โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรเปอร์เซีย

ดัชนี อักษรเปอร์เซีย

อักษรเปอร์เซีย (الفبای فارسی‎, UniPers: Alefbâye Fârsi) หรือ Perso-Arabic alphabet เป็นระบบการเขียนที่ใช้ในภาษาเปอร์เซี.

17 ความสัมพันธ์: ภาษาชะกะไตภาษาสินธีภาษาแคชเมียร์ภาษาเปอร์เซียระบบการเขียนสัทอักษรสากลอักษรชาห์มุขีอักษรยาญาอิมลาอักษรยาวีอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมันอักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุสอักษรอิสเกอิมลาอักษรอูรดูอักษรเสี่ยวเอ้อร์อาเรบีตซาอาเลฟฮัมซะฮ์

ภาษาชะกะไต

ษาชะกะไต (ภาษาชะกะไต: جغتای; ภาษาตุรกี: Çağatayca; ภาษาอุยกูร์: چاغاتاي Chaghatay; ภาษาอุซเบก: ﭼىﻐﺎتوي Chig'atoy) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในเอเชียกลางและบริเวณโคราซาน คำว่า “ชะกะไต” มีความเกี่ยวพันกับเขตของชะกะไตข่านทางตะวันตกของจักรวรรดิมองโกเลียที่อยู่ในความครอบครองของชะกะไตข่าน ลูกชายคนที่สองของเจงกีสข่าน ชาวตุรกีชะกะไตและชาวตาตาร์จำนวนมากที่เคยพูดภาษานี้เป็นลูกหลานที่สืบตระกูลมาจากชะกะไตข่าน.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและภาษาชะกะไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสินธี

ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและภาษาสินธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแคชเมียร์

ษาแคชเมียร์หรือภาษากัศมีร์เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก ใช้พูดในแคชเมียร์ จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยุเปียน สาขาอินโด-อารยัน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรสรทะ แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษาแคชเมียร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษาแคชเมียร์มีเพียงฉบับเดียว.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและภาษาแคชเมียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเขียน

ระบบการเขียนในปัจจุบัน ระบบการเขียน (writing system) คือลักษณะสัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ใช้ในการแสดงความหมายที่ใช้ในภาษาต่างๆ ระบบการเขียนแตกต่างจากระบบสัญลักษณ์ทั่วไปคือ บุคคลที่ใช้ระบบเดียวกันสามารถอ่านและเข้าใจภาษานั้นได้ตรงกันโดยไม่จำเป็น ต้องมีความรู้เฉพาะทางสำหรับดึงความหมายของสัญลักษณ์นั้น ต่างกับสัญลักษณ์ใน ภาพวาด แผนที่ ป้าย คณิตศาสตร์และสัญลักษณ์ต่างๆ หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:การเรียงพิมพ์.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและระบบการเขียน · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

อักษรชาห์มุขี

อักษรชาห์มุขี (Shahmukhi;شاہ مکھی หมายถึงจากปากของชาห์) เป็นอักษรหนึ่งในสองชนิดที่ใช้เขียนภาษาปัญจาบ โดยอีกชนิดหนึ่งคืออักษรคุรมุขี พัฒนามาจากอักษรเปอร์เซียและเขียนแบบนัสตาลิก อักษรชาห์มุขีใช้ครั้งแรกโดยกวีที่นับถือลัทธิศูฟีในปัญจาบและกลายเป็นการเขียนของมุสลิม ใช้มากในจังหวัดปัญจาบ ประเทศปากีสถาน หลังจากแยกตัวออกจากอินเดีย ในขณะที่ชาวปัญจาบในอินเดียใช้อักษรคุรมุขี ต่อไปนี้เป็นการเปรียบเทียบระหว่างอักษรชาห์มุขีและอักษรคุรมุขี center.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรชาห์มุขี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรยาญาอิมลา

หน้าปกของหนังสือที่ใช้อักษายาญาอิมลา พิมพ์ด้วยอักษรอาหรับแบบแยกใน พ.ศ. 2467 อักษรยาญาอิมลา (Yaña imlâ: ออกเสียง; อักษรซีริลลิก: яңа имля; ภาษาตาตาร์ หมายถึงการเขียนใหม่) เป็นรูปแบบดัดแปลงของอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาตาตาร์ระหว่าง..

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรยาญาอิมลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรยาวี

ตัวอย่างอักษรยาวี อักษรยาวี (حروف جاوي) เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับเขียนภาษามลายู ภาษาอาเจะฮ์ ภาษาบันจาร์ ภาษามีนังกาเบา ภาษาเตาซูก และภาษาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ นักปราชญ์คนหนึ่งของปัตตานี ชื่อ ชัยค์ อะห์มัด อัลฟะฏอนี (Syeikh Ahmad al-Fathani) ได้วางกฎเกณฑ์การใช้อักษรยาวีเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษามลายูในท้องถิ่นนี้ ในอดีต โลกมลายูใช้อักษรยาวีมาช้านาน ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้อักษรรูมี ปัจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยที่พูดภาษามลายู นิยมใช้อักษรยาวีบันทึกเรื่องราวในศาสนา และการสื่อสารต่าง ๆ ส่วนนักเรียนในโรงเรียนปอเนาะ หรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จะเริ่มเรียนอักษรยาวีสำหรับอ่านเขียนภาษาอาหรับ (ภาษาในคัมภีร์อัลกุรอาน) ตั้งแต่ยังเยาว์ อักษรยาวียังคงใช้กันอยู่บ้างในมาเลเซีย บรูไน และสุมาตรา คำว่า ยาวี นั้นมาจากคำว่า jawa หมายถึง ชวา นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพราะชาวชวาได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในมะละกาและปัตตานี ได้นำอักษรอาหรับดัดแปลงมาเผยแพร่ และในที่สุดได้รับมาใช้ในชุมชนที่พูดภาษามลายูปัตตานีมาช้านาน เป็นที่น่าสังเกตว่า ยังมีความสับสนในการเรียกชื่ออักษรยาวี และภาษามลายูว่า "ภาษายาวี" แม้กระทั่งในหมู่ผู้พูดภาษามลายู ทว่าความจริงแล้วไม่มีภาษายาวี มีแต่อักษรยาวีกับภาษามลายู.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรยาวี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน

ปฏิทินปี 1896 ในเทสซาโลนีกี ในสามบรรทัดแรกเป็นภาษาตุรกีออตโตมัน เขียนด้วยอักษรอาหรับ อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาตุรกีออตโตมัน: الفبا elifbâ) เป็นรูปแบบของ อักษรอาหรับ ที่เพิ่มอักษรบางตัวจาก อักษรเปอร์เซีย ใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมัน ในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน และในช่วงแรกๆของสาธารณรัฐตุรกี จนถึง..

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส เป็นระบบการเขียนด้วยอาหรับที่พัฒนาขึ้นเมื่อราว พุทธศตวรรษที่ 20 -21 ประกอบด้วยอักษร 28 ตัวและอักษรเพิ่มเติมอีก 3 ตัว เพื่อแสดงหน่วยเสียงในภาษาเบลารุสที่ไม่มีใน ภาษาอาหรับ อักษรอาหรับนี้ใช้โดยชาวลิปกา ตาตาร์ หรือชาวตาตาร์เบลารุสที่ได้รับเชิญให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเบลารุส ซึ่งในระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 19 - 21 พวกเขาได้หยุดใช้ภาษาของตนเองและเริ่มใช้ ภาษาเบลารุสโบราณและเขัยนด้วยอักษรอาหรับ หนังสือที่เป็นวรรณคดีเรียก Kitab ("Кітаб"), ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ หนังสือ มีหนังสือภาษาโปแลนด์บางส่วนเขียนด้วยอักษรอาหรับ ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 Ilya Yevlampiev, Karl Pentzlin and Nurlan Joomagueldinov, N4072 Revised Proposal to encode Arabic characters used for Bashkir, Belarusian, Crimean Tatar, and Tatar languages, ISO/IEC JTC1/SC2/WG2, 20 May 2011.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอิสเกอิมลา

Qazan'' – قازان เขียนด้วยอักษรยาญาอิมลาซึ่งคล้ายคลึงกับ Zilant ป้ายจารึกบนหลุมฝังศพของ Ğabdulla Tuqay ในปี 2554 ซึ่งจารึกชื่อด้วยภาษาตาตาร์เขียนด้วยอักษรอาหรับ ปกของหนังสือภาษาตาตาร์เบื้องต้นสำหรับชาวรัสเซียเขียนด้วยอักษรอาหรับเมื่อ พ.ศ. 2321 ''Dini kitaplar'' (''หนังสือทางศาสนา'') เขียนด้วยอักษรซีริลลิกและอิสเกอิมลา อิสเกอิมลานิยมใช้ในหมู่มุสลิมอย่างชัดเจน อีกตัวอย่างของการใช้อักษรอาหรับในภาษาตาตาร์ เหรียญโทรศัพท์ ใช้เมื่อราว พ.ศ. 2533 ในเครือข่ายโทรศัพท์กาซาน คำว่ากาซานเขียนด้วยภาษารัสเซีย (Казань) และภาษาตาตาร์ด้วยอิสเกอิมลา (قزان) อักษรอิสเกอิมลา (İske imlâ; "การเขียนแบบเก่า", ออกเสียง isˈke imˈlʲæ|) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาตาตาร์โบราณและภาษาตาตาร์ก่อน..

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรอิสเกอิมลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอูรดู

อักษรอูรดู เป็นระบบการเขียนที่เขียนจากขวาไปซ้าย ใช้เขียนภาษาอูรดู โดยปรับปรุงมาจากอักษรเปอร์เซีย ที่พัฒนามาจากอักษรอาหรับ มีอักษร 38 ตัว อักษรอูรดูจะนิยมเขียนแบบ นาสตาลิกในขณะที่ อักษรอาหรับโดยทั่วไปจะเขียนแบบ นาสค์ โดยทั่วไป การถอดอักษรอูรดูมาเป็นอักษรโรมัน จะขาดหน่วยเสียงที่ไม่มีในภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆที่เขียนด้วยอักษรละติน สถาบันภาษาแห่งชาติ แห่ง ปากีสถาน ได้พัฒนาระบบสำหรับเสียงที่ไม่พบในภาษาอังกฤษ แต่จะเหมาะสมกับผู้ที่รู้ภาษาอูรดู ภาษาอาหรับหรือภาษาเปอร์เซียมากกว่า ประเทศที่มีผู้พูดภาษาอูรดูได้แก่: อัฟกานิสถาน, บาห์เรน, บังกลาเทศ, บอตสวานา, ฟิจิ, เยอรมัน, กายอานา, อินเดีย, มาลาวี, มอริเชียส, เนปาล, นอร์เวย์, โอมาน, กาตาร์, ซาอุดิอาระเบีย, แอฟริกาใต้, ไทย, สหรัฐอาหรับ, สหราชอาณาจักรและแซมเบี.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเสี่ยวเอ้อร์

นานุกรมภาษาจีน-ภาษาอาหรับ-เสี่ยวเอ้อร์ในช่วงแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน อักษรเสี่ยวเอ้อร์ หรือ เสี่ยวเอ้อร์จิง (Xiao'erjing or Xiao'erjin or Xiaor jin หรืออย่างย่อว่า Xiaojing), แปลตรงตัวคือการเขียนของเด็ก หรือการเขียนส่วนน้อย โดยการเขียนดั้งเดิมจะหมายถึงอักษรอาหรับต้นแบบ เป็นรูปแบบการเขียนภาษาจีนด้วยอักษรอาหรับ อักษรนี้ใช้เป็นบางโอกาสในกลุ่มของชนกลุ่มน้อยในจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม (ส่วนใหญ่เป็นชาวหุย แต่ก็มีชาวต้งเซี่ยง และชาวซาลาร์) และเคยใช้ในลูกหลานของชาวดันกันในเอเชียกลาง สหภาพโซเวียต ได้บังคับให้ชาวดันกันใช้อักษรละตินแทนที่อักษรเสี่ยวเอ้อร์ และต่อมาเปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิกในปัจจุบัน.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอักษรเสี่ยวเอ้อร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเรบีตซา

อาเรบีตซา (บอสเนีย: arebica) หรือ อาราบีตซา (arabica) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งที่ใช้เขียนภาษาบอสเนีย เคยใช้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 15-19 (พุทธศตวรรษที่ 20-24) เป็นความพยายามของมุสลิมที่จะพัฒนาอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาบอสเนียนอกเหนือจากอักษรละตินและอักษรซีริลลิกสำหรับภาษาเซอร์เบีย หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้ตีพิมพ์ครั้งสุดท้ายเมื่อ..

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอาเรบีตซา · ดูเพิ่มเติม »

อาเลฟ

อาเลฟ (Aleph) เป็นอักษรตัวแรกของอักษรฮีบรู ตรงกับอักษรอาหรับ (ا; “อลิฟ”) อักษรกรีก “อัลฟา” และอักษรละติน “A” พัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย ʾāleph ซึ่งมาจากอักษรคานาอันไนต์ ʾalp “วัว” อักษรนี้ในภาษาอาหรับใช้แทนเสียง /ʔ/ หรือเสียงสระอา เพื่อแสดงว่าอลิฟนั้นแทนเสียงพยัญชนะหรือสระจึงเพิ่มฮัมซะฮ์ (ء) ขึ้นมา เรียกว่า ฮัมซะตุลก็อฏอิ ฮัมซะฮ์ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเต็มตัวเท่ากับอักษรอื่น ๆ เพราะมักจะใช้คู่กับตัวพาคือ วาว (و), ยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) และอลิฟ (ا) อลิฟใช้คู่กับฮัมซะฮ์เมื่อเป็นพยางค์แรกของคำและประสมสระเสียงสั้น โดยอยู่ข้างบน (أ) เมื่อเป็นเสียงสระอะหรืออุ และอยู่ข้างล่าง (إ) เมื่อเป็นเสียงสระอิ ถ้าอลิฟเป็นสระเสียงยาวจะไม่แสดงฮัมซะฮ์ ฮัมซะฮ์ชนิดที่ 2 ฮัมซะตุลวัศลิ ใช้เฉพาะกับหน่วยเสียงแรกของคำว่า ال (อัล) อันเป็นคำกำหนดชี้เฉพาะหรือคำในกรณีใกล้เคียงกัน ต่างจากฮัมซะฮ์ชนิดแรกตรงที่ว่า จะถูกยกเลิกเมื่อมีสระอยู่ข้างหน้า ฮัมซะฮ์ชนิดนี้ใช้อะลิฟเป็นตัวพาเท่านั้น ปกติจะไม่เขียนอักษรฮัมซะฮ์ แต่จะเขียนอลิฟเพียงอย่างเดียว อลิฟมัดดะ (alif madda) ใช้ในกรณีที่อะลิฟ 2 ตัวเขียนติดกัน (เสียงอา) จะเขียนอะลิฟในรูป (آ) เช่น القرآن (อัลกุรอาน) อลิฟมักศูเราะฮ์ (alif maqsūrah) รูปร่างเหมือนตัวยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอาเช่นเดียวกับอลิฟ ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนฮัมซะฮ์ด้วย อ์ เมื่อเป็นตัวสะก.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและอาเลฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมซะฮ์

ัมซะฮ์ (الهَمْزة,, ء) เป็นอักษรอาหรับใช้แทนเสียง /อ/ แต่ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเท่ากับอักษรอื่นอีก 28 ตัว ใช้แสดงการออกเสียงในยุคต้นๆของศาสนาอิสลาม ใช้เติมบนอะลิฟเพื่อบอกว่าอะลิฟตัวนี้ใช้แทนเสียง /อ/ อาจเขียนได้ในรูป.

ใหม่!!: อักษรเปอร์เซียและฮัมซะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »