โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอล

ดัชนี ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอล

ไม่มีคำอธิบาย.

12 ความสัมพันธ์: ภาษาสไตล์ชีตมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์อักษรย่ออัญประกาศจาวาสคริปต์คีย์บอร์ดตัวยกและตัวห้อยตัวแปรไอคอน (คอมพิวเตอร์)ไทป์เฟซเอชทีเอ็มแอลเอกซ์เอชทีเอ็มแอล

ภาษาสไตล์ชีต

ษาสไตล์ชีต (style sheet language) คือภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้อธิบายลักษณะการนำเสนอของเอกสารต้นฉบับที่ถูกจัดเป็นโครงสร้าง ซึ่งมีส่วนต่างๆ ถูกกำหนดและจัดกลุ่มไว้อย่างชัดเจนแล้ว (well-formed) โปรแกรมหนึ่งๆ จะนำเอกสารต้นฉบับไปนำเสนอโดยใช้ลักษณะที่แตกต่างกันตามกลุ่มที่ได้กำหนดไว้ เนื่องจากคุณลักษณะอย่างหนึ่งของเอกสารที่ถูกจัดเป็นโครงสร้างคือ เนื้อหาที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ในหลายบริบทและนำเสนอได้หลายวิธี ลักษณะการนำเสนอที่แนบติดไปกับเอกสาร จะทำให้การแสดงผลแตกต่างกันตามความต้องการในแต่ละงาน ภาษาสไตล์ชีตอย่างหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางเช่น CSS ใช้สำหรับกำหนดลักษณะการแสดงผลของเอกสาร HTML, XHTML, SVG, XUL, และภาษามาร์กอัปอื่นๆ และเพื่อที่จะนำเสนอเนื้อหาของเอกสารที่ถูกจัดเป็นโครงสร้างนั้น กฎเกณฑ์การแสดงผลต่างๆ จะถูกนำมาใช้ เช่น สีตัวอักษร แบบอักษร โครงร่างการจัดหน้า เป็นต้น กฎเกณฑ์เหล่านี้เรียกรวมกันว่าเป็น สไตล์ชีต สไตล์ชีตแต่เดิมนั้นเป็นเอกสารที่เขียนขึ้นและที่มีประวัติยาวนาน ถูกใช้โดยผู้อำนวยการพิมพ์ นักพิมพ์ดีด และนักเขียน เพื่อทำให้แน่ใจว่าสิ่งตีพิมพ์จะมีลักษณะการนำเสนอที่ถูกต้อง คือการสะกดคำและการใช้เครื่องหมายวรรคตอน ส่วนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน สไตล์ชีตถูกใช้ในการจัดลักษณะการปรากฏของเนื้อหาหรือความสวยงามมากกว่าการสะกดคำ.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและภาษาสไตล์ชีต · ดูเพิ่มเติม »

มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์

มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) รู้จักในชื่อ ไฟร์ฟอกซ์ เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่สามารถใช้ได้ในหลายระบบปฏิบัติการ พัฒนาโดยมูลนิธิมอซิลลาและอาสาสมัครอีกหลายร้อยคน ปัจจุบันอยู่ใต้การดำเนินงานของบริษัท มอซิลลา ปัจจุบันไฟร์ฟอกซ์เป็นเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมอันดับ 3 รองจากอินเทอร์เน็ต เอกซ์พลอเรอร์และกูเกิล โครม และเมื่อแบ่งตามรุ่นของแต่ละเบราว์เซอร์ ไฟร์ฟอกซ์ รุ่น 3.5 เป็นเบราว์เซอร์ที่มีคนใช้มากที่สุดในโลก ไฟร์ฟอกซ์มีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ทั่วโลกร้อยละ 24.61 และมีส่วนแบ่งในตลาดเว็บเบราว์เซอร์ในประเทศไทยร้อยละ 15.28 (ข้อมูลเมื่อธันวาคม พ.ศ. 2552) 21 ตุลาคม 2554 ไฟร์ฟอกซ์ใช้เกกโกตัวเรนเดอริงเอนจินโอเพนซอร์ซซึ่งจัดการตามมาตรฐานเว็บสอดคล้องกับทางดับเบิลยูธรีซีกำหนดไว้ และเพิ่มคำสั่งพิเศษเข้าไป คำสั่งไฟร์ฟอกซ์เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้โปรแกรมเมอร์ที่เรียกว่า "แอด-ออนส์" ทำงานร่วมกับตัวโปรแกรม โดยปัจจุบันมีมากกว่า 2,000 ตัว โดยตัวที่นิยมมากที่สุดตามลำดับคือ ฟอกซีทูนส์ (ควบคุมโปรแกรมเล่นเพลง) สตัมเบิลอัปออน (ค้นหาเว็บไซต์) แอดบล็อกพลัส (บล็อกโฆษณา) ดาวน์เดมออล! (ดาวน์โหลด) และเว็บเดเวลอปเปอร์ (เครื่องมือสำหรับทำเว็บ) ไฟร์ฟอกซ์ทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการรวมถึง วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น ลินุกซ์ รุ่นปัจจุบันคือรุ่น 12.0 ออกเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 ตัวโค้ดโปรแกรมเขียนขึ้นในภาษา C++ XUL XBL และ จาวาสคริปต์ โดยโค้ดทั้งหมดเปิดให้ใช้ฟรีภายใต้ลิขสิทธิ์ MPL GPL / LGPL และ Mozilla EULA โดยที่ในรุ่นนี้ได้ทำารแก้Bugในรุ่น9.0ที่ทำให้เบราว์เซอร์Crashบนระบบปฏิบัติการหลักทั้งสามตัว ในกรณีที่ติดตั้งTools Barบางตัวลงไป ไฟร์ฟอกซ์ในปัจจุบันรับรองการใช้ 75 ภาษ.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและมอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อัญประกาศ

อัญประกาศ หรือ เครื่องหมายคำพูด เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากล ใช้เขียนสกัดข้างหน้าและข้างหลังของ อักษร คำ วลี หรือประโยค ที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ ให้ดูแตกต่างจากข้อความที่อยู่รอบข้าง ลักษณะคล้ายลูกน้ำแต่เขียนไว้ข้างบน (บางภาษาเขียนไว้ข้างล่างก็มี) มักเขียนเป็นคู่เรียกว่า อัญประกาศคู่ ข้างหน้าเขียนหัวคว่ำ ข้างหลังเขียนหัวหงาย (“ ”) หรือปรากฏเป็น อัญประกาศเดี่ยว (‘ ’) บางครั้งอาจพบการใช้ขีดตั้งเล็ก ๆ เพื่อความสะดวก (" " หรือ ' ').

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและอัญประกาศ · ดูเพิ่มเติม »

จาวาสคริปต์

วาสคริปต์ (JavaScript) เป็นภาษาสคริปต์ ทีมีลักษณะการเขียนแบบโปรโตไทพ (Prototyped-based Programming) ส่วนมากใช้ในหน้าเว็บเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน แต่ก็ยังมีใช้เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนสคริปต์โดยฝังอยู่ในโปรแกรมอื่น ๆ ซัน ไมโครซิสเต็มส์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า "JavaScript" โดยมันถูกนำไปใช้ภายใต้สัญญาอนุญาตเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีโดย เน็ตสเคป และมูลนิธิมอซิลล.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและจาวาสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

คีย์บอร์ด

ีย์บอร์ด (keyboard) เป็นของหมักดอง มีรสและกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากถูกหมักบ่ม และ เก็บมานานภายใต้สภาพอากาศปิด ยิ่งนานยิ่งมีกลิ่นที่เปรี้ยวรุนแรง อาจรวมถึง Mouse ด้วย เช่นกัน; ในการพิม.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและคีย์บอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ตัวยกและตัวห้อย

ตัวยกและตัวห้อย 4 ตำแหน่ง ตัวยก หรือ ดรรชนีบน (superscript) คืออักขระใดๆ ที่เขียนในระดับสูงกว่าระดับบรรทัดปกติ ตัวห้อย หรือ ดรรชนีล่าง (subscript) คืออักขระใดๆ ที่เขียนในระดับต่ำกว่าระดับบรรทัดปกติ ทั้งตัวยกและตัวห้อยจะถูกเขียนให้มีขนาดเล็กกว่าปกติเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้กับสูตรคณิตศาสตร์หรือสูตรเคมี พบได้น้อยกับข้อความทั่วไป.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและตัวยกและตัวห้อย · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแปร

ตัวแปร (variable) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและตัวแปร · ดูเพิ่มเติม »

ไอคอน (คอมพิวเตอร์)

ไอคอน เป็นรูปภาพที่แสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์และใช้ในการสำรวจระบบคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์มือถือ ไอคอนเป็นภาพขนาดเล็กหรือสัญลักษณ์ที่ให้บริการเป็นอย่างรวดเร็ว หมวดหมู่:ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและไอคอน (คอมพิวเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไทป์เฟซ

ตัวอย่างการทดสอบการพิมพ์ไทป์เฟซด้วยขนาดและภาษาต่างๆ ไทป์เฟซ หรือ ฟอนต์ หรือในชื่อไทยว่า ชุดแบบอักษร (typeface หรือ font) คือชุดของรูปอักขระ (glyph) ที่ได้รับการออกแบบไว้อย่างเป็นเอกภาพด้วยรูปแบบเฉพาะตัว ไทป์เฟซอาจประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายวรรคตอน และอาจรวมไปถึงอักษรภาพ (ideogram) เช่นอักษรจีนหรือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์หรือทางเทคน.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและไทป์เฟซ · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีเอ็มแอล

อชทีเอ็มแอล (HTML: Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติ) เป็นภาษามาร์กอัปหลักในปจจุบันที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งตัวโค้ดจะแสดงโครงสร้างของข้อมูล ในการแสดง หัวข้อ ลิงก์ ย่อหน้า รายการ รวมถึงการสร้างแบบฟอร์ม เชื่อมโยงภาพหรือวิดีโอด้วย โครงสร้างของโค้ดเอชทีเอ็มแอลจะอยู่ในลักษณะภายในวงเล็บสามเหลี่ยม เอชทีเอ็มแอลเริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) สำหรับภาษา SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ขณะที่ HTML รุ่น 5 ยังคงยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา โดยได้มีการออกดราฟต์มาเสนอเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 HTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่างหนึ่ง สำหรั.html และ สำหรั.htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติการที่รองรับ รูปแบบนามสกุล 3 ตัวอักษร.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและเอชทีเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์เอชทีเอ็มแอล

อกซ์เอชทีเอ็มแอล (XHTML: Extensible Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติขยายได้) เป็นภาษามาร์กอัปที่มีลักษณะการใช้งานเหมือน HTML แต่จะมีความเข้มงวดในเรื่องโครงสร้างภาษา โดยมีวากยสัมพันธ์สอดคล้องกับ XML เนื่องจาก HTML นั้นใช้โครงสร้างของ SGML ที่ค่อนข้างยืดหยุ่น ในขณะที่ XHTML นั้นพัฒนาจาก XML ซึ่งเป็นภาษาที่คล้ายกับ SGML แต่เข้มงวดมากกว่า เราสามารถมองว่า XHTML เป็นการแปลง HTML เดิมให้มาอยู่ในโครงสร้างของ XML ก็ได้ XHTML 1.0 ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ World Wide Web Consortium (W3C) ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2543 และกลายมาเป็น W3C recommendation เมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 อย่างไรก็ตาม XHTML 2.0 จะหยุดภายในสิ้นปี 2552 โดยหวังจะพัฒนา HTML 5 แทนที.

ใหม่!!: ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลและเอกซ์เอชทีเอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

HTML elementรายชื่อ HTML element

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »