โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน

ดัชนี หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน

หม่อมเจ้าหญิงทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และธิดา คือ หม่อมราชวงศ์กทลีและหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา จักรพันธุ์; เกิด: 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2479) ภริยาของอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 ของไท.

28 ความสัมพันธ์: บุญเรือน ชุณหะวัณพ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)ภักดิพร สุจริตกุลรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยวรรณี คราประยูรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)สำนักพระราชวังหม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์อานันท์ ปันยารชุนท่านผู้หญิงประเทศไทยนายกรัฐมนตรีเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 510 มิถุนายน2 มีนาคม23 กันยายน7 เมษายน

บุญเรือน ชุณหะวัณ

ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม: โสพจน์; เกิดราว พ.ศ. 2462) เป็นภริยาของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของประเทศไทย และเป็นพระญาติฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและบุญเรือน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภักดิพร สุจริตกุล

ักดิพร สุจริตกุล (ชื่อเล่น: ปุ๊ย; เกิด: 20 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นภริยาที่มิได้จดทะเบียนสมรสของชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของไทย เป็นบุตรสาวคนโตของกัลย์ทัศน์ สุจริตกุล อดีตมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับดรรชี สุจริตกุล เธอเป็นหลานย่าของสุมิตรา สุจริตกุล (สกุลเดิม: สิงหลกะ) นางข้าหลวงในรัชกาลที่ 6 โดยสุมิตราเป็นธิดาของ มหาเสวกตรี พระยาราชมนตรี (สง่า สิงหลกะ) กับคุณหญิงบุญปั๋น ราชมนตรี (สกุลเดิม: พิทักษ์เทวี; บางแห่งว่าเธอมีสถานะเป็น "เจ้า") โดยพ่อและย่านำเข้าเฝ้าถวายตัวตั้งแต่เด็ก ๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระราชทานตำแหน่งให้เป็นคุณข้าหลวงในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพร้อมกับศึกษาในโรงเรียนจิตรลดาชั้นเดียวกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจนสำเร็จการศึกษา จึงทูลลามาศึกษาวิชาเปียโน เมื่อศึกษาจบจึงเป็นครูสอนเปียโนที่โรงเรียนสยามกลการ ภักดิพรพบกับชวน หลีกภัย ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและภักดิพร สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

วรรณี คราประยูร

ณหญิงวรรณี คราประยูร (สกุลเดิม: หนุนภักดี) เป็นภริยาของพลเอก สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรีคนที่ 19 ของไทย และเป็นน้องสาวของพลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและวรรณี คราประยูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค).

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา

หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา (พ.ศ. 2420 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2478) เป็นหม่อมใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ธิดาในพระยาสุพรรณพิจิตร (โต) กับ หม่อมราชวงศ์สำอาง เสนีวงศ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และหม่อมอ่อนมีโอรสธิดารวม 11 พระองค์ ดังนี้.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและหม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์

หม่อมเจ้าหญิงทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ และธิดา คือ หม่อมราชวงศ์กทลีและหม่อมราชวงศ์สดศรี หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ เป็นพระธิดาพระองค์ที่ 11 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ประสูติแต่ หม่อมอ่อน รพีพัฒน.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์

หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี..

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ เขายังได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจำปี..

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและอานันท์ ปันยารชุน · ดูเพิ่มเติม »

ท่านผู้หญิง

ท่านผู้หญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) และ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ซึ่งนับเป็นเกียรติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้แก่สตรีผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษ มิได้ขอพระราชทานโดยรัฐบาล.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและท่านผู้หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)

้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ มีนามเดิมว่า เทศ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาตลับ (สกุลเดิม: เกตุทัต; เกิด: พ.ศ. 2395 — อนิจกรรม: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2472) เป็นธิดาคนโตของพระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต) กับภรรยาชื่ออิ่ม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เธอจึงได้ถวายตัวเป็นพระสนมสิบสองพระกำนัลตามโบราณราชประเพณี ต่อมาได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำ มีบรรดาศักดิ์เป็น "เจ้าจอมตลับ" และหลังจากประสูติพระราชธิดาพระองค์แรกจึงได้มีศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาตลับ" มีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและเจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กันยายน

วันที่ 23 กันยายน เป็นวันที่ 266 ของปี (วันที่ 267 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 99 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ23 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุนและ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมราชวงศ์สดศรี (จักรพันธุ์) ปันยารชุนหม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา จักรพันธุ์หม่อมราชวงศ์สดศรีสุริยา ปันยารชุน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »