โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ

ดัชนี ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับ (sorting algorithm) คือ ขั้นตอนวิธีที่จัดเรียงสมาชิกของรายการ (list) ให้เป็นไปตามรูปแบบของอันดับที่กำหนด ส่วนใหญ่อันดับที่ใช้กันคือ อันดับตัวเลข และอันดับตัวอักษร การเรียงลำดับที่มีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อขั้นตอนวิธีอื่นๆ (เช่น ขั้นตอนวิธีการค้นหา และ การผสาน) ซึ่งขั้นตอนวิธีเหล่านี้ต้องใช้รายการที่เรียงอย่างถูกต้อง.

10 ความสัมพันธ์: การค้นหาการเรียงลำดับแบบฟองการเรียงลำดับแบบผสานการเรียงลำดับแบบแทรกการเรียงลำดับแบบเลือกรายการโทรทัศน์วิทยาการคอมพิวเตอร์สัญกรณ์โอใหญ่ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณขั้นตอนวิธี

การค้นหา

การค้นหา หรือ ค้นหา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและการค้นหา · ดูเพิ่มเติม »

การเรียงลำดับแบบฟอง

ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับแบบฟอง (bubble sort) เป็นขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับที่เรียบง่ายมาก ดำเนินการบนโครงสร้างข้อมูลประเภทรายการ ทำงานโดยเปรียบเทียบสมาชิกที่อยู่ติดกัน เมื่อพบตำแหน่งที่ผิด (นั่นคือตัวหน้ามากกว่าตัวหลังในกรณีการเรียงจากน้อยไปมาก) ก็จะทำการสลับข้อมูลกัน และจะดำเนินการซ้ำแบบนี้ไปเรื่อยๆจนกว่าจะไม่มีตำแหน่งที่ผิดอีกซึ่งบ่งบอกว่ารายการนั้นเรียงแล้ว ชื่อของขั้นตอนวิธีนี้มีมาจากสมาชิกที่น้อยที่สุดจะค่อยๆถูกสลับขึ้นมาจนอยู่หน้าสุดของรายการ เปรียบได้กับฟองที่ค่อยๆผุดขึ้นมาถึงผิวน้ำ เนื่องจากขั้นตอนวิธีนี้ใช้เพียงการเปรียบเทียบจึงเป็นการเรียงแบบเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังเป็นการเรียงแบบเสถียรอีกด้วย ถึงแม้ว่าการเรียงลำดับแบบฟองจะเป็นขั้นตอนวิธีที่เรียบง่ายมาก แต่ไม่เหมาะในการเรียงข้อมูลจำนวนมากซึ่งมีวิธีการเรียงข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากกว.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและการเรียงลำดับแบบฟอง · ดูเพิ่มเติม »

การเรียงลำดับแบบผสาน

ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับแบบผสาน เป็นขั้นตอนวิธีในการเรียงลำดับที่อาศัยการเปรียบเทียบ และยังเป็นตัวอย่างขั้นตอนวิธีที่ใช้หลักการแบ่งแยกและเอาชนะทำให้ขั้นตอนวิธีนี้มีประสิทธิภาพ O(n log n) ในการอิมพลิเมนต์เพื่อการใช้งานจริง ๆ นั้นสามารถทำได้ทั้งแบบบนลงล่าง (Top-down) และแบบล่างขึ้นบน (Bottom-up) อนึ่งในการอิมพลิเมนต์โดยทั่วไปแล้วการเรียงแบบนี้จะไม่ศูนย์เสียลำดับของข้อมูลที่มีค่าเท่ากัน นั่นคือเป็นการเรียงที่เสถียร การเรียงลำดับแบบผสาน ถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยจอห์น ฟอน นอยมันน์ในปี..

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและการเรียงลำดับแบบผสาน · ดูเพิ่มเติม »

การเรียงลำดับแบบแทรก

ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับแบบแทรก (insertion sort) เป็นขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับอย่างง่าย ทำงานโดยจะแบ่งข้อมูลในรายการเป็นสองส่วนคือส่วนที่เรียงแล้วและส่วนที่ยังไม่เรียง แน่นอนว่าในตอนเร่มแรกส่วนที่เรียงแล้วก็จะมีอย่างน้อยหนึ่งตัว และจะเริ่มหยิบข้อมูลตัวหนึ่งของส่วนที่ยังไม่เรียงมาเปรียบเทียบเพื่อหาตำแหน่งที่เหมาะสมในการแทรกลงในข้อมูลส่วนที่เรียงแล้ว ลักษณะเดียวกับการเรียงไพ่ในมือ และด้วยประสิทธิภาพ O(n2) ดังนั้นการเรียงลำดับแบบแทรกจึงไม่เหมาะในการทำงานในรายการที่มีจำนวนสมาชิกมากๆ ซึ่งขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับซึ่งซับซ้อนกว่าเช่น การเรียงลำดับแบบเร็ว, การเรียงลำดับแบบผสาน, การเรียงลำดับแบบฮีป มีความเหมาะสมมากกว.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและการเรียงลำดับแบบแทรก · ดูเพิ่มเติม »

การเรียงลำดับแบบเลือก

ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับแบบเลือก (selection sort) เป็นขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับอย่างง่ายโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ ทำงานโดยการหาค่าเหมาะสมที่สุด (ค่ามากสุดหรือน้อยสุด) ที่อยู่ในรายการส่วนที่ยังไม่เรียงและนำค่าเหมาะที่สุดนั้นมาต่อท้ายของส่วนที่เรียงแล้ว ก็จะทำให้ส่วนที่เรียงแล้วมีขนาดใหญ่ขึ้นทีละหนึ่งในแต่ละรอบการทำงาน ทำเช่นนี้จนไม่มีส่วนที่ยังไม่เรียงก็เสร็จ แต่ด้วยประสิทธิภาพเมื่อเกิดกรณีทั่วไปที่ O(n2) ทำให้ไม่เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่มีข้อมูลในรายการเป็นจำนวนมาก แต่ถ้าหากปรับปรุงการหาค่าเหมาะสมที่สุดในรายการด้วยแถวคอยลำดับความสำคัญที่ทำให้เกิดผลด้วยโครงสร้างข้อมูลแบบฮีปทวิภาคจะเรียกว่าการเรียงลำดับแบบฮีป ซึ่งมีประสิทธิภาพดีกว่าที่ O(n log n).

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและการเรียงลำดับแบบเลือก · ดูเพิ่มเติม »

รายการโทรทัศน์

รายการทอล์กโชว์ The Oprah Winfrey Show โดย โอปราห์ วินฟรีย์ รายการโทรทัศน์ เป็นส่วนต่าง ๆ ของการออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ การออกอากาศรายการโทรทัศน์ มีขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1936 ในกรุงลอนดอน รายการโทรทัศน์ อาจออกอากาศเพียงแค่ครั้งเดียว หรือมีตอนต่อ ที่เรียกว่า ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ (TV series) ส่วนมากมักเป็นรายการประเภทละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์มักแบ่งเป็นภาค ๆ โดยในหนึ่งภาค ในสหรัฐอเมริกาจะเรียกว่า ฤดูกาล (season) แต่ในสหราชอาณาจักรจะเรียกว่า ชุด (series) แต่ละฤดูกาลหรือชุดจะมีความยาวประมาณ 6-26 ตอน รายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศเป็นพิเศษเพียงครั้งเดียว จะเรียกว่า รายการพิเศษ (special program) และสถานีวิทยุโทรทัศน์บางสถานี ยังมี ภาพยนตร์โทรทัศน์ (TV movies) ที่สร้างขึ้นเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์โดยเฉพาะ ไม่ได้ออกฉายทางโรงภาพยนตร์ หรือบันทึกลงในวิดีโอ วีซีดี ดีวีดี หรือสื่ออื่น ๆ ทุกวันนี้ การออกอากาศ ภาพยนตร์โฆษณา (commercial advertisement) ถือเป็นส่วนสำคัญของรายการโทรทัศน์ โดยมีข้อปฏิบัติเป็นเกณฑ์ว่า ในการออกอากาศรายการโทรทัศน์ 1 ชั่วโมง จะมีภาพยนตร์โฆษณาได้ไม่เกิน 15 นาที เหมือนในโรงภาพยนตร.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและรายการโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและวิทยาการคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญกรณ์โอใหญ่

ตัวอย่างของสัญกรณ์โอใหญ่ โดย ''f''(''x'') ∈ O(''g''(''x'')) ซึ่งหมายความว่ามี ''c'' > 0 (เช่น ''c''.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและสัญกรณ์โอใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ

ทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ (Computational Complexity Theory) เป็นสาขาหนึ่งของทฤษฎีการคำนวณ ที่มุ่งเน้นไปในการวิเคราะห์เวลาและเนื้อที่สำหรับการแก้ปัญหาหนึ่ง ๆ โดยปกติแล้วคำว่า "เวลา" ที่เราพูดถึงนั้น จะเป็นการนับจำนวนขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา ส่วนในเรื่องของ "เนื้อที่" เราจะพิจารณาเนื้อที่ ๆ ใช้ในการทำงานเท่านั้น (ไม่นับเนื้อที่ ๆ ใช้ในการเก็บข้อมูลป้อนเข้า).

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธี

ั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time), และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง หนึ่งในขั้นตอนวิธีอย่างง่าย คือ ขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนที่มีค่ามากที่สุดในรายการ (ซึ่งไม่ได้เรียงลำดับไว้) ในการแก้ปัญหานี้ เราจะต้องดูจำนวนทุกจำนวนในรายการ ซึ่งมีขั้นตอนวิธีดังนี้.

ใหม่!!: ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและขั้นตอนวิธี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Sorting algorithmอัลกอริทึมการเรียงอัลกอริทึมการเรียงลำดับ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »