อกซูได้เป็นพิพิธภัณฑ์มีสวนป่าและมีพระบรมรูปพระเจ้าเซจงมหาราช หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในประเทศเกาหลีใต้ หมวดหมู่:พระราชวังในประเทศเกาหลีใต้ หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระราชวังท็อกซู · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังคย็องบก

ระราชวังคย็องบก (경복궁) ตั้งอยู่ที่ตอนเหนือของโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยราชวงศ์โชซ็อน สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1937 (ค.ศ. 1394) โดยช็อง โด-จ็อน และได้กลายเป็นพระราชวังหลวงหรือวังหลักสำหรับประทับว่าราชการของกษัตริย์และเหล่าเชื้อพระวงศ์ของเกาหลีมาโดยตลอด และได้รับการต่อเติมโดยพระเจ้าแทจงและพระเจ้าเซจงมหาราช แต่บางส่วนของพระราชวังนั้นถูกเพลิงเผาวอดในช่วงที่ญี่ปุ่นบุกประเทศเกาหลี พระราชวังมีเนื้อที่ 5.4 ล้านตารางฟุต โดยในช่วงต้นราชวงศ์โชซ็อนมีตำหนักอาคารมากถึง 200 อาคาร กระทั่งปี พ.ศ. 2135 ที่กองทัพญี่ปุ่นบุกรุกประเทศเกาหลี ตำหนักต่าง ๆ ได้ถูกทุบทำลาย ถูกเผาทิ้งไปเป็นจำนวนมาก ก่อนที่จะได้รับการบูรณะซ่อมแซมและสร้างพระราชวังขึ้นมาใหม่ในแบบฉบับเดิม โดยในปัจจุบันมีตำหนักทั้งสิ้น 10 ตำหนัก คำว่า "คย็องบกกุง" ในภาษาเกาหลี แปลว่า "พระราชวังแห่งพรที่ส่องสว่าง (The Palace of Shining Blessings)".

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระราชวังคย็องบก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังคย็องฮี

คย็องฮีกุง หรือ พระราชวังคย็องฮี เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี ปัจจุบันตั้งอยู่ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ สร้างในช่วงราชวงศ์โชซ็อนตอนปลาย และพระราชวังแห่งนี้ได้เป็นพระราชวังแห่งที่ 2 ขององค์พระมหากษัตริย์ โดยพระราชวังแห่งนี้ตั้งอยู่ทางตะวันตกของโซลจึงเรียกว่า ซอ-กว็อล (พระราชวังตะวันตก) โดยตั้งแต่รัชกาลพระเจ้าอินโจถึงรัชกาลพระเจ้าชอลจงเป็นเวลา 10 รัชกาลที่ประทับที่นี่ หมวดหมู่:ราชวงศ์โชซ็อน ค.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระราชวังคย็องฮี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชอลจง

ระเจ้าชอลจง มีพระชนม์ชีพอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1831 - ค.ศ. 1863 โดยเป็นพระราชาย์ลำดับที่ 25 แห่งอาณาจักรโชซอน (ค.ศ. 1850 - ค.ศ. 1863) พระเจ้าชอลจง มีพระนามเดิมว่า ลี พยอน ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1831 โดยเป็นพระโอรสขององค์ชายจอนกเย ซึ่งเป็นพระโอรสขององค์ชายอึนนอน ดังนั้น พระองค์จึงเป็นพระราชปนัดดาขององค์ชายรัชทายาทซาโด แต่เนื่องจากพระราชวงศ์ทางฝ่ายขององค์ชายอึนนอนได้เข้ารีตนับถือศาสนาคริสต์ ทำให้องค์ชายอึนนอนและพระชายาถูกสำเร็จโทษในข้อหาข้องแวะคริสต์ศาสนาใน ค.ศ. 1801 จากเหตุการณ์สังหารหมู่ปีชินยู และต่อมาพระมารดาของพระองค์ คือ พระชายายงซอง ก็ถูกสำเร็จโทษด้วยข้อหาเดียวกัน ทำให้พระองค์ต้องทรงลี้ภัยไปเกาะเชจูและเปลี่ยนพระนามเป็น ลีวอนบอม และต่อมาเมื่อองค์ชายจอนกเยก็สิ้นพระชนม์ พระองค์จำต้องตรากตรำทำนาเลี้ยงชีพอยู่บนเกาะเชจู ด้วยเพราะการแก่งแย่งอำนาจของตระกูลคิมแห่งเมืองอันดง ทำให้สมาชิกพระราชวงศ์องค์อื่นๆ ตกอยู่ในสภาพตกต่ำเช่นกัน ในปี ค.ศ. 1849 พระเจ้าฮอนจงสิ้นพระชนม์โดยไม่มีได้สถาปนารัชทายาทไว้ พระอัยยิกาคิมซึ่งเป็นมเหสีของพระเจ้าซุนโจ ทรงมีหน้าที่ต้องเป็นผู้เลือกสรรพระมหากษัตริย์องค์ต่อไปตามธรรมเนียม ทำให้พระนางขื้นมามีอำนาจแทนตระกูลโจที่นำโดยพระพันปี และพระนางทรงต้องการกษัตริย์หุ่นเชิดอีกพระองค์ จึงส่งขันทีไปเรียกตัวลีวอนบอมกลับมาจากเกาะเชจู ซึ่งพระองค์มีความใกล้ชิดตรงสายพระโลหิตกับพระราชวงศ์ที่สุด โดยเมื่อขันทีไปถึงเกาะเชจู ก็คำนับลีวอนบอมทั้งๆ ที่ลีวอนบอมกำลังทำนาอยู่อย่างนั้น และมีชีวิตที่แร้งแค้นยากลำบาก ในปี ค.ศ. 1850 ลีวอนบอมก็ทรงขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าชอลจง แต่กระนั้นด้วยความที่ต้องทรงหลบหนีไปเกาะเชจูตั้งแต่ยังพระเยาว์ ทำให้ทรงไม่มีโอกาสจะเรียนหนังสือเหมือนสมาชิกพระราชวงศ์องค์อื่นๆ และทรงอ่านคำปฏิญาณในพิธีขึ้นครองราชย์ของพระองค์ไม่ออก กล่าวได้ว่าทรงเป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์เดียวที่ทรงพระอักษรไม่ออก และกล่าวกันว่ามีพระจริยวัต รเหมือนชาวประมง และเสวยน้ำจันท์มามายนัก แม้พระเจ้าชอลจลจะพระชนมายุ 18 พรรษาแล้ว แต่พระอัยยิกาคิมก็ยังคงยึดอำนาจเป็นผู้สำเร็จราชการแทนและจัดแจงให้พระเจ้าชอลจลอภิเษกกับ มเหสีชอลอิน จากตระกูลคิมแห่งอันดง และทำการแก้แค้นตระกูลโจแห่งพงยาง โดยการขับขุนนางตระกูลโจออกจากราชสำนักไปหมดสิ้น เหลือแต่พระพันปีโจโดดเดี่ยวเดียวดายในพระราชวัง แต่เหตุการณ์ก็พลิกผัน เมื่อพระอัยยิกาคิมสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1857 อำนาจของตระกูลคิมจึงเสื่อมลงและเป็นโอกาสให้พระพันปีโจฟื้นฟูอำนาจของตระกูลโจขึ้นมาอีกครั้ง จนกระทั่งปี ค.ศ. 1863 พระเจ้าชอลจงสวรรคตโดยยังไม่ทันจะทรงมีรัชทายาท กล่าวกันอีกว่าแม้จะทรงครองราชย์มา 13 ปี แต่พระเจ้าชอลจงก็ยังมีพระจริยวัตรไม่สง่างามเหมือนชาวประมงและก็ยังทรงพระอักษรไม่ออกอยู่เหมือนเดิม แต่ในปี ค.ศ. 1897 ภายหลังจากที่พระเจ้าโกจงสถาปนาพระองค์เองเป็นจักรพรรดิแห่งเกาหลี จึงทรงแต่งตั้งพระเจ้าชอลจงเป็น ฮ่องเต้ชัง (章皇帝).

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าชอลจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องจง

ระเจ้าช็องจง (Jeongjong) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าช็องจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน

็องโจ (Jeongjo; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1752 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1800) เป็นพระมหากษัตริย์เกาหลีพระมหากษัตริย์แห่งเกาหลีพระองค์ที่ 22 จากราชวงศ์โชซ็อน สืบพระราชสมบัติต่อจากพระเจ้าย็องโจ พระอัยกาธิราช เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามย็องจง

ระเจ้าเมียงจง (Myeongjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้ามย็องจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามุนจง

ระเจ้ามุนจง (Munjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้ามุนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าย็องโจ (ค.ศ. 1694 - ค.ศ. 1776) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 21 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1724 - ค.ศ. 1776) พระเจ้าย็องโจทรงปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายประการ ทรงเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ได้รับยกย่องที่สุดแห่งราชวงศ์โชซ็อน คู่กับพระนัดดา คือ พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน พระเจ้าย็องโจทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวที่สุดของราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินจง

ระเจ้าอินจง (Injong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าอินจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินโจ

ระเจ้าอินโจ (인조 仁祖 ค.ศ. 1595 ถึง ค.ศ. 1649) ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 16 (ค.ศ. 1623 ถึง ค.ศ. 1649) แห่งราชวงศ์โชซอน ทรงได้รับราชบัลลังก์มาจากการยึดอำนาจของฝ่ายตะวันตก หรือ ซออิน (서인 西人) จากองค์ชายควางแฮใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าอินโจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮย็อนจง

็อนจง (Hyeonjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าฮย็อนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮอนจง

ระเจ้าฮอนจง (Heonjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าฮอนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮโยจง

ระเจ้าฮโยจง (효종; พ.ศ. 2162 ถึง พ.ศ. 2202) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 17 (พ.ศ. 2192 ถึง พ.ศ. 2202) แห่งราชวงศ์โชซอน ในรัชสมัยของพระองค์โชซอนต้องทำสงครามกับรัสเซียตามคำขอของราชวงศ์ชิง และทรงมีแผนการที่จะบุกจีนแก้แค้นสงครามกับแมนจูแต่สิ้นพระชนม์เสียก่อน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าฮโยจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจุงจง

ระเจ้าจุงจง (ค.ศ. 1488 - ค.ศ. 1544) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 11 ของ อาณาจักรโชซ็อน (ค.ศ. 1506 - ค.ศ. 1544).

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าจุงจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าทันจง

ระเจ้าดันจง (단종 端宗)(พ.ศ. 1984 ถึง พ.ศ. 2000) ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 6 ของราชวงศ์โชซอน (พ.ศ. 1995 ถึง พ.ศ. 1998) ขณะที่พระเจ้ามุนจงพระบิดาสิ้นพระชนม์นั้น พระเจ้าดันจงทรงอายุได้แค่ 12 ชันษา จึงต้องให้ฮวางโบอิน และ คิมจงซอ เป็นผู้สำเร็จราชการแทน แต่คิมจงซอนั้น ต้องการแผ่ขยายอำนาจในราชสำนัก จึงชนเข้ากับการขยายอำนาจขององค์ชายซูยัง และองค์ชายอันพยอง พระปิตุลา ในพ.ศ. 1996 องค์ชายซูยังก็ได้ทำการยึดอำนาจสังหารฮวางโบอินและคิมจงซอที่หน้าพระราชวังเคียงบก และได้สังหารองค์ชายอันพยองและใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าทันจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคย็องจง

ระเจ้าคย็องจง (Gyeongjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าคย็องจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงยัง

ระเจ้าคงยังแห่งโครยอ (ค.ศ. 1345 - ค.ศ. 1394) เป็นพระราชาองค์ที่ 34 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1389 - 1392) พระเจ้าคงยางพระนามเดิมว่าองค์ชายช็องชัง (정창군; 定昌君) เป็นพระโอรสขององค์ชายช็องว็อน (정원군; 定遠君) ซึ่งสืบสายพระโลหิตมาจากพระเจ้าชินจง ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าคงยัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซองจง

ระเจ้าซองจง (Seongjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าซองจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซุกจง

ระเจ้าซุกจง (ค.ศ. 1661 - ค.ศ. 1720) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1674 - ค.ศ. 1720) พระเจ้าซุกจงประสูติเมื่อ ค.ศ. 1661 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฮย็อนจง กับพระมเหสีมยองซอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อ ค.ศ. 1667 ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1674 พระนางอินซอน พระมเหสีของพระเจ้าฮโยจง สิ้นพระชนม์ จึงเกิดข้อถกเถียงกันเรื่องการใส่พระภูษาไว้ทุกข์ของพระนางจางรยอล พระมเหสีของพระเจ้าอินโจ ขึ้นอีกครั้ง เรียกว่า ความขัดแย้งเรื่องพิธีปีคาบิน (갑인예송, 甲寅禮訟) พระเจ้าฮย็อนจงทรงเลือกที่จะทำตามข้อเสนอของขุนนางฝ่ายใต้ นำโดยฮอมก (허목, 許穆) ซึ่งเสนอให้นางจางรยอลไว้ทุกข์แบบแทกง (대공, 大功 9 เดือน พระภูษาหยาบ) ทำให้ฝ่ายใต้ขึ้นมามีอำนาจแทนฝ่ายตะวันตก ซึ่งมีอำนาจอยู่ก่อนหน้า ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าฮย็อนจงสวรรคต พระเจ้าซุกจงจึงทรงขึ้นครองราชย์ในช่วงเวลาที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ รัชกาลของพระเจ้าซุกจงเป็นสมัยที่ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายต่างๆของขุนนางดุเดือดที่สุด เรียกได้ว่าไม่มีเลยสักวันเดียวในรัชสมัยของพระองค์ที่จะปราศจากการทุ่มเถียงระหว่างฝ่ายใต้และฝ่ายตะวันตก ขณะที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ ฝ่ายตะวันตกก็ถูกกีดกันออกจากราชการกันเป็นส่วนใหญ่ แต่แล้วเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าซุกจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซุนโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าซุนโจ (พ.ศ. 2333-พ.ศ. 2377) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 23 แห่ง ราชวงศ์โชซอน ของเกาหลี (ครองราชย์ พ.ศ. 2343-พ.ศ. 2377) ด้วยความที่พระเจ้าซุนโจครองราชย์แต่ยังพระเยาว์ ทำให้อำนาจการปกครองตกแก่พระปัยยิกาคิมและตระกูลคิมแห่งอันดง การทุจริตฉ้อราชย์บังหลวงและการกดขี่ชาวคริสต์ทำให้สมัยรุ่งเรืองของโชซอนตั้งแต่สมัย พระเจ้ายองโจ นั้นจบลง ลี คง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าซุนโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าซ็อนโจ (선조 宣祖) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซ็อนองค์ที่ 14 (พ.ศ. 2110 ถึง พ.ศ. 2151) รัชสมัยของพระองค์เป็นเวลาที่วิกฤตที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีและมีเหตุการณ์สำคัญหลายอย่าง ทั้งการรุกรานของญี่ปุ่นและการแบ่งฝ่ายของกลุ่มซานิมออกเป็นฝ่ายตะวันออก และฝ่ายตะวันตก ที่จะส่งผลต่อการเมืองอาณาจักรโชซ็อนไปอีกหลายร้อยปี แม้ว่าในสมัยของพระเจ้าซ็อนโจจะมีผู้มีความสามารถมากมาย เช่น ลีซุนชิน ลีฮวาง ลีอี แต่ความแตกแยกก็ทำให้โชซ็อนต้องเผชิญกับศึกหนัก องค์ชายฮาซง เป็นพระโอรสขององค์ชายทอกกึง ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงกับพระสนมอันชางบิน เป็นองค์ชายธรรมดาที่ห่างไกลจากราชบัลลังก์และไม่มีขุนนางใดสนับสนุนให้มีอำนาจ แต่ในพ.ศ. 2110 พระเจ้าเมียงจง สิ้นพระชนม์โดยที่ไม่มีทายาท บรรดาขุนนางจึงสรรหาพระราชวงศ์ที่พระเยาว์มาขึ้นครองราชย์ องค์ชายฮาซงจึงถูกเลือกและขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซ็อนโจ และเลื่อนสถานะของพระบิดาและพระมารดาเป็นแทวอนกุนและแทกุนบูอิน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทจง

ระเจ้าแทจง ((13 มิถุนายน ค.ศ.1367 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422, ครองราชย์ ค.ศ.1400 - ค.ศ.1418) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของ พระเจ้าเซจงมหาร.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าแทจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจ

ระเจ้าแทโจ (Taejo; 태조) มีความหมายว่า "มหาบรรพบุรุษ" เป็นพระนามของกษัตริย์และจักรพรรดิเกาหลีหลายพระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าแทโจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าแทโจ (ค.ศ. 1335 - ค.ศ. 1408) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนของเกาหลี (ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1398) พระนามเดิมว่า อี ซ็อง-กเย ทรงย้ายเมืองหลวงของเกาหลีไปยังเมืองฮันซ็องและตั้งลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo-Confucianism) เป็นศาสนาประจำชาต.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโกจง

ระเจ้าโกจง (Gojong) สามารถหมายถึงกษัตริย์เกาหลีหลายพระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าโกจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเยจง

ระเจ้าเยจง (Yejong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าเยจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซจงมหาราช

ระเจ้าเซจงมหาราช (พ.ศ. 1940 ถึง พ.ศ. 1993) เป็นพระมหากษัตริย์เกาหลีรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์โชซ็อน ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1961 ถึง..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าเซจงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซโจ

ระเจ้าเซโจ (세조 世祖) (ค.ศ. 1417 ถึง ค.ศ. 1468) กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1455 ถึง ค.ศ. 1468) เป็นกษัตริย์ที่ถูกประณามมากที่สุดพระองค์หนึ่งเพราะแย่งราชบัลลังก์มาจากพระนัดดาคือ พระเจ้าทันจง ที่ยังทรงพระเยาว์อย่างไม่เป็นธรรม.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและพระเจ้าเซโจ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

ยู ซองลยอง

ยู ซองลยอง (ค.ศ. 1542-ค.ศ. 1607) เป็นขุนนางคนสำคัญของราชวงศ์โชซอน เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1542 ในปลายรัชสมัยพระเจ้าจุงจง ครอบครัวของยูเป็นยังบันหรือบัณฑิตทั้งบ้านทั้งปู่และพ่อต่อมาได้เข้ารับราชการในราชสำนัก ทำความดีความชอบจนในปี ค.ศ. 1590 ได้เป็นเสนาบดีฝ่ายขวาปีต่อมาได้เป็นเสนาบดีฝ่ายซ้ายและปีต่อมาได้เป็น อัครมหาเสนาบดี ยูมีส่วนช่วยอย่างมากใน สงครามป้องกันประเทศจากการรุกรานของญี่ปุ่น ยูถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1607 ขณะอายุได้ 65 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2085 หมวดหมู่:ขุนนางเกาหลี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน หมวดหมู่:การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135-2141).

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและยู ซองลยอง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในเกาหลี

ระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่ประเทศเกาหลีเมื่อ พ.ศ. 915 โดยสมณทูตซุนเตา เดินทางจากประเทศจีนแผ่นดินใหญ่เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาจักรโคกูรยอ คือ ประเทศเกาหลีในปัจจุบัน พระพุทธศาสนาได้ขยายเข้ามาในเกาหลีอย่างรวดเร็ว เพียงระยะเวลา 20 ปี ก็มีการสร้างวัดขึ้นมากมาย เฉพาะเมืองหลวงแห่งเดียว 9 วัด ประเทศเกาหลีในสมัยก่อนนั้นประกอบด้วย 3 อาณาจักรคือ โคกูรยอ แพ็กเจ และชิลลา แต่ผู้นำทั้ง 3 อาณาจักรก็นับถือพระพุทธศาสนา และให้การสนับสนุนกิจการต่าง ๆ อันที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเสมอ และที่สำคัญได้ทรงถือว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ เพราะคำสอนของพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่ส่งเสริม และให้การศึกษาแก่ประชาชน และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน พร้อมทั้งสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชาติ พระพุทธศาสนาจึงมีความเจริญรุ่งเรืองตลอดม.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและศาสนาพุทธในเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยใหม่

กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ สมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาหนึ่งของอารยธรรมต่างๆ ซึ่งในช่วงนี้ อารยธรรมนั้น ๆ จะเริ่มมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เริ่มมีแนวคิดที่ยึดหลักความจริง หลุดพ้นจากความเชื่องมงายหลายอย่างในอดีต นักวิชาการได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ. 1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ นับตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายเป็นต้นมา ผู้คนเริ่มสงสัยในความเชื่อและเนื้อหาตำราเรียนแบบเก่า ๆ ที่เชื่อกันมายาวนาน และไม่นาน ความเชื่อเก่าๆ และอำนาจการปกครองที่เด็ดขาดของศาสนจักรเริ่มเสื่อมถอยลง ผู้คนเริ่มคิดได้ว่ามนุษย์สามารถลิขิตชีวิตของตนได้ด้วยการกระทำของตนเอง จึงเริ่มดิ้นรนเพื่อชีวิตที่ดีกว่า และมีการคิดค้นทฤษฎี สิ่งประดิษฐ์ รวมไปถึงศิลปะขึ้นมากมาย ทำให้เข้าสู่สมัยใหม่ในที่สุด ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่ในช่วงปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ซึ่งการเริ่มต้นของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในช่วงปลายสมัยกลาง เป็นปัจจัยสำคัญที่ชักนำโลกเข้าสู่สมัยใหม่ คือ วิทยาการต่างๆ จากโรมัน เริ่มถูกฟื้นฟูขึ้นมาและแผ่กระจายไปในแถบยุโรป เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนในช่วงปลายของสมัยใหม่ วิทยาการถูกใช้ไปในทางการเข่นฆ่ากันเองของมนุษย์ เกิดสงครามโลก สังหารผู้คนไปหลายสิบล้านคน จนในที่สุดก็มีการตระหนักถึงการใช้วิทยาการอย่างถูกทาง และมีการควบคุมเทคโนโลยีที่อาจก่ออันตราย แต่ในขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สมัยใหม่สิ้นสุดลง และเข้าสู่ สมัยปัจจุบัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1945 เป็นต้นมา หมวดหมู่:ยุคสมัยในประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (First Sino-Japanese War) หรือ สงครามญี่ปุ่น-ชิง หรือ สงครามเจี่ยอู่ (甲午戰爭) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิชิงกับจักรวรรดิญี่ปุ่นเพื่อครอบครองคาบสมุทรเกาหลี สงครามนี้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของราชวงศ์ชิง และการประสบผลสำเร็จของญี่ปุ่นที่พัฒนาชาติให้ทันสมัยตามแบบชาติตะวันตกซึ่งเริ่มมาตั้งแต่จักรพรรดิเมจิขึ้นครองราชย์ ส่งผลให้อิทธิพลของราชวงศ์ชิงเสื่อมถอยลงจนนำไปสู่การปฏิวัติในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ

นธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ หรือ สนธิสัญญาหม่ากวัน ในภาษาจีน เป็นสนธิสัญญาระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศจีน โดยราชวงศ์ชิง เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

หฺวัง ไถจี๋

ฉงเต๋อ (28 พฤศจิกายน 1592 – 21 กันยายน 1643) หรือชื่อตัวว่า หฺวัง ไถจี๋ (黃台吉) หรือ หง ไท่จี๋ (洪太極) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ชิง ซึ่งรวมแผ่นดินจีนที่นู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (努爾哈赤) บิดา ก่อตั้งขึ้นแต่ตายเสียก่อนการจะสำเร็จ หฺวัง ไถจี๋ ยังได้เปลี่ยนนามชนชาตินฺหวี่เจิน (女眞; Jurchen) เป็นหมั่นจู๋ (滿族; Manchu) คือ แมนจู และเปลี่ยนนามราชวงศ์จินตอนปลายที่บิดาตั้งไว้เป็นราชวงศ์ชิง ราชวงศ์นี้ดำรงอยู่ต่อมาถึงปี 1912 เนื่องจากนู่เอ๋อร์ฮาชื่อยังไม่ทันได้ตั้งตัวเป็นเจ้าขณะมีชีวิตอยู่ หฺวัง ไถจี๋ จึงเฉลิมยศพระมหากษัตริย์ให้บิดาในภายหลัง ฉะนั้น จึงถือกันว่า นู่เอ๋อร์ฮาชื่อเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ชิง และหฺวัง ไถจี๋ เป็นทุติยกษัตร.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและหฺวัง ไถจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮันกึล

"ฮันกึล" จะเห็นว่าใน 1 คำ ประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม" ฮันกึล (한글, Hangeul, Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัวอักษรฮันจา ฮันจานั้นหมายถึงตัวอักษรจีนที่ใช้ในภาษาเกาหลีก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดยพระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕).

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและอักษรฮันกึล · ดูเพิ่มเติม »

อี กู

อี กู (29 ธันวาคม พ.ศ. 2474 – 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2548) หรือพระนามในภาษาญี่ปุ่นว่า ริ คีว มีพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า เจ้าชายโฮอึน เป็นพระโอรสในเจ้าชายอึยมิน มกุฎราชกุมารแห่งเกาหลี กับเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิโคจงและเป็นผู้อ้างสิทธิในราชสันตติวงศ์เกาหลีช่วงปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและอี กู · ดูเพิ่มเติม »

อี ว็อน

อี ว็อน หรือ เจ้าชายว็อนแห่งเกาหลี (ประสูติ ค.ศ. 1962 -) ทรงเป็นเชื้อพระวงศ์ผู้สืบทอดราชบัลลังก์จักรพรรดิแห่งเกาหลีอย่างไม่เป็นทางการ โดยพระองค์เป็นพระโอรสองค์แรกในเจ้าชายแกปแห่งเกาหลี ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์ที่ 9 ในเจ้าชายกังซึ่งต่อมาในภายหลังเป็นพระราชโอรสบุญธรรมในเจ้าชายโฮอุนแห่งเกาหลี อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันพระองค์ทรงเป็นผู้จัดการบริษัท ฮุนได โฮมส์ ช็อปปิ้ง จำกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและอี ว็อน · ดูเพิ่มเติม »

อี อึน

อี อึน (20 ตุลาคม พ.ศ. 2440 – 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2513) ต่อมามีพระนามว่า เจ้าชายย็อง มีพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า มกุฎราชกุมารอึยมิน เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิโคจง กับเจ้าหญิงพระชายาซุนฮ็อน พระองค์เป็นผู้นำราชวงศ์โชซ็อนลำดับที่ 28 เป็นนายทหารประจำกองทัพญี่ปุ่น และเป็นมกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของเกาหลีด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและอี อึน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ

หนูเอ่อร์ฮาชื่อ(แมนจู: 1 30px;; 21 กุมภาพันธ์ 1559 – 30 กันยายน 1626) หรืออ้ายซินเจว๋หลัวหนูเอ่อร์ฮาชื่อ(Chinese: Aixin-Jueluo Nǔ'ěrhāchì 愛新覺羅努爾哈赤)หรือสมเด็จพระจักรพรรดิชิงไท่จู่ เป็นปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุนจง

ักรพรรดิยุงฮีแห่งจักรวรรดิเกาหลี (융희제) หรือ สมเด็จพระเจ้าซุนจง (สมเด็จพระจักรพรรดิซุนจงเมอยองโดนินซองกุงแห่งจักรวรรดิเกาหลี) (순종) (25 มีนาคม ค.ศ. 1874 – 24 เมษายน ค.ศ. 1926) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาหรือสมเด็จพระจักรพรรดิลำดับที่ 2 แห่งจักรวรรดิเกาหลี เป็นพระประมุข ลำดับที่ 27 ถ้านับจากสมัยราชอาณาจักรโชซอน และเป็นพระประมุขพระองค์สุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชของเกาหลี โดยพระองค์ทรงขึ้นเสวยราชย์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและจักรพรรดิซุนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมย็องซ็อง

ักรพรรดินีมย็องซ็องแห่งเกาหลี (มย็องซ็องฮวังฮู; 19 ตุลาคม 1851 – 8 ตุลาคม 1895) เป็นพระมเหสีของจักรพรรดิควางมูแห่งจักรวรรดิเกาหลี (พระเจ้าโกจง) พระจักรพรรดินีมย็องซ็องทรงมีบทบาทอย่างมากในการปกครองและปฏิรูปประเทศในช่วยปลายสมัยราชวงศ์โชซอน และเรื่องราวของพระนางยังคงเป็นประวัติศาสตร์หน้าสำคัญทั้งในด้านการต่อสู้ของวีรสตรีผู้รักชาติ และประวัติศาสตร์อันเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักประวัติศาสตร์และนักอาชญวิทยาต่าง ๆ ที่ต่างพยายามค้นหาหลักฐานการสวรรคตที่แท้จริงของพระนาง ซึ่งทั้งฝ่ายเกาหลีเองหรือฝ่ายญี่ปุ่นปิดบังตลอดม.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและจักรพรรดินีมย็องซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคจง

ักรพรรดิโคจง (เกาหลี:광무제, 光武帝) หรือ สมเด็จพระเจ้าโกจง (고종 광무제, ฮันจา:高宗光武帝, Gojong of Korea) (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2395–21 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโชซอน ลำดับที่ 26 และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเกาหลีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและจักรพรรดิโคจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเกาหลี

ักรวรรดิโชซ็อน (The Greater Korean Empire หรือ ประเทศโชซ็อน คือราชอาณาจักรโชซ็อนที่ประกาศยกสถานะของรัฐจากราชอาณาจักรเป็นจักรวรรดิ ตามพระบรมราชโองการของพระเจ้าโกจง พร้อมกับการเปลี่ยนพระอิสริยยศจาก กษัตริย์ เป็น จักรพรรดิ โดยพระองค์มีพระนามว่า จักรพรรดิควางมูแห่งเกาหลี เพื่อให้ประเทศเอกราชจากจักรวรรดิชิง และยกสถานะของประเทศมีความเท่าเทียมกับจักรวรรดิชิง และ จักรวรรดิญี่ปุ่น แม้ว่าโดยพฤติการณ์แล้วสถานะของเกาหลีไม่ได้เข้าข่ายการเป็นจักรวรรดิเลยก็ตาม จนกระทั่งถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครองในปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและจักรวรรดิเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชจู

กาะเชจู (เกาะ) จังหวัดเชจู (ชื่ออย่างเป็นทางการ จังหวัดปกครองตนเองพิเศษเชจู) เป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดในเกาหลีใต้ และมีลักษณะเป็นเกาะโดยเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในเกาหลีใต้ ตั้งอยู่บนช่องแคบเกาหลี, อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ใต้ของจังหวัดช็อลลาใต้ เป็นจังหวัดที่จังหวัดเชจูได้แยกออกมามีฐานะเป็นจังหวัดเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและจังหวัดเชจู · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรเกาหลี

มุทรเกาหลี (Korean Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตร.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและคาบสมุทรเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ซังกุง

ันซังกุง ซังกุงคนสุดท้าย ซังกุง เป็นตำแหน่งขั้นจอง 5 พุม ในแนเมียงบู (ฝ่ายใน) เป็นตำแหน่งสูงสุดเท่าที่นางรับใช้ในวังจะมีได้ หากจะขึ้นสูงกว่านี้ จะต้องถวายตัวเป็นพระสนม สัญลักษณ์ที่โดดเด่นที่สุดของซังกุงคือ ชุดสีเขียว และผมปลอมขนาดใหญ.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและซังกุง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปูซาน

ปูซาน หรือ พูซัน เป็นเมืองท่าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 3.65 ล้านคน และปูซานยังคงเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 2 ของประเทศรองจาก โซล บริเวณที่แออัดของปูซานตั้งอยู่บริเวณหุบเขาแคบระหว่างแม่น้ำ นักดง และ แม่น้ำซูหยอง ปูซานได้เคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2002 และงานเอเปค 2005 ที่ผ่านมา และยังคงเป็นเมืองหนึ่งที่ร่วมจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2002 นอกจากนี้ในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2548 ปูซานได้เข้าร่วมประมูลเพื่อจะเป็นเจ้าภาพจัดงานแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและปูซาน · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมฮวาซ็อง

ป้อมฮวาซ็อง(華城) (수원 화성; Hwaseong Fortress) ตั้งอยู่ที่เมืองซูว็อน ทางตอนใต้ของกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ สร้างขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและป้อมฮวาซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

แช เจ-กง

แช เจ-กง (Chae Je-gong; ค.ศ. 1720 - 1799)) เป็นขุนนางที่รับราชการมาตั้งแต่รัชกาล พระเจ้าย็องโจ โดยเป็นขุนนางที่สนับสนุน องค์ชายอี ซัน ร่วมกับขุนนางอีกหลายคน ได้แก่ ฮง กุก-ย็อง, แพ็ก ดง-ซู เมื่อองค์ชายอี ซันได้ขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าช็องโจ ก็แต่งตั้งฮง กุก-ย็อง เป็นราชเลขา, แช เจ-กง เป็นอัครมหาเสนาบดี เมื่อองค์ชายอี ซันโปรดให้ตั้งหอสมุด คยูจังกัก ขึ้นในปี ค.ศ. 1776 ก็โปรดให้ แช เจ-กง เป็นหัวหน้าของคยูจังกัก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและแช เจ-กง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำฮัน (ประเทศเกาหลี)

แม่น้ำฮัน (Han River; ฮันกึล: 한강;ฮันจา: 漢江) เป็นแม่น้ำบนคาบสมุทรเกาหลี, ประเทศเกาหลีใต้ น้ำแม่มีความยาวทั้งสิ้น 497.5 กิโลเมตร มีต้นกำเนิดมาจากภูเขาแทแบ็ก และไหลลงสู่ทะเลเหลือง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและแม่น้ำฮัน (ประเทศเกาหลี) · ดูเพิ่มเติม »

แทว็อนกุน

แทว็อนกุน เป็นตำแหน่งของราชวงศ์โชซ็อน สำหรับพระราชบิดาของกษัตริย์ที่ไม่ได้ครองราชย์เอง แต่พระโอรสนั้นครองราชย์ ปกติแล้วในคราวที่แต่งตั้งแทว็อนกุนนั้น ตัวแทว็อนกุนเองจะสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ในราชวงศ์โชซ็อน มีแทว็อนกุน 4 พระองค์ ที่จริงพระราชบิดาของกษัตริย์ที่ไม่ได้ครองราชย์นั้นมีมากกว่านี้ แต่เมื่อพระโอรสขึ้นครองราชย์ก็มักจะแต่งตั้งพระราชบิดาของพระองค์เป็นกษัตริย์เสมอ.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและแทว็อนกุน · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและโซล · ดูเพิ่มเติม »

เชมัน

มัน แชมัน หรือ เชมัน (shaman) เป็นชื่อเรียกของกลุ่มบุคคลที่เชื่อว่ามีความสามารถในทางวิญญาณ มีความสามารถในการรักษาโรคด้วยวิญญาณ ในบางวัฒนธรรมจะเชื่อว่าสามารถควบคุมสภาพอากาศ สามารถเดินทางไประหว่างโลกมนุษย์ โลกวิญญาณ นรก และสวรรค์ พบได้มากในทางเหนือของทวีปเอเชียและตอนกลางของทวีปเอเชีย เชมัน แบ่งออกได้หลากหลายประเภท หลัก ๆ ก็คือ คนทรง (medium) ผู้เผยพระวจนะ (prophet) ผู้เห็นสิ่งต่าง ๆ (seer) และ ผู้ร่ายคาถา (sorcerer) เชมันมีชื่อเรียกแตกต่างไปตามแต่ภาษา วัฒนธรรม และลักษณะของความสามารถ เช่น คนทรง มิโกะ องเมียว บ้างเรียก พ่อมด หรือ แม่มด ส่วนในประเทศญี่ปุ่น ก็มีผู้ใช้คาถาสาปแช่งเรียกชื่อว่า พระนางฮิมิโกะ ถือเป็นส่วนหนึ่งของเชมันเช่นกัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและเชมัน · ดูเพิ่มเติม »

เกาหลี

กาหลี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคังฮวา

right เกาะคังฮวา เป็นเกาะตั้งอยู่ปากแม่น้ำฮั่น ทางชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรเกาหลี มีเนื้อที่ประมาณ 302.4 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตประเทศเกาหลีใต้ ใกล้กับชายแดนเกาหลีเหนือ มีประชากรประมาณ 65,000 คน ปรากฏครั้งแรกในรัชกาลพระเจ้าจุงจงเมื่อองค์ชายยอนซันกุนกษัตริย์องค์ก่อนและเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดากับพระเจ้าจุงจงได้ถูกเนรเทศมาที่เกาะนี้ และสิ้นพระชนม์ที่นี่หลังจากนั้นก็มาถึงสมัยองค์ชายควางแฮที่ถูกเนรเทศมาที่เกาะนี้ ค.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและเกาะคังฮวา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายย็อนซัน

้าชายย็อนซัน (ค.ศ. 1476 - ค.ศ. 1506) เป็นประมุของค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1494 - ค.ศ. 1506) ทรงได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์เกาหลีที่อื้อฉาวที่สุด รัชสมัยของพระองค์มีแต่ความวุ่นวาย จนทรงถูกกระทำรัฐประหารยึดอำนาจใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและเจ้าชายย็อนซัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายควังแฮ

้าชายควังแฮ (광해군 光海君; ค.ศ. 1574 — ค.ศ. 1641) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 15 แห่งราชอาณาจักรโชซอนโดยครองราชย์ในช่วงปี ค.ศ. 1608 — ค.ศ. 1623 แต่ไม่ได้รับพระนามกษัตริย์เนื่องจากถูกยึดอำนาจจากฝ่ายตะวันตกใน ค.ศ. 1623 ในฐานะองค์ชายรัชทายาทองค์ชายควังแฮยืนหยัดนำทัพเกาหลีต่อต้าน การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135–2141) ในขณะที่ พระเจ้าซอนโจ พระบิดาหลบหนีไปยังประเทศจีน หลังการรุกรานของญี่ปุ่นองค์ชายควังแฮได้รับการสนับสนุนจากขุนนางฝ่ายเหนือใหญ่หรือแทบุก (대북 大北) ให้ขึ้นครองราชสมบัติแต่ถูกต่อต้านโดยขุนนางฝ่ายเหนือเล็กหรือโซบุก (소북 小北) ที่สนับสนุนองค์ชายยองชัง พระอนุชาต่างมารดาที่ประสูติจากพระมเหสี ในรัชสมัยของพระองค์ขุนนางฝ่ายเหนือใหญ่ได้ทำการปราบปรามขุนนางฝ่ายเหนือเล็กอย่างรุนแรงรวมทั้งผลักดันให้มีการสำเร็จโทษประหารชีวิตองค์ชายยองชังและกักขังพระพันปีอินมก จนเป็นข้ออ้างให้ขุนนางฝ่ายตะวันตกก่อการรัฐประหารในปีค.ศ. 1623 ล้มองค์ชายควังแฮลงจากราชบัลลังก์และเนรเทศไปยังเกาะคังฮวาในที.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

เปียงยาง

ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ. 427 ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโคกูรยอ มีชื่อว่าเมืองเปียงยาง จนถึงปี ค.ศ. 668 ที่อาณาจักรโคกูรยอล่มสลายลง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและ12 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและ20 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์โชซ็อนและ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชวงศอีราชวงศ์ลีราชวงศ์โชซอนราชวงศ์โชซอน (ลี)ราชวงศ์โชซอน(ลี)ราชวงศ์โจซอนราชวงศ์เกาหลีราชสำนักแห่งเกาหลีราชสำนักโจซอนราชอาณาจักรโชซ็อนอาณาจักรโชซอนอาณาจักรโชซ็อนอาณาจักรโซซอนโชซอนโชซ็อน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »