โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สัน

ดัชนี ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สัน

ั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สัน (Ford–Fulkerson algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีสำหรับแก้ปัญหาเรื่องการไหลมากสุด (maximum flow) ของการไหลในเครือข่าย (network flow) ซึ่งขั้นตอนวิธีนี้ถูกพัฒนาขึ้นโดย Lester Randolph Ford และ Delbert Ray Fulkerson ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปี..

10 ความสัมพันธ์: กราฟระบุทิศทางการทำเหมืองข้อมูลการค้นหาในแนวกว้างการไหลในเครือข่ายจำนวนลบและจำนวนไม่เป็นลบจำนวนเต็มทฤษฎีกราฟขั้นตอนวิธีขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนด์-คาปปัญหาการไหลมากสุด

กราฟระบุทิศทาง

กราฟระบุทิศทาง ในทฤษฎีกราฟ กราฟระบุทิศทาง หรือ ไดกราฟ คือกราฟซึ่งเส้นเชื่อมมีทิศ กล่าวคือกราฟ G.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและกราฟระบุทิศทาง · ดูเพิ่มเติม »

การทำเหมืองข้อมูล

การทำเหมืองข้อมูล (data mining) หรืออาจจะเรียกว่า การค้นหาความรู้ในฐานข้อมูล (Knowledge Discovery in Databases - KDD) เป็นเทคนิคเพื่อค้นหารูปแบบ (pattern) ของจากข้อมูลจำนวนมหาศาลโดยอัตโนมัติ โดยใช้ขั้นตอนวิธีจากวิชาสถิติ การเรียนรู้ของเครื่อง และ การรู้จำแบบ หรือในอีกนิยามหนึ่ง การทำเหมืองข้อมูล คือ กระบวนการที่กระทำกับข้อมูล(โดยส่วนใหญ่จะมีจำนวนมาก) เพื่อค้นหารูปแบบ แนวทาง และความสัมพันธ์ที่ซ่อนอยู่ในชุดข้อมูลนั้น โดยอาศัยหลักสถิติ การรู้จำ การเรียนรู้ของเครื่อง และหลักคณิตศาสตร์ ความรู้ที่ได้จากการทำเหมืองข้อมูลมีหลายรูปแบบ ได้แก่; กฎความสัมพันธ์ (Association rule): แสดงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์หรือวัตถุ ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน ตัวอย่างของการประยุกต์ใช้กฎเชื่อมโยง เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลการขายสินค้า โดยเก็บข้อมูลจากระบบ ณ จุดขาย (POS) หรือร้านค้าออนไลน์ แล้วพิจารณาสินค้าที่ผู้ซื้อมักจะซื้อพร้อมกัน เช่น ถ้าพบว่าคนที่ซื้อเทปวิดีโอมักจะซื้อเทปกาวด้วย ร้านค้าก็อาจจะจัดร้านให้สินค้าสองอย่างอยู่ใกล้กัน เพื่อเพิ่มยอดขาย หรืออาจจะพบว่าหลังจากคนซื้อหนังสือ ก แล้ว มักจะซื้อหนังสือ ข ด้วย ก็สามารถนำความรู้นี้ไปแนะนำผู้ที่กำลังจะซื้อหนังสือ ก ได้; การจำแนกประเภทข้อมูล (Data classification): หากฎเพื่อระบุประเภทของวัตถุจากคุณสมบัติของวัตถุ เช่น หาความสัมพันธ์ระหว่างผลการตรวจร่างกายต่าง ๆ กับการเกิดโรค โดยใช้ข้อมูลผู้ป่วยและการวินิจฉัยของแพทย์ที่เก็บไว้ เพื่อนำมาช่วยวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย หรือการวิจัยทางการแพทย์ ในทางธุรกิจจะใช้เพื่อดูคุณสมบัติของผู้ที่จะก่อหนี้ดีหรือหนี้เสีย เพื่อประกอบการพิจารณาการอนุมัติเงินกู้; การแบ่งกลุ่มข้อมูล (Data clustering): แบ่งข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายกันออกเป็นกลุ่ม แบ่งกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นโรคเดียวกันตามลักษณะอาการ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์หาสาเหตุของโรค โดยพิจารณาจากผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายคลึงกัน; การสร้างมโนภาพ (Visualization): สร้างภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกที่สามารถนำเสนอข้อมูลมากมายอย่างครบถ้วนแทนการใช้ขัอความนำเสนอข้อมูลที่มากมาย เราอาจพบข้อมูลที่ซ้อนเร้นเมื่อดูข้อมูลชุดนั้นด้วยจินตทัศน.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและการทำเหมืองข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

การค้นหาในแนวกว้าง

right ในทฤษฎีกราฟ การค้นหาตามแนวกว้าง (breadth-first search หรือย่อว่า BFS) คือขั้นตอนวิธีในการท่องกราฟอย่างหนึ่ง โดยในขณะที่กำลังท่องกราฟมายังจุดยอดหนึ่ง ๆ นั้น จะมีการกระทำสองอย่างคือ: (ก) เข้าเยี่ยมและตรวจสอบจุดยอดดังกล่าว (ข) เข้าถึงจุดยอดข้างเคียงของจุดยอดดังกลาว การท่องกราฟจะเริ่มต้นที่จุดยอดรากที่กำหนดและไปยังจุดยอดอื่น ๆ จนเกิดเป็นต้นไม้แบบทอดข้าม การท่องกราฟอีกรูปแบบที่คล้ายคลึงกันคือการค้นหาในแนวลึก การค้นในลักษณะนี้ถูกใช้เป็นแนวคิดพื้นฐานในการแก้ปัญหาทฤษฏีกราฟรวมถึงการค้นในปริภูมิสถานะ เนื่องจากมีลักษณะของการแวะผ่านปมไปทีละระดับ จึงเรียกอีกอย่างว่า การค้นทีละระดับ (Level-order search).

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและการค้นหาในแนวกว้าง · ดูเพิ่มเติม »

การไหลในเครือข่าย

ในทฤษฎีกราฟ การไหลในเครือข่าย (network flow) คือ การกำหนดค่าให้กับเส้นเชื่อมในกราฟระบุทิศทางถ่วงน้ำหนัก (เรียกว่า เครือข่ายการไหล (Flow network) ในกรณีนี้) ซึ่ง.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและการไหลในเครือข่าย · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนลบและจำนวนไม่เป็นลบ

ำนวนลบ (negative number) คือ จำนวนที่น้อยกว่าศูนย์ เช่น −3.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและจำนวนลบและจำนวนไม่เป็นลบ · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนเต็ม

ำนวนเต็ม คือจำนวนที่สามารถเขียนได้โดยปราศจากองค์ประกอบทางเศษส่วนหรือทศนิยม ตัวอย่างเช่น 21, 4, −2048 เหล่านี้คือจำนวนเต็ม แต่ 9.75, 5, √2 เหล่านี้ไม่ใช่จำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มเป็นเศษย่อยของจำนวนจริง และประกอบด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3,...) ศูนย์ (0) และตัวผกผันการบวกของจำนวนธรรมชาติ (−1, −2, −3,...) เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดมักแสดงด้วย Z ตัวหนา (หรือ \mathbb ตัวหนาบนกระดานดำ, U+2124) มาจากคำในภาษาเยอรมันว่า Zahlen แปลว่าจำนวน จำนวนเต็ม (พร้อมด้วยการดำเนินการการบวก) ก่อร่างเป็นกรุปเล็กที่สุดอันประกอบด้วยโมนอยด์เชิงการบวกของจำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็มก่อให้เกิดเซตอนันต์นับได้เช่นเดียวกับจำนวนธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ในทฤษฎีจำนวนเชิงพีชคณิตทำให้เข้าใจได้โดยสามัญว่า จำนวนเต็มซึ่งฝังตัวอยู่ในฟีลด์ของจำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนเต็มตรรกยะ เพื่อแยกแยะออกจากจำนวนเต็มเชิงพีชคณิตที่ได้นิยามไว้กว้างกว.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและจำนวนเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีกราฟ

กราฟที่มีจุดยอด 6 จุด และเส้นเชื่อม 7 เส้น ทฤษฎีกราฟ (graph theory) เป็นหนึ่งในสาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ศึกษาถึงคุณสมบัติต่าง ๆ ของกราฟ.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและทฤษฎีกราฟ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธี

ั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time), และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง หนึ่งในขั้นตอนวิธีอย่างง่าย คือ ขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนที่มีค่ามากที่สุดในรายการ (ซึ่งไม่ได้เรียงลำดับไว้) ในการแก้ปัญหานี้ เราจะต้องดูจำนวนทุกจำนวนในรายการ ซึ่งมีขั้นตอนวิธีดังนี้.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและขั้นตอนวิธี · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนด์-คาป

ในด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีกราฟ ขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนด์-คาป (Edmonds-Karp algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการไหลมากสุด (Maximum flow.) ใน ระบบเครือข่ายการไหล (Flow network.) โดยการนำเอาวิธีการของฟอร์ด-ฟูเกอร์สัน (Ford-Fulkerson method.) มาใช้ โดยทำงานได้ในระยะเวลา O(V E^2) หากเปรียบเทียบกันในเชิงเส้นแล้วจะช้ากว่า (Relabel-to-front algorithm) ซึ่งทำงานในเวลา O (V^3) แต่ในความเป็นจริงจะพบว่า ขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนด์-คาป จะทำงานได้ดีกว่าหากเป็น กราฟไม่หนาแน่น (sparse graphs.) ขั้นตอนวิธีแก้ปัญหานี้ถูกเปิดเผยครั้งแรกในปี ค.ศ. 1970 โดยนายดีนิทซ์ (Yefim Dinitz) นักวิทยาศาสตร์ชาวยิว (อดีตเป็นชาวรัสเซีย) โดยมีชื่อว่าขั้นตอนวิธีของดีนิซ (Dinic's algorithm) ซึ่งทำงานได้ในเวลา O (V^2 E) 2 ปีต่อมา คือปี..

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและขั้นตอนวิธีของเอ็ดมอนด์-คาป · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาการไหลมากสุด

ตัวอย่างของเครือข่ายการไหลซึ่งมีการไหลมากสุด แหล่งต้นทางคือ ''s'' และแหล่งปลายทางคือ ''t'' เลข ''a''/''b'' แสดงให้เห็นปริมาณการไหลในท่อนั้นกับความจุของท่อนั้นตามลำดับ ปัญหาการไหลมากสุด เป็นปัญหาเกี่ยวกับการไหลในเครือข่ายที่ต้องการหาการไหล (เส้นทางน้ำไหน; flow) ซึ่งจะทำให้น้ำที่ไหลออกจากแหล่งต้นทาง (source) ผ่านท่อต่าง ๆ ไปยังแหล่งปลายทาง (sink) มีปริมาณมากที่สุด ปัญหานี้อาจจะนับเป็นกรณีพิเศษของปัญหาการไหลหมุนเวียนที่ซับซ้อนยิ่งกว่า มีทฤษฎีบทที่สำคัญมากมายเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว หนึ่งในทฤษฎีบทที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือทฤษฎีบทการไหลมากสุด-คัทต่ำสุดซึ่งกล่าวไว้ว่าปริมาณการไหลที่มากที่สุด (ซึ่งก็คือคำตอบของปัญหาการไหลมากสุด) จะเท่ากับคัทที่ต่ำที.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟิลเกอร์สันและปัญหาการไหลมากสุด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อัลกอริทึมของฟอร์ด-เฟอลเกอสันขั้นตอนวิธีของฟอร์ด-เฟอลเกอสัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »