โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์โครยอ

ดัชนี ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

98 ความสัมพันธ์: ชาวอาหรับชาวแมนจูชิลลาพ.ศ. 1435พ.ศ. 1438พ.ศ. 1443พ.ศ. 1446พ.ศ. 1454พ.ศ. 1456พ.ศ. 1461พ.ศ. 1469พ.ศ. 1470พ.ศ. 1478พ.ศ. 1479พ.ศ. 1536พ.ศ. 1552พ.ศ. 1562พ.ศ. 1669พ.ศ. 1670พ.ศ. 1678พ.ศ. 1713พ.ศ. 1726พ.ศ. 1747พ.ศ. 1754พ.ศ. 1935พระไตรปิฎกพระเจ้าชังแห่งโครยอพระเจ้าชินจงแห่งโครยอพระเจ้าชุงมกพระเจ้าชุงฮเยพระเจ้าชุงจองพระเจ้าชุงซอนพระเจ้าชุงซุกพระเจ้าชุงนยอลพระเจ้าช็องจงที่ 1 แห่งโครยอพระเจ้าช็องจงที่ 2 แห่งโครยอพระเจ้ามกจงแห่งโครยอพระเจ้ามย็องจงแห่งโครยอพระเจ้ามุนจงพระเจ้าวอนจงพระเจ้าวอนจงแห่งโครยอพระเจ้าอินจงพระเจ้าอินจงแห่งโครยอพระเจ้าอูแห่งโครยอพระเจ้าอีจงแห่งโครยอพระเจ้าฮย็อนจงพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอพระเจ้าฮอนจงพระเจ้าฮึยจงพระเจ้าฮเยจง...พระเจ้าทอกจงพระเจ้าคยองซุนพระเจ้าคย็องจงแห่งโครยอพระเจ้าควังจงแห่งโครยอพระเจ้าคังจงพระเจ้าคงมินพระเจ้าคงยังพระเจ้าซองจงแห่งโครยอพระเจ้าซอนจงพระเจ้าซุกจงพระเจ้าแทโจพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าแทโจแห่งโครยอพระเจ้าโคจงแห่งโครยอพระเจ้าเยจงกษัตริย์การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกลกุบไล ข่านภาษามองโกเลียภาษาเกาหลีราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์จินราชวงศ์ซ่งราชวงศ์โชซ็อนราชวงศ์เหลียววัดแฮอินซาศาสนาพุทธสมบูรณาญาสิทธิราชย์อาณาจักรพัลแฮอาณาจักรโคกูรยอจักรพรรดิซุนจงจักรพรรดินีคีจักรพรรดิโคจงจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจงจักรวรรดิมองโกลขงจื๊อคย็องจูคาบสมุทรเกาหลีประเทศญี่ปุ่นปักกิ่งแม่น้ำยาลู่แคซ็องโชกุนเกาหลีเกาะคังฮวาเอเชียตะวันออกเปียงยาง ขยายดัชนี (48 มากกว่า) »

ชาวอาหรับ

วอาหรับ (عرب) เป็นกลุ่มชนเซมิติกที่พูดภาษาอาหรับโดยมีประชากรอาศัยในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกาเหนือ ซึ่งกลุ่มชาวอาหรับประกอบด้วยชาวเลบานอน, ชาวซีเรีย, ชาวเอมิเรตส์, ชาวกาตาร์, ชาวซาอุดี, ชาวบาห์เรน, ชาวคูเวต, ชาวอิรัก, ชาวโอมาน, ชาวจอร์แดน, ชาวปาเลสไตน์, ชาวเยเมน, ชาวซูดาน, ชาวแอลจีเรีย, ชาวโมร็อกโก, ชาวตูนีเซีย, ชาวลิเบีย และชาวอียิปต.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและชาวอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและชาวแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ชิลลา

อาณาจักรชิลลา (신라; ฮันจา: 新羅, 57 ปีก่อนคริสต์ศักราช — ค.ศ. 935) เป็นหนึ่งในอาณาจักรยุคสามก๊กแห่งเกาหลีสถาปนาโดยพระเจ้าฮย็อกกอเซเมื่อ 57 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 486) ซึ่งอาณาจักรชิลลาเกิดจากการรวมตัวกันของอาณาจักรจินฮันกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้อาณาจักรเติบโตขึ้นแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นอาณาจักรชิลลา อาณาจักรชิลลาต้องทำสงครามกับอีก 3 อาณาจักรใหญ่คืออาณาจักรโคกูรยอ อาณาจักรแพ็กเจ และอาณาจักรคายา อยู่นานกว่า 500—600 ปีก่อนที่พระเจ้ามุนมูกษัตริย์องค์ที่ 30 แห่งอาณาจักรชิลลาซึ่งครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและชิลลา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1435

ทธศักราช 1435 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1438

ทธศักราช 1438 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1443

ทธศักราช 1443 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1443 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1446

ทธศักราช 1446 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1446 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1454

ทธศักราช 1454 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1456

ทธศักราช 1456 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1461

ทธศักราช 1461 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1469

ทธศักราช 1469 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1470

ทธศักราช 1470 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1478

ทธศักราช 1478 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1479

ทธศักราช 1479 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1536

ทธศักราช 1536 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1552

ทธศักราช 1552 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1562

ทธศักราช 1562 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1562 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1669

ทธศักราช 1669 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1669 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1670

ทธศักราช 1670 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1670 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1678

ทธศักราช 1678 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1678 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1713

ทธศักราช 1713 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1713 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1726

ทธศักราช 1726 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1726 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1747

ทธศักราช 1747 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1747 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1754

ทธศักราช 1754 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1754 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1935

ทธศักราช 1935 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพ.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎก

ระไตรปิฎก (Tipiṭaka; त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระไตรปิฎก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชังแห่งโครยอ

ระเจ้าชังแห่งโครยอ (ค.ศ. 1380 - ค.ศ. 1389) เป็นพระราชาองค์ที่ 33 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1388 - 1389) พระเจ้าชางเดิมพระนามว่าองค์ชายวังชัง (왕창, 王昌) เป็นพระโอรสของพระเจ้าอูแห่งโครยอ (우왕, 禑王) ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชังแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชินจงแห่งโครยอ

ระเจ้าชินจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1144-ค.ศ. 1204) จักรพรรดิองค์ที่ 20 แห่ง ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1197-ค.ศ. 1204) เป็นพระโอรสของพระเจ้าอินจง และพระมเหสีคงเยตระกูลอิม ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ท่านชายพยองยาง (평량공, 平凉公) พระเชษฐาพระเจ้าอีจงถูกขุนนางฝ่ายทหารยึดอำนาจใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชินจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงมก

ระเจ้าชุงมก ครองราชย์ปี(ค.ศ.1344-1348) เทียบเป็น..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชุงมก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงฮเย

้าชุงฮเยแห่งโครยอ (ค.ศ. 1315 - ค.ศ. 1344) เป็น เจ้าผู้ครอง องค์ที่ 28 แห่งแคว้นโครยอ (ค.ศ. 1330 - 1332 และ ค.ศ. 1339 - ค.ศ. 1344) เจ้าชุงฮเยเป็นพระโอรสของพระเจ้าชุงซุก (충숙왕, 忠肅王) และพระมเหสีคงวอน ตระกูลฮง ชาวเกาหลี เจ้าชุงฮเยมีพระนามภาษามองโกลว่า บุดดาชี (มาจาก พุทธศรี Buddhasri) ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชุงฮเย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงจอง

ระเจ้าชุงจอง ครองราชย์ปี(ค.ศ.1348-1351) เทียบเป็น..1891-1894 มีความวุ่นวายหลายอย่างในสมัยของพระองค์อำนาจในวังตกอยู่กับพวกพ้องฝ่ายญาติๆของพระมารดากับขุนนางใหญ่ชื่อ ยุนซิยู พร้อมกันนั้นก็เริ่มถูกรุกรานจากโจรสลัดญี่ปุ่นอีกด้วย พระองค์ถูกสังหารในเวลาต่อมาจากนั้นลุงของพระองค์ซึ่งก็คือ วังกี ได้ครองแผ่นดินในนามของพระเจ้าคงมิน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชุงจอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงซอน

ระเจ้าชุงซอนแห่งโครยอ (ค.ศ. 1275 - ค.ศ. 1325) เป็น พระราชา องค์ที่ 26 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1298 และ ค.ศ. 1308 - ค.ศ. 1313) พระเจ้าชุงซอนเปนพระโอรสของพระเจ้าชุงยอล (충렬왕, 忠烈王) และองค์หญิงเจกุก (제국대장공주, 齊國大長公主) พระมเหสีชาวมองโกล พระธิดาของพระจักรพรรดิหยวนซื่อจูกุบไลข่าน (Kublai Khan) เมื่อพระเจ้าชุงซอนได้รับการสถาปนาเป็นองค์ชายรัชทายาทใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชุงซอน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงซุก

ระเจ้าชุงซุกแห่งโครยอ (ค.ศ. 1294 - ค.ศ. 1339) เป็น พระราชาองค์ที่27แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1313 -1330 และ ค.ศ. 1332 - ค.ศ. 1339) พระเจ้าชุงซุกเป็นพระโอรสของเจ้าชุงซอน (충선왕, 忠宣王) และพระมเหสียาซุกจิน (야속진) ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชุงซุก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงนยอล

รองราชย์ปี..1274-1308 เทียบเป็น..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าชุงนยอล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องจงที่ 1 แห่งโครยอ

ระเจ้าช็องจงที่ 1 แห่งโครยอ (ค.ศ. 923 - ค.ศ. 949) เป็นพระราชาองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 946 - ค.ศ. 949) พระนางเดิม วัง โย (왕요, 王堯) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โครยอ และพระนางชินมย็องซุนซ็อง (신명순성왕후, 神明順成王后) ตระกูลยู ซึ่งเป็นตระกูลขุนนางเก่าชิลลา ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าช็องจงที่ 1 แห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องจงที่ 2 แห่งโครยอ

ระเจ้าช็องจงที่ 2 แห่งโครยอ (พ.ศ. 1561 - พ.ศ. 1589) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 ของราชวงศ์โครยอแห่งเกาหลี ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1577 ถึง พ.ศ. 1589 พระองค์เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ของพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ และเป็นพระอนุชาของพระเจ้าทอกจงแห่งโครยอ สมัยของพระองค์นั้นทรงเป็นจักรพรรดิที่ถูกประชาชนส่วนใหญ่ต่อต้านหรือไม่ชอบ พระองค์มีรับสั่งให้ต่อเติมป้อมปราการทางเหนือของอาณาจักร ตั้งแต่ปีแรกที่พระองค์ขึ้นครองราชย์นั้น ถูกรุกรานจากเผ่าคิตัน มีรับสั่งให้สร้างกำแพงและป้อมปราการที่สร้างมานานตั้งแต่สมัยจักรพรรดิองค์ก่อนๆ และในสมัยของพระองค์ได้สร้างสำเร็จบริบูรณ์ แต่ก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ได้ทรงนำเอาตราการสืบทอดรัชทายาทเก็บไว้จนสิ้นพระชนม์ พระเจ้าจองจงเสด็จสวรรคตเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าช็องจงที่ 2 แห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามกจงแห่งโครยอ

ระเจ้ามกจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 980 - ค.ศ. 1009) จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 997 - ค.ศ. 1009) พระเจ้ามกจงแห่งโครยอ มีพระนามเดิม องค์ชายวังซง แห่ง ฮวางจู เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าคยองจงกับสมเด็จพระราชินีฮอนแอ หรือ พระนางชอนชูฮวางแทฮู เป็นพระราชปนัดดาของพระเจ้าแทโจแห่งโครยอและสมเด็จพระจักรรดินีซินจอง แห่ง ฮวางจู เมื่อพระเจ้าคยองจงสิ้นพระชนม์โดยการถูกลอบปลงพพระชนม์ องค์ชายวังชี ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซองจงแห่งโครยอ สมเด็จพระราชินีมุนด็อกแห่งฮวางจู พระมเหสีของพระเจ้าซองจงแห่งโครยอ ได้รับองค์ชายวังซง พระชนมายุเพียงแค่ 2 พรรษา มาเป็นพระราชโอรสบุญธรรม และเลี้ยงดูประดุจพระมารดาแท้ๆขององค์ชาย เนื่องจากครั้งพระเจ้าซองจงขึ้นครองราชย์ได้เนรเทศสมเด็จพระราชินีฮอนแอพระราชมาดาขององค์ชายวังซงออกจากวังหลวง ทำให้สมเด็จพระราชินีมุนด็อกเกิดความสงสาร จึงได้เลี้ยงดูองค์ชายแทน ครั้งสมเด็จพระราชินีมุนด็อกสิ้นพระชนม์เนื่องจากประชวรอย่างหนัก พระเจ้าซองจงจึงให้พระสนมยอนฮึงขึ้นดำรงตำแหน่งพระเหสีมีพระนามว่า สมเด็จพระราชินีมุนฮวา พระนางมุนฮวาจึงได้เลี้ยงดูองค์ชายวังซงต่อไป ในปี ค.ศ. 997 พระเจ้าซองจงสิ้นพระชนม์โดยไม่มีพระราชโอรส ทำให้สมเด็จพระราชินีฮอนแอกลับคืนราชสำนักอีกครั้ง จนในที่สุดองค์ชายวังซง ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าคยองจงแห่งโครยอนั้น ก็ได้ขึ้นครองบัลลังก์ มีพระนามว่า พระเจ้ามกจงแห่งโครยอ ครั้งขึ้นครองราชย์ใหม่ๆ ได้ทรงแต่งตั้งสมเด็จพระราชินีฮอนแอ แห่ง ฮวางจู เป็นพระนางชอนชูฮวางแทฮู (천추태후, 千秋太后) และได้ตั้งพระนางเป็นผู้สำเร็จราชการแทน พระนางชอนชูครั้งพระนางมุนด็อกสิ้นพระชนม์ พระนางได้นำองค์หญิงซอนพระธิดาของพระนางมุนด็อกมาเลี้ยงดูที่วังมยองบก เมื่อองค์ชายวังซงขึ้นครองราชย์ พระนางจึงให้องค์หญิงซอนอภิเษกกับพระเจ้ามกจงและพระราชทานนามว่า สมเด็จพระราชินีซอนจอง เนื่องจากในขณะนั้นราชวงศ์เหลียวของแคว้นคิตัน ได้ทำสงครามกับอาณาจักรโครยอ พระนางชอนชูได้นำทัพทำสงครามอย่างต่อเนื่องกับราชวงศ์เหลียว ครั้งแคว้นคิตันได้ยกทัพใหญ่ทหาร 300,000 นาย มาบุกโครยอเข้ายึดเมืองแคซองไว้ พระเจ้ามกจงพร้อมกับพระนางชอนชูและพระนางซอนจองจึงได้ลี้ภัยไปที่วังมยองบก พระเจ้ามกจงถูกทหารคิตันตามฆ่า แต่พระนางชอนชูปกป้องไว้ ครั้งสงครามยุติลงพระเจ้ามกจงสละราชบัลลังก์ให้องค์ชายวังซุน โอรสของพระนางฮอนจองพระขนิษฐาของพระนางชอนชูขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าฮย็อนจง แต่ขุนนางกลุ่มชิลลาที่กุมอำนาจหลังพระเจ้ามกจงสละราชบัลลังก์เกรงว่าพระนางชอนชูจะหวนมามีอำนาจในราชสำนักอีก จึงได้ลอบปลงพระชนม์พระเจ้ามกจง ทำให้พระนางชอนชูและพระนางซอนจองโกรธแค้นอย่างมาก จึงได้ลอบสังหารขุนนางกลุ่มซิลลาจนหมดสิ้นจากราชสำนัก จนพระนางชอนชูสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้ามกจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามย็องจงแห่งโครยอ

ระเจ้ามยองจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1131 - ค.ศ. 1202) จักรพรรดิองค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1170 - ค.ศ. 1197) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอินจง กับมเหสีคงเย เป็นพระอนุชาของพระเจ้าอีจง ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ท่านชายอิกยาง (익양후, 翼陽侯) ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้ามย็องจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามุนจง

ระเจ้ามุนจง (Munjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้ามุนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวอนจง

ระเจ้าวอนจง (원종, 元宗, Wonjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าวอนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ

ระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ 5 เมษายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินจง

ระเจ้าอินจง (Injong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าอินจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอินจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1109-ค.ศ. 1146) จักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1122-ค.ศ. 1146) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเยจงและพระมเหสีซุนด็อก รัชสมัยของพระองค์เต็มไปด้วยกบฏของขุนนางที่แย่งชิงอำนาจกัน ตลอดรัชกาลของพระองค์ทรงตกอยู่ภายใต้อำนาจและอิทธิพลของ ลีจากยอม (이자겸, 李資謙) พระบิดาของพระมเหสีซุนด๊อกและพระอัยกีของพระเจ้าอินจง รวมทั้งสมาชิกของตระกูลลีแห่งอินชอน ลีจากยอมนั้นมีอำนาจมากเสียจนเป็นที่เกรงขามของสมาชิกพระราชวงศ์ ตระกูลลีเข้าครอบงำราชสำนักเข้ามาเป็นขุนนางต่างๆ ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าอินจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอูแห่งโครยอ

ระเจ้าอูแห่งโครยอ (ค.ศ. 1365 - ค.ศ. 1389) เป็นพระราชาองค์ที่ 32 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1374 - 1388) พระเจ้าอู พระนามว่า วัง อู (왕우, 王禑) เป็นพระโอรสของพระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) และนางทาสพันยา (반야, 般若) อย่างไรก็ตามนางทาสพันยานั้นเดิมเป็นอนุภรรยาของพระภิกษุชินตน (신돈, 辛旽) พระภิกษุซึ่งได้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าคงมินในช่วง..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าอูแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอีจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอีจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1127-ค.ศ. 1173) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1146-ค.ศ. 1170) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอินจง กับสมเด็จพระราชินีคงเย เมื่อพระเจ้าอินจงสวรรคตใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าอีจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮย็อนจง

็อนจง (Hyeonjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าฮย็อนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ

ระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 992 - ค.ศ. 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1009 - ค.ศ. 1031) พระนามเดิมว่า เจ้าชายวัง ซุน (왕순, 王詢) เป็นพระราชโอรสของพระนางฮอนจอง ตระกูลฮวางโบ แห่งเมืองฮวางจู (헌정왕후 황보씨, 獻貞王后) อดีตองค์ราชินีของพระเจ้าคยองจง กับพระราชสวามีใหม่ของพระนางคือเจ้าชายวัง อุก แห่งเมืองคยองจู (왕욱, 王郁) ภายหลังเจ้าชายวังซุนได้รับอิสริยยศเป็น องค์ชายแทยาง (대량원군, 大良院君) เล่าว่าครั้งทรงพระครรภ์พระนางฮอนจองมีนิมิตว่าพระองค์ได้ขึ้นไปบนยอดเขาสูง แล้วเห็นคลื่นสาดซัดไล่ลงมาจากเขา และคลื่นน้ำนั้นได้กลายเป็นทะเลสีเงินแทน จากบันทึกในยุคสามอาณาจักรเล่าว่า พระราชินีมุนมยอง พระมเหสีของพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลาก็ทรงนิมิตเช่นเดียวกัน พระนางได้ให้กำเนิดพระเจ้ามุนมูผู้รวบรวมสามอาณาจักร และพระเจ้าฮย็อนจงก็ทรงเป็นกษัตริย์ที่สามารถรวบรวมดินแดนทางเหนือของโครยอกลับคืนมาได้สำเร็จ พระเจ้าฮย็อนจงเมื่อครองราชย์แล้วก็แต่งตั้งพระราชบิดาเจ้าชายวัง อุก เป็น พระเจ้าอานจง (안종, 安宗) พระเจ้าฮย็อนจงนั้นทรงตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขุนนางกลุ่มซิลลาใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮอนจง

ระเจ้าฮอนจง (Heonjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าฮอนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮึยจง

ระเจ้าฮึยจง (고려 희종) ครองราชย์ปี..1204-1211 เทียบเป็น..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าฮึยจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮเยจง

ระเจ้าฮเยจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 912 - ค.ศ. 945) พระราชาองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 943 - ค.ศ. 945) เป็นพระโอรสของพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ พระราชมารดาของพระองค์เป็นหญิงสามัญชนธรรมดาที่อภิเษกกับพระเจ้าแทโจตั้งแต่สมัยยังรับใช้คุง เย เมื่อพระเจ้าฮโยจงทรงขึ้นครองราชย์ ก็ต้องเผชิญหน้ากับการแก่งแย่งอำนาจระหว่างตระกูลเก่าที่มีอำนาจของชิลลา วัง คยู (왕규, 王珪 คนละตระกูลกับราชวงศ์โครยอ) เป็นขุนนางเก่าชิลลาที่มีส่วนในการส่งเสริมพระเจ้าแทโจสู่อำนาจ และได้ส่งบุตรสาวของตนสองคนไปเป็นมเหสีของพระเจ้าแทโจ ซึ่งก็มีพระโอรสองค์หนึ่งคือองค์ชายควางจู วังคยูจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าราชบัลลังก์จะตกมาสู่หลานของตนเองในที่สุด แต่วังคยูก็ถูกขัดขวางโดยตระกูลยูแห่งชองจู นำโดยพระมเหสีชินมยองซุนซองและองค์ชายวัง โย และองค์ชายวัง โซพระอนุชาทั้งสอง วังคยูจึงทูลพระเจ้าฮเยจงว่าองค์ชายวังโยและวังโซจะก่อการกบฏ แต่พระเจ้าฮเยจงที่จริงแล้วก็ไม่มีพระราชอำนาจจะทำอะไรได้ วังคยูจึงตัดสินใจรวบรับวางแผนลอบปลงพระชนม์พระเจ้าฮเยจงและตั้งองค์ชายควางจู (광주원군, 廣州院君) พระอนุชาต่างพระราชมารดาเป็นกษัตริย์แต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฮเยจงสิ้นพระชนม์อย่างปริศนาเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าฮเยจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าทอกจง

ระเจ้าทอกจง เสด็จครองราชย์เมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าทอกจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคยองซุน

ระเจ้าคยองซุนแห่งซิลลา (ครองราชย์ ค.ศ. 927 - ค.ศ. 935) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งใน สามก๊กแห่งเกาหลี ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 56 และทรงเป็นกษัตริย์พระองค์สุดท้าย แห่งอาณาจักรซิลลา พระเจ้าคยองซุนเป็นทายาทรุ่นที่ 6 ของพระเจ้ามุนซองพระองค์เป็นโอรสขององค์ชายฮโยจองกับองค์หญิงคเยอา ซึ่งองค์หญิงคเยอาเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าฮอนคัง พระองค์มีพระชายาคือพระมเหสีจอกบัง(죽방부인) พระราชโอรสองค์โตคือ องค์ชายมาอึย รัชทายาทแห่งอาณาจักรซิลลาและพระราชโอรสองค์รองคือ องค์ชายบอมคง พระเจ้าคยองซุนขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรซิลลาได้เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าคยอน ฮวอนแห่งอาณาจักรฮูแพกเจ หลังจากที่กองทัพของฮูแพกเจเข้ายึดครองเมืองคยองจูและอาณาจักรซิลลาในปี ค.ศ. 927 นั้นอาณาจักรซิลลาจึงอยู่ในฐานะเมืองขึ้นของอาณาจักรฮูแพกเจ และในปี ค.ศ. 935 พระเจ้าคยอน ฮวอนแห่งอาณาจักรฮูแพกเจสิ้นพระชนม์ทำให้พระเจ้าแทโจแห่งโครยอนำทัพเข้ายึดครองอาณาจักรซิลลาต่อจากอาณาจักรฮูแพกเจ และตั้งเปลี่ยนชื่ออาณาจักรจากอาณาจักรแทบงเป็นอาณาจักรโครยอ และพระเจ้าคยองซุนได้สละราชบัลลังก์รวมเข้ากับอาณาจักรโครยอ โดยพระเจ้าคยองซุนได้อภิเษกกับองค์หญิงนักรังพระราชธิดาของพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ at Doosan Encyclopedia หลังจากพระองค์สละราชบัลลังก์ลงพระเจ้าแทโจแห่งโครยอได้รวมอาณาจักรซิลลา อาณาจักรอาณาจักรฮูแพกเจ และอาณาจักรโครยอเข้าเป็นอาณาจักรเดียว พระเจ้าคยองซุนทรงใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ที่พระราชวังเล็กๆนอกเมืองแคซอง ซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโครยอกับพระชายาทั้งสองพระองค์คือพระมเหสีจอกบังและองค์หญิงนักรังอย่างมีความสุข และในปี ค.ศ. 978 พระเจ้าคยองซุนเสด็จสวรรคตในพระราชวังของพระองค์อย่างสงบ และนำมาซึ่งความโศกเศร้าของเหล่าประชาชนโครยอเชื้อสายซิลลาเป็นอย่างมาก พระศพของพระองค์ได้ถูกฝังที่ จางทัน-มยอน เมืองยอนชอน จังหวัดคยองกิ ประเทศเกาหลีใต้ในปัจจุบัน ตามบันทึกซัมกุก ซากิ องค์ชายมาอึย พระราชโอรสของพระเจ้าคยองซุน องค์รัชทายาทองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรซิลลา คัดค้านการรวมอาณาจักรของพระเจ้าคยองซุน พระองค์จึงได้ออกบวชเป็นฤๅษีที่ภูเขาคอมคัง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าคยองซุน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคย็องจงแห่งโครยอ

ระเจ้าคย็องจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 955 - ค.ศ. 981) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 975 - ค.ศ. 981) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าควางจง และพระมเหสีแทมก (ซึ่งเป็นพระขนิษฐาต่างพระราชมารดากับพระเจ้าควางจง) เมื่อพระราชบิดาสวรรคตใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าคย็องจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าควังจงแห่งโครยอ

ระเจ้าควังจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 925 - ค.ศ. 975) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 949 - ค.ศ. 975) พระนามเดิม วังโซ (왕소, 王昭) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โครยอกับพระนางชินมย็องซุนซ็อง (신명순성왕후, 神明順成王后) จากตระกูลยู องค์ชายวังโซมีพระเชษฐา คือ องค์ชายวังโย (왕요, 王堯) ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าควังจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคังจง

ระเจ้าคังจง ครองราชย์ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าคังจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงมิน

ระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (ค.ศ. 1330 - ค.ศ. 1374) เป็นพระราชาองค์ที่ 31 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1351 - 1374) เป็นผู้ปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของมองโกลราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินเป็นพระโอรสของพระเจ้าชุงซุก (충숙왕, 忠肅王) และพระมเหสีคงวอนตระกูลฮง พระนามว่า วัง คี (왕기, 王祺) องค์ชายวังคีมีพระเชษฐาเป็นองค์ชายรัชทายาทอยู่แล้ว ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าชุงฮเย (충혜왕, 忠惠王) องค์ชายวังคีเสด็จไปเมืองปักกิ่งและอภิเษกกับองค์หญิงมองโกล (ภายหลังคือ องค์หญิงโนกุก (노국대장공주, 魯國大長公主) ในค.ศ. 1344 เมื่อพระเจ้าชุงฮเยสวรรคต พระโอรสทั้งสองของพระเจ้าชุงฮเยก็ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ ได้แก่พระเจ้าชุงมก (충목왕, 忠穆王) และพระเจ้าชุงจอง (충정왕, 忠定王) ในค.ศ. 1344 องค์ชายวังคีได้รับการแต่งตั้งเป็น องค์ชายคังนึง (강릉부원대군, 江陵府院大君) ต่อมากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ก็สวรรคตโดยไร้ซึ่งรัชทายาท องค์ชายคังนึงจึงได้ขึ้นครองราชสมบัติในค.ศ. 1351 ราชสำนักเกาหลีในขณะนั้นถูกครอบงำโดยคีชอล (기철, 奇轍) พระเชษฐาของพระจักรพรรดินีฉี (奇皇后) พระจักรพรรดินีของพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (元惠宗) โตคุนเตมูร์ข่าน (Toghun Temür Khan) พระจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์หยวน คีชอลนั้นถือตนมีอำนาจเหนือพระเจ้าคงมิน พระเจ้าคงมินจึงสั่งประหารชีวิตคีชอลในค.ศ. 1356 และกวาดล้างขุนนางที่สนับสนุนมองโกลทั้งหลาย พระจักรพรรดินีฉี ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนในประเทศจีนขณะนั้นจึงพิโรธพระเจ้าคงมินอย่างมากและส่งทัพมาสังหารพระเจ้าคงมินแก้แค้น พระเจ้าคงมินตัดสินพระทัยที่จะต่อต้านมองโกลอย่างเปิดเผลและสามารถขับทัพมองโกลที่พระจักรพรรดิหยวนส่งมาได้ เป็นการปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของราชวงศ์หยวนมากว่าแปดสิบปี ในค.ศ. 1359 ทางมองโกลได้นำทัพเข้าปราบกบฏโพกผ้าแดง (紅巾之亂, Red Turban Rebellion) ที่เมืองเหลียวตง พวกกบฏพากันหลบหนีข้ามแม่น้ำยาลูเข้ามาในโครยอและเข้าปล้นสะดมบ้านเมืองจนพระเจ้าคงมินต้องทรงส่งทัพเข้าขับไล่ออกไป ในค.ศ. 1361 กบฏโพกผ้าแดงได้ส่งทัพเข้ามาบุกโครยอยึดได้เมืองแคซองเป็นการแก้แค้น พระเจ้าคงมินและราชสำนักเสด็จหนีไปยังเมืองอันดง แต่เมืองแคซองก็ถูกกู้กลับคืนมาได้ด้วยฝีมือของขุนพลชเวยอง (최영, 崔瑩) และลีซองกเย พระเจาคงมินยังส่งขุนพลไปยึดดินแดนสองมณฑลที่ราชวงศ์หยวนยึดไปกลับคืนมา โดยในค.ศ. 1356 ส่งลีซองกเยไปยึดมณฑลซังซอง (쌍성부, 雙城府) และในค.ศ. 1370 ยึดมณฑลทงยอง (동녕부, 東寧府) นโยบายต่อต้านมองโกลของพระเจ้าคงมินทำให้พระองค์ไม่เป็นที่พอใจของบรรดาขุนนางเก่าซึ่งล้วนได้รับการสนับสนุนจากราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินต้องต่อสู้เพื่อลดอำนาจของขุนนางเหล่านี้ ในค.ศ. 1365 องค์หญิงโนกุกสิ้นพระชนม์ขณะกำลังพระครรภ์ ทำให้พระเจ้าคงมินหมดอาลัยตายอยากกับพระชนม์ชีพ ทิ้งกิจการบ้านเมืองทั้งหมดไว้แก่พระภิกษุชื่อว่าชินตน (신돈, 辛旽) ซึ่งชินตนก็ได้ต่อสู้กับขุนนางที่เข้าข้างมองโกลแทนพระเจ้าคงมินจนกระทั่งถูกขับออกจากราชสำนักในค.ศ. 1371 ในค.ศ. 1368 จูหยวนจาง (朱元璋) ล้มราชวงศ์หยวนได้และตั้งราชวงศ์หมิง จูหยวนจางหรือพระจักรพรรดิหงหวู่ (洪武帝) ได้ส่งทูตมาเรียกบรรณาการ ซึ่งพระเจ้าคงมินก็ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี จนในที่สุด พระเจ้าคงมินก็ถูกฮงยุน (홍윤, 洪倫) และชเวมันแซง (최만생, 崔萬生) ลองปลงพระชนม์ในห้องบรรทม และยกพระโอรสวัง อู (왕우, 王禑) ซึ่งเกิดจากนางทาสพันยา (반야, 般若 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพระภิกษุชินตนด้วย) ขึ้นเป็นพระราชาองค์ต่อไป เป็นผลให้ราชสำนักโครยอมีนโยบายหันเข้าหามองโกลอีกครั้ง ในเวลาต่อมาพระจักรพรรดิหงหวู่ได้พระราชทานพระนามแก่พระเจ้าคงมินว่า พระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) ไฟล์:Cheonsandaeryeopdo.jpg.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าคงมิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงยัง

ระเจ้าคงยังแห่งโครยอ (ค.ศ. 1345 - ค.ศ. 1394) เป็นพระราชาองค์ที่ 34 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1389 - 1392) พระเจ้าคงยางพระนามเดิมว่าองค์ชายช็องชัง (정창군; 定昌君) เป็นพระโอรสขององค์ชายช็องว็อน (정원군; 定遠君) ซึ่งสืบสายพระโลหิตมาจากพระเจ้าชินจง ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าคงยัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซองจงแห่งโครยอ

ระเจ้าซองจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 960 - ค.ศ. 997) พระราชาองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 981 - ค.ศ. 997) เป็นกษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์โดยการก่อกบฏยึดอำนาจ จากพระเจ้าคยองจงแห่งโครยอกษัตริย์พระองค์ก่อน โดยร่วมมือกับขุนนางกลุ่มซิลลาที่ยังมีอำนาจหวังจะกอบกู้อาณาจักรซิลลาขึ้นมาใหม่ โดยการใช้กำลังทหารยึดวังหลวงและวางยาพิษพระเจ้าคยองจง ให้เนรเทศสมเด็จพระราชินีฮอนแอและสมเด็จพระราชินีฮอนจองพระมเหสีของพระเจ้าคยองจง โดยที่พระมเหสีทั้งสองพระองค์เป็นน้องสาวของพระองค์ และพระเจ้าซองจงเป็นผู้ทำให้พระนางซินจองผู้เป็นพระอัยยิกาและพระนางฮอนจองผู้เป็นพระขนิษฐาสิ้นพระชนม์ด้วย ในรัชสมัยของพระองค์มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่เพื่อกำจัดอำนาจขุนนางท้องถิ่น และมีสงครามกับพวกคิตันราชวงศ์เหลียว องค์ชายวัง ชี (왕치, 王治) เป็นพระโอรสของสมเด็จพระชายาซอนอึยกับองค์ชายวัง อุก (왕욱, 王旭) หรือพระเจ้าแทจง พระราชโอรสของพระเจ้าแทโจกับสมเด็จพระจักรรพรดินีซินจอง (신정왕후, 神靜王后) ตระกูล ฮวางจู ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าซองจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซอนจง

ระเจ้าซอนจง ครองราชย์ปี(ค.ศ.1083-1094) เทียบเป็น..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าซอนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซุกจง

ระเจ้าซุกจง (ค.ศ. 1661 - ค.ศ. 1720) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1674 - ค.ศ. 1720) พระเจ้าซุกจงประสูติเมื่อ ค.ศ. 1661 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฮย็อนจง กับพระมเหสีมยองซอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อ ค.ศ. 1667 ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1674 พระนางอินซอน พระมเหสีของพระเจ้าฮโยจง สิ้นพระชนม์ จึงเกิดข้อถกเถียงกันเรื่องการใส่พระภูษาไว้ทุกข์ของพระนางจางรยอล พระมเหสีของพระเจ้าอินโจ ขึ้นอีกครั้ง เรียกว่า ความขัดแย้งเรื่องพิธีปีคาบิน (갑인예송, 甲寅禮訟) พระเจ้าฮย็อนจงทรงเลือกที่จะทำตามข้อเสนอของขุนนางฝ่ายใต้ นำโดยฮอมก (허목, 許穆) ซึ่งเสนอให้นางจางรยอลไว้ทุกข์แบบแทกง (대공, 大功 9 เดือน พระภูษาหยาบ) ทำให้ฝ่ายใต้ขึ้นมามีอำนาจแทนฝ่ายตะวันตก ซึ่งมีอำนาจอยู่ก่อนหน้า ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าฮย็อนจงสวรรคต พระเจ้าซุกจงจึงทรงขึ้นครองราชย์ในช่วงเวลาที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ รัชกาลของพระเจ้าซุกจงเป็นสมัยที่ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายต่างๆของขุนนางดุเดือดที่สุด เรียกได้ว่าไม่มีเลยสักวันเดียวในรัชสมัยของพระองค์ที่จะปราศจากการทุ่มเถียงระหว่างฝ่ายใต้และฝ่ายตะวันตก ขณะที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ ฝ่ายตะวันตกก็ถูกกีดกันออกจากราชการกันเป็นส่วนใหญ่ แต่แล้วเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าซุกจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจ

ระเจ้าแทโจ (Taejo; 태조) มีความหมายว่า "มหาบรรพบุรุษ" เป็นพระนามของกษัตริย์และจักรพรรดิเกาหลีหลายพระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าแทโจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าแทโจ (ค.ศ. 1335 - ค.ศ. 1408) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนของเกาหลี (ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1398) พระนามเดิมว่า อี ซ็อง-กเย ทรงย้ายเมืองหลวงของเกาหลีไปยังเมืองฮันซ็องและตั้งลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo-Confucianism) เป็นศาสนาประจำชาต.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

ระราชสุสานหลวงของพระเจ้าแทโจใกล้เมืองแกซอง ประเทศเกาหลีเหนือ (현릉, 顯陵) พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ (ค.ศ. 877 - ค.ศ. 943) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลี มีเดิมพระนามว่า วังกอน ประสูติในตระกูลพ่อค้าในเมืองซองโดที่ร่ำรวยจากการค้ากับจีนและเข้ารับราชการเป็นผู้นำทหารในอาณาจักรฮูโกกูรยอ (โกกูรยอใหม่) ขององค์ชายคุงฮเย จนได้รับความไว้วางใจจากคุงเยจนได้รับแต่งตั้งเป็นอัครเสนาบดี ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโคจงแห่งโครยอ

ระเจ้าโคจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1192 - ค.ศ. 1259) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 23 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ.1213-1259) พระเจ้าโคจงประสูติในรัชกาลของพระเจ้ามยองจง เป็นพระโอรสขององค์ชายรัชทายาทและพระชายาตระกูลยู ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าโคจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเยจง

ระเจ้าเยจง (Yejong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและพระเจ้าเยจง · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริย์

กษัตริย์ (क्षत्रिय กฺษตฺริย; khattiya ขตฺติย; ปรากฤต:khatri) เป็นวรรณะหนึ่งในสังคมชาวฮินดู (อีก 4 วรรณะที่เหลือคือพราหมณ์ แพศย์ และศูทร).

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล

การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพของจักรวรรดิมองโกล เข้ารุกรานญี่ปุ่นสองครั้ง ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและการรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิน

ราชวงศ์จิน เป็นราชวงศ์ที่ถูกก่อตั้งโดยชนเผ่าหนี่เจิน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพวกแมนจู ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและราชวงศ์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียว

ราชวงศ์เหลียว (Liao Dynasty; ชี่ตัน: Mos Jælud; มองโกล: Ляо Улс/Lyao Uls) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิชี่ตัน (Khitan Empire; ชี่ตัน: Mos diau-d kitai huldʒi gur; มองโกล: Хятан (Khyatan) Гүрэн, Кидан (Kidan) Гүрэн) เป็นชื่อจักรวรรดิหนึ่งในเอเชียตะวันออก มีอำนาจในมองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลบางส่วนของรัสเซีย เกาหลีเหนือ และภาคเหนือของจีนส่วนในตั้งแต่ปี 907 ถึง 1125 พระเจ้าไท่จู่ (Taizu) ข่านแห่งชาวชี่ตัน สถาปนาจักรวรรดินี้ขึ้นหลังจากราชวงศ์ถังของประเทศจีนล่มสลาย และไม่ช้าไม่นานหลังก่อตั้งขึ้น ราชวงศ์เหลียวก็เริ่มขยายดินแดน โดยพระเจ้าไท่จู่ทรงเอาชัยเหนือพวกพัลแฮ (Balhae) เป็นผลสำเร็จ พระเจ้าแผ่นดินองค์ถัด ๆ มายังทรงได้สิบหกมณฑลของจีนไว้โดยใช้วิธียุแยงให้รัฐที่สามส่งการก่อกวนเข้ามา แล้วราชวงศ์เหลียวจึงคอยตีกิน ทำให้ราชวงศ์ถังอวสานลง และราชวงศ์โครยอ (Goryeo) แห่งเกาหลี กับราชวงศ์ซ่ง (Song) แห่งจีน ตกเป็นเมืองออกของราชวงศ์เหลียวในที่สุด คำว่า "เหลียว" นี้ในภาษาจีนหมายความว่า ห่าง หรือไกล จุดเด่นของราชวงศ์เหลียว คือ ความตึงเครียดระหว่างจารีตประเพณีทางสังคมและการเมืองแบบชี่ตันกับแบบจีนซึ่งนำไปสู่วิกฤติการณ์ทางการสืบสันตติวงศ์ เพราะพระเจ้าแผ่นดินเหลียวฝักใฝ่คติบุตรหัวปีเป็นใหญ่ตามแบบจีน แต่ผู้ลากมากดีชาวชี่ตันส่วนใหญ่นิยมประเพณีที่ให้ผู้แข็งแกร่งที่สุดสืบเชื้อสาย ความแตกต่างกันระหว่างจารีตประเพณีชี่ตันและจีนนี้ยังเป็นเหตุให้พระเจ้าไท่จู่แห่งราชวงศ์เหลียวทรงตั้งการปกครองสองแบบขนานกัน ภาคเหนือซึ่งเป็นอาณาเขตชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีชี่ตัน ภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ไม่ใช่ชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีจีน ความแตกต่างทางสังคมแบบชี่ตันกับแบบจีนยังได้แก่ บทบาทของบุคคลแต่ละเพศและยุทธวิธี ชาวชี่ตันเห็นว่า บุคคลเสมอภาคกันไม่ว่าเพศใด ขณะที่ประเพณีทางวัฒนธรรมจีนถือว่า สตรีต้องอยู่ในโอวาทบุรุษ ฉะนั้น หญิงชี่ตันจึงเล่าเรียนการรบ ทั้งยังจัดการทรัพย์สินครัวเรือน และดำรงตำแหน่งทางทหาร ทั้งยังไม่มีการคลุมถุงชน ตลอดจนสตรีไม่จำต้องครองความบริสุทธิ์ทางเพศไว้จนถึงการสมรสครั้งแรก กับมีสิทธิที่จะหย่าและสมรสใหม่ด้วย ในปี 1125 ชาวนฺหวี่เจิน (Jurchen) จากราชวงศ์จิน (Jin) ของพวกแมนจู จับกุมพระเจ้าเทียนจั้ว (Tianzuo) แห่งเหลียวไว้ได้ และทำลายราชวงศ์เหลียวลงสิ้น แต่ชาวชี่ตันที่ยังเหลืออยู่มีเยลฺวี่ ต้าฉือ (Yelü Dashi) เป็นผู้นำ พากันก่อตั้งราชวงศ์ใหม่เรียกว่า "เหลียวตะวันตก" (Western Liao) ปกครองกันอยู่ในเอเชียกลางบางส่วนเป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งศตวรรษ ก่อนจะถูกทัพพระเจ้าไท่จู่ (Taizu) แห่งราชวงศ์หยวนของพวกมองโกล เข้ายึดครอง แม้ความสำเร็จทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์เหลียวจะสลักสำคัญ กับทั้งเครื่องปั้นและศิลปวัตถุอื่น ๆ ก็มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์และสถานสะสมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก แต่สภาพที่แท้จริงและขอบข่ายของอิทธิพลที่วัฒนธรรมเหลียวมีต่อพัฒนาการในระยะหลัง ๆ เช่น ด้านศิลปะการแสดงและการสังคีตนั้น ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและราชวงศ์เหลียว · ดูเพิ่มเติม »

วัดแฮอินซา

วัดแฮอินซา เป็นวัดในพระพุทธศาสนานิกายมหายานเป็นที่ตั้งของตู้พระไตรปิฎกที่ใหญ่ที่สุดโดยวัดแห่งนี้สร้างขึ้นครั้งแรกในสมัยชิลลาเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและวัดแฮอินซา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพัลแฮ

มื่ออาณาจักรโคกูรยอแตกใน พ.ศ. 1211 ในครั้งนั้นมีผู้คนกลุ่มต่าง ๆ เป็นจำนวนมากอพยพหลบหนีออกจากโคกูรยอไปอย่างกระจัดกระจายไปทุกทิศทุกทางไปอาศัยอยุ่อย่างกระจัดกระจายในที่ต่าง ๆ กระทั่งใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและอาณาจักรพัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรโคกูรยอ

กูรยอ (เสียงอ่าน::; 37 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. 668) เป็นอาณาจักรเกาหลีโบราณที่พระเจ้าทงมย็องซ็องทรงสถาปนาขึ้น ปัจจุบันดินแดนส่วนใหญ่อยู่ในประเทศเกาหลีเหนือและคาบสมุทรเหลียวตงของประเทศจีน ราชวงศ์นี้มีอาณาเขตตั้งแต่เกาหลีเหนือปัจจุบันแมนจูเรียถึงรัสเซียบางส่วนเป็นราชวงศ์แรก ที่ถูกบันทึกหลักฐานราชวงศ์นี้มีพระมหากษัตริย์ที่เป็นมหาราชพระองค์แรกของเกาหลีคือพระเจ้าควังแกโทมหาราช รัชกาลที่ 19 ของราชวงศ์ ผู้ทรงพระปรีชาสามารถทั้งเรื่องรบและเรื่องรัก ทรงขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางต่อมาจักรวรรดินี้เริ่มมีปัญหารบรากับอาณาจักรแพ็กเจและอาณาจักรชิลลา ในสมัยราชวงศ์ถัง (618-907) ในขณะนั้นตรงกับรัชสมัยจักรพรรดิถังเกาจง (หลี่จื้อ) จักรพรรดิองค์ที่ 3 ประมาณปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและอาณาจักรโคกูรยอ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุนจง

ักรพรรดิยุงฮีแห่งจักรวรรดิเกาหลี (융희제) หรือ สมเด็จพระเจ้าซุนจง (สมเด็จพระจักรพรรดิซุนจงเมอยองโดนินซองกุงแห่งจักรวรรดิเกาหลี) (순종) (25 มีนาคม ค.ศ. 1874 – 24 เมษายน ค.ศ. 1926) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาหรือสมเด็จพระจักรพรรดิลำดับที่ 2 แห่งจักรวรรดิเกาหลี เป็นพระประมุข ลำดับที่ 27 ถ้านับจากสมัยราชอาณาจักรโชซอน และเป็นพระประมุขพระองค์สุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชของเกาหลี โดยพระองค์ทรงขึ้นเสวยราชย์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและจักรพรรดิซุนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีคี

มเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลฉี (ภาษาจีน: 奇皇后; ภาษาเกาหลี: 기황후; ค.ศ. 1315 - ค.ศ. 1369) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค (ภาษาจีน: 完者忽都; ภาษามองโกล: Ölǰei Khutugh) เป็นพระจักรพรรดินีในพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (ภาษาจีน: 惠宗 Huizong) ทอคอนเตมูร์ (ภาษามองโกล: toγan temür) มีพื้นเพเดิมเป็นชาวเกาหลีในสมัยอาณาจักรโครยอ เป็นสตรีที่ทรงอำนาจของจีนในสมัยราชวงศ์หยวนตอนปลาย นางสาวคีเกิดที่เมืองแฮงจู (ภาษาเกาหลี: Haengju; ปัจจุบันอยู่ทางตอนเหนือของโซล) ในค.ศ. 1315 เป็นบุตรสาวของคีจาโอ (ภาษาเกาหลี: Ki Ja-o 奇子敖) ขุนนางฝ่ายทหารคนหนึ่งของอาณาจักรโครยอ ไม่ปรากฏว่านางสาวคีนั้นมีชื่อเดิมเป็นภาษาเกาหลีว่าอย่างไร นางสาวคีมีพี่ชายชื่อว่า คี ชอล (ภาษาเกาหลี: Ki Cheol 奇轍) ในค.ศ. 1332 ทางฝ่ายราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์คือ พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ นางสาวคีอายุสิบเจ็ดปีได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบรรดาสาวดรุณีที่ราชสำนักโครยอต้องส่งมอบให้แก่ราชสำนักหยวนเป็นบรรณาการ นางสาวคีจึงจำต้องจากบ้านเกิดของตนเองไปยังกรุงต้าตู (Dadu) อันเป็นราชธานีของราชวงศ์หยวน หรือปักกิ่งในปัจจุบัน เพื่อเป็นนางในคอยปรนนิบัติรับใช้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์ ด้วยความช่วยเหลือของโคยงโบ (ภาษาเกาหลี: Go Yongbo 고용보) ขันทีชาวเกาหลีในราชสำนักหยวน ทำให้นางในคีได้มีโอกาสทำหน้าที่ถวายเครื่องดื่มและน้ำชาแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์อย่างใกล้ชิด จนเป็นที่ต้องพระเนตรของจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ ในค.ศ. 1340 พระสนมตระกูลคีได้ให้กำเนิดพระโอรสองค์แรกแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ คือ เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ (ภาษามองโกล: Ayushiridara) พระสนมตระกูลคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ พระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค แม้ว่าในขณะนั้นพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์จะทรงมีพระจักรพรรดินีอยู่แล้วก็ตามคือ พระจักรพรรดินี บายันคูตูค (ภาษามองโกล: Bayan Khutugh) เท่ากับว่าในเวลานั้นราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดินีในเวลาเดียวกันสองพระองค์ พระจักรพรรดินีดีทรงมีขันทีชาวเกาหลีคนสนิทคือ พัคบุลฮวา (ภาษาเกาหลี: Bak Bulhwa 박불화) ที่คอบรับใช้พระจักรพรรดินีทำงานต่างๆ ในค.ศ. 1353 พระจักรพรรดินีคีวางแผนร่วมกับพัคบุลฮวา และขุนนางมองโกลชื่อว่าฮามา (Hama) ทำการโน้มน้าวให้พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์แต่งตั้งเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์พระโอรสของพระนางเป็นไท่จื่อหรือเจ้าชายรัชทายาท แต่แผนการนี้ถูกอัครเสนาบดีทอคตอค (Toghtogha) คัดค้าน พระจักรพรรดินีคีจึงทรงกำจัดทอคตอคด้วยการสร้างข้อกล่าวทุจริตฉ้อฉลแก่โทคตา เป็นเหตุให้ทอคตอคถูกปลดจากตำแหน่งและเนรเทศออกไปในค.ศ. 1354 และเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าชายรัชทายาทในปีเดียวกัน ด้วยฐานะพระจักรพรรดินีแห่งหยวน ทำให้ตระกูลคีของพระนางเรืองอำนาจอยู่ในอาณาจักรโครยอบ้านเกิด พระเชษฐาคีชอลกลายเป็นผู้กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงและมีชื่อเสียงในด้านความทุจริตฉ้อฉล เป็นตัวแทนของมองโกลคอยกำกับดูแลให้ราชสำนักโครยอปฏิบัติตามนโยบายของหยวน แม้แต่พระมารดาของจักรพรรดินีคีนั้นก็มีศักดิ์สูงกว่าพระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (Gongmin of Goryeo) จนกษัตริย์เกาหลีต้องทรงทำความเคารพมารดาของพระนาง พระเจ้าคงมินทรงตัดสินพระทัยนำทัพเข้ายึดอำนาจจากตระกูลคี สังหารคีชอลรวมทั้งมารดาและสมาชิกครอบครัวคีไปจนหมดสิ้นในค.ศ. 1356 สร้างความพิโรธแค้นให้แก่จักรพรรดินีคีเป็นอย่างมากจึงส่งทัพบุกไปยังอาณาจักรโครยอเพื่อปลดพระเจ้าคงมินจากบัลลังก์แล้วตั้งเจ้าชายทัชเตมูร์ (Tash Temür) เป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์ใหม่ แต่ทัพมองโกลก็ได้ถูกทัพเกาหลีตีแตกพ่ายไป ในค.ศ. 1364 เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์เจริญชันษาขึ้นมาจึงคิดชิงราชบัลลังก์หยวนจากพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์พระบิดา แต่ทว่าแผนการล่วงรู้ไปถึงพอดลัดเตมูร์ (Bolad Temür) ผู้เป็นพระบิดาของพระจักรพรรดินีบายันคูตูค พอดลัดเตมูร์จึงนำกองกำลังเข้ายึดเมืองต้าตูข่านบาลิกเป็นเหตุให้เจ้าชายรัชทายาทต้องเสด็จหนีออกจากเมือง พอดลัดเตมูร์จับองค์จักรพรรดินีคีไว้เป็นตัวประกันและสังหารขันทีพัคบุลฮวา เมื่อทราบว่าเจ้าชายอายูร์ชีรีดาด้วยการสนับสนุนของโคเกเตมูร์ (Köke Temür) หมายจะยกทัพเข้ามายึดเมืองคืน พอดลัดเตมูร์จึงได้บังคับให้พระจักรพรรดินีดีออกพระราชเสาวนีย์เรียกให้พระโอรสมาเข้าเฝ้าตัวเปล่า แต่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ก็มิได้ทำตาม ยกทัพเข้ายึดเมืองต้าตูคืนได้สำเร็จ พอดลัดเตมูร์ถูกลอบสังหารโดยคนที่พระจักรพรรดิทรงส่งมา พระจักรพรรดินีคีและเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ประสงค์จะให้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์สละราชบัลลังก์ ซึ่งพระจักรพรรดิไม่ทรงยอมแต่มอบตำแหน่งทางทหารให้แก่พระโอรสจนเป็นที่พอพระทัย ในค.ศ. 1365 พระจักรพรรดินีบายันคูตูคสิ้นพระชนม์ พระจักรพรรดินีคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีเพียงหนึ่งเดียวของราชวงศ์หยวน อีกเพียงสามปีต่อมาค.ศ. 1368เมืองต้าตูข่านบาลิกเสียให้แก่พระจักรพรรดิหงหวู่ (Hongwu Emperor) จูหยวนจาง (ภาษาจีน: 朱元璋 Zhu Yuanzhang) แห่งราชวงศ์หมิง พระจักรพรรดิตอคอนเตมูร์พร้อมทั้งพระจักรพรรดินีคีและพระโอรสเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทั้งสามพระองค์เสด็จหนีไปยังเมืองซ่างตู (ภาษาจีน: 上都 Shangdu ปัจจุบันอยู่ในเขตมองโกเลียใน) ต่อมาค.ศ. 1370 เมืองซ่างตูเสียให้แก่ราชวงศ์หมิง ทั้งสามพระองค์จึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองอิงชาง (ภาษาจีน: 應昌 Yingchang) ซึ่งพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ประชวรสวรรคตที่นั่น ในปีเดียวกันทัพราชวงศ์หมิงตามมาถึงเมืองอิงชาง พระจักรพรรดินีคีพร้อมพระโอรสจึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองคาราโครุม (Karakorum) หลังจากที่เสด็จหนีไปยังมองโกเลียแล้วไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระจักรพรรดินีคีอีกเลย นักประวัติศาสตร์คาดการณ์ว่าหลังจากที่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทรงก่อตั้งราชวงศ์หยวนเหนือ ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิหยวนเจ้าจง (ภาษาจีน: 昭宗 Zhaozong) พระจักรพรรดินีคีน่าจะดำรงตำแหน่งเป็นไทเฮาอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนจะสิ้นพระชนม์ไปโดยที่ไม่ทราบว่าเป็นปีใ.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและจักรพรรดินีคี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคจง

ักรพรรดิโคจง (เกาหลี:광무제, 光武帝) หรือ สมเด็จพระเจ้าโกจง (고종 광무제, ฮันจา:高宗光武帝, Gojong of Korea) (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2395–21 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโชซอน ลำดับที่ 26 และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเกาหลีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและจักรพรรดิโคจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง (เย่ว์ลี่หลงซีว์) (ค.ศ. 971 - 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

ขงจื๊อ

งจื๊อ (Confucius; ภาษาไทยมีเรียกกันหลายชื่อ เช่น ขงฟู่จื่อ ขงบรมครูจื่อ ข่งชิว) (ตามธรรมเนียม, 8 กันยายน 551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) หรือ วันที่ 27 เดือน 8 (八月廿七日) ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปานใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่สุดท้ายต้องร่วงโรย".

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

คย็องจู

คย็องจู (Gyeongju) เป็นเมืองใหญ่ที่มีความสำคัญในประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 269,343 คนและมีความสำคัญในประวัติศาสตร์เกาหลี อย่างมาก เนื่องจากเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรซิลลาและอาณาจักรรวมซิลลา หมวดหมู่:เมืองในประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและคย็องจู · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรเกาหลี

มุทรเกาหลี (Korean Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตร.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและคาบสมุทรเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยาลู่

ูมิศาสตร์แม่น้ำยาลู แม่น้ำยาลู่ (鴨綠江, 鸭绿江 Yālù Jiāng; Yalu River) หรือ แม่น้ำอัมนก (Amnok River) เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างจีน และเกาหลีเหนือ และมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์เกาหลีอย่างมาก.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและแม่น้ำยาลู่ · ดูเพิ่มเติม »

แคซ็อง

แคซ็อง เดิมมีชื่อว่า ช็องโด เป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีสมัยราชวงศ์โครยอ ตังแต่รัชกาลพระเจ้าแทโจ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าแทโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน ทรงย้ายราชธานีจากแคซ็องไปอยู่ที่ฮันยังหรือฮันซ็อง (กรุงโซลในปัจจุบัน) พอถึงรัชกาลพระเจ้าแทจง โปรดให้ย้ายราชธานีกลับมาที่นี่ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชก็โปรดให้ย้ายราชธานีกลับไปที่ฮันยังจนถึงปัจจุบัน คแคซ็อง คแคซ็อง คแคซ็อง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและแคซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

เกาหลี

กาหลี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคังฮวา

right เกาะคังฮวา เป็นเกาะตั้งอยู่ปากแม่น้ำฮั่น ทางชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรเกาหลี มีเนื้อที่ประมาณ 302.4 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตประเทศเกาหลีใต้ ใกล้กับชายแดนเกาหลีเหนือ มีประชากรประมาณ 65,000 คน ปรากฏครั้งแรกในรัชกาลพระเจ้าจุงจงเมื่อองค์ชายยอนซันกุนกษัตริย์องค์ก่อนและเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดากับพระเจ้าจุงจงได้ถูกเนรเทศมาที่เกาะนี้ และสิ้นพระชนม์ที่นี่หลังจากนั้นก็มาถึงสมัยองค์ชายควางแฮที่ถูกเนรเทศมาที่เกาะนี้ ค.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและเกาะคังฮวา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออก

แผนที่เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ประมาณ 6,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 15% ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย ประเทศซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เปียงยาง

ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ. 427 ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโคกูรยอ มีชื่อว่าเมืองเปียงยาง จนถึงปี ค.ศ. 668 ที่อาณาจักรโคกูรยอล่มสลายลง.

ใหม่!!: ราชวงศ์โครยอและเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Goryeoราชวงศ์โคเรียวอาณาจักรโครยอชาวโครยอโครยอ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »