โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สายโซคอลนีเชสกายา

ดัชนี สายโซคอลนีเชสกายา

ซคอลนีเชสกายา (Соко́льническая ли́ния) (สาย 1) เป็นเส้นทางของรถไฟใต้ดินมอสโก เปิดให้บริการในปี..

11 ความสัมพันธ์: มอสโกระบบขนส่งมวลชนเร็วรางที่สามรถไฟใต้ดินมอสโกสายฟีลิออฟสกายาสายอาร์บัตสโค-โปครอฟสกายาสายคอลเซวายาสายคาลุชสโค-ริชสกายาสายคาลีนินสกายาสายตากันสโค-ครัสโนเปรสเนนสกายาสายซามอสคโวเรตสกายา

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและรางที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินมอสโก

รถไฟใต้ดินมอสโก (p) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินขนาดใหญ่ที่ให้บริการในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1935 พร้อมกับ 1 เส้นทาง ระยะทาง 13 สถานีเริ่มแรก เป็นประเทศแรกในกลุ่มอดีตประเทศของสหภาพโซเวียตที่มีรถไฟใต้ดิน ปัจจุบันมีจำนวน 188 สถานี ระยะทาง 313.1 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและรถไฟใต้ดินมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

สายฟีลิออฟสกายา

ฟีลิออฟสกายา (Филёвская ли́ния) หรือ สาย 4 เป็นเส้นทางของรถไฟใต้ดินมอสโก ในกรุงมอสโก เปิดให้บริการเป็นลำดับที่ 6 มีจำนวนสถานี 13 สถานี ระยะทาง 14.7 กิโลเมตร ส่วนใหญ่เป็นทางระดับดินและใต้ดิน.

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายฟีลิออฟสกายา · ดูเพิ่มเติม »

สายอาร์บัตสโค-โปครอฟสกายา

อาร์บัตสโค-โปครอฟสกายา (Арба́тско-Покро́вская ли́ния) (สาย 3) เป็นหนึ่งในเส้นทางของรถไฟใต้ดินมอสโก กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย มีจำนวน 22 สถานี ระยะทาง ทำให้เป็นเส้นทางที่ยาวที่สุดในปัจจุบัน เส้นทางส่วนใหญ่เป็นทางใต้ดิน.

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายอาร์บัตสโค-โปครอฟสกายา · ดูเพิ่มเติม »

สายคอลเซวายา

อลเซวายา (Кольцева́я ли́ния, สายวงกลม), (สาย 5) เป็นเส้นทางของรถไฟใต้ดินมอสโก กรุงมอสโก ก่อสร้างตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายคอลเซวายา · ดูเพิ่มเติม »

สายคาลุชสโค-ริชสกายา

ลุชสโค-ริชสกายา เป็นเส้นทางหนึ่งของรถไฟใต้ดินมอสโก โดยครั้งแรกเปิดใช้งานแบบแยกเส้นทางเป็น 2 ส่วน และรวมเส้นทางในปี..

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายคาลุชสโค-ริชสกายา · ดูเพิ่มเติม »

สายคาลีนินสกายา

ลีนินสกายา (Кали́нинская ли́ния) (สาย 8) เป็นเส้นทางของรถไฟใต้ดินมอสโก กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นเพียงเส้นทางเดียวในระบบที่ถูกแบ่งเป็นสองส่วน มิได้เชื่อมต่อกัน แต่ในอนาคตมีโครงการที่จะเชื่อม 2 ส่วนเข้าด้วยกัน.

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายคาลีนินสกายา · ดูเพิ่มเติม »

สายตากันสโค-ครัสโนเปรสเนนสกายา

ตากันสโค-ครัสโนเปรสเนนสกายา (สาย 7) เป็นเส้นทางของรถไฟใต้ดินมอสโก กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นเส้นทางที่มีผู้โดยสารมากที่สุด ก่อสร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายตากันสโค-ครัสโนเปรสเนนสกายา · ดูเพิ่มเติม »

สายซามอสคโวเรตสกายา

ซามอสคโวเรตสกายา (Замоскворе́цкая ли́ния), ชื่อเดิม Gorkovsko-Zamoskvoretskaya (Го́рьковско-Замоскворе́цкая) (สาย 2) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินมอสโกสายที่ 2 เปิดใช้งานในปี..

ใหม่!!: สายโซคอลนีเชสกายาและสายซามอสคโวเรตสกายา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »