โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

ดัชนี สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2506พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539มหาวิทยาลัยลอนดอนมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโทสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีมาโมฮาโตแห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซประเทศเลโซโทนิติศาสตร์เกษตรกรรมเจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโทเจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซเทนนิส17 กรกฎาคม

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลอนดอน

ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองในสหราชอาณาจักร ดำเนินงานส่วนใหญ่อยู่ในลอนดอน มีนักศึกษาในวิทยาเขต 135,090 คน และมากกว่า 40,000 ในโครงการ University of London External Programme มหาวิทยาลัยก่อตั้งใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและมหาวิทยาลัยลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโท

ราชอาณาจักรเลโซโทเป็นหนึ่งในสามของประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (อีก 2 ประเทศ คือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก และราชอาณาจักรสวาซิแลนด์) เดิมประเทศเลโซโทมีชื่อว่า บาซูทู (Basutho) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..1818 โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 1 เป็นผู้ปกครอง ต่อมา ชนเผ่าซูลู และคนผิวขาวเข้าไปตั้งหลักแหล่งในประเทศ และถูกแอฟริกาใต้รุกราน ประเทศบาซูทูขอรับความคุ้มครองจากรัฐบาลสหราชอาณาจักร และมีฐานะเป็นรัฐในปกครองของสหราชอาณาจักร (British protectorate of Basutholand) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและรายพระนามพระมหากษัตริย์เลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท (King Moshoeshoe II of Lesotho) (2 พฤษภาคม 1938 - 15 มกราคม 1996) หรือพระนามเดิม คอนแสตนติน เบเรง ซีอีโซ (Constantine Bereng Seeiso) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเลโซโทตั้งแต่ปี 1966 จนกระทั่งพระองค์ถูกเนรเทศในปี 1990 และกลับมาครองราชย์ครั้งที่สองในปี 1995 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1996 ในรัชกาลของสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 นั้น พระองค์ค่อนข้างมีอำนาจทางการเมืองที่จำกัด ในช่วงที่เลอาบัว โจนาธานเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศเลโซโท ประเทศถูกควบคุมจากรัฐบาล ในปี 1970 พระองค์ถูกปลดจากราชบัลลังก์ แต่ยังทรงพระอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์ เพื่อที่จะฟื้นฟูอำนาจของพระองค์หลังจากที่พรรคของพระองค์แพ้การเลือกตั้ง พระองค์จึเสด็จลี้ภัยไปยังเนเธอร์แลนด์ โจนาธานถูกปลดในปี 1986 พระมหากษัตริย์ได้รับอำนาจคืนมาบ้าง แต่พระองค์ถูกปลดจากพระอิสริยยศในปี 1990 ในขณะที่โอรสของพระองค์เจ้าชายเดวิด โมฮาโต เบเร ซีอีโซถูกบีบบังคับให้เป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ทรงลี้ภัยไปที่สหราชอาณาจักร ต่อมาพระองค์สามารถกลับมาครองราชย์ได้อีกในปี 1995 แต่ปีต่อมาพระองค์ก็ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์และเสด็จสวรรคต, by Donald G. McNeil Jr in The New York Times, 16 January 1996 (accessed 3 November 2007) เจ้าชายเดวิด โมฮาโต เบเร ซีอีโซพระโอรสของพระองค์จึงครองราชย์ต่อทรงพระนามว่า "สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมาโมฮาโตแห่งเลโซโท

มเด็จพระราชินีมาโมฮาโต เบเรง ซีอีโซ (Queen 'Mamohato Bereng Seeiso) หรือ สมเด็จพระราชินีมาโมฮาโตแห่งเลโซโท (Queen Mamohato of Lesotho) (28 เมษายน 1941 – 6 กันยายน 2003) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงทาบิตา มาเซนเทิล ลีโรโทลี โมเจลา (Princess Tabita 'Masentle Lerotholi Mojela) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเลโซโท พระองค์เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งเลโซโทถึง 3 วาระด้วยกัน ครั้งแรก 5 มิถุนายน ค.ศ. 1970 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1970 ครั้งที่ 2 10 มีนาคม ค.ศ. 1990 - 12 ธันวาคม ค.ศ. 1990 ครั้งที่ 3 15 มกราคม ค.ศ. 1996 - 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 สมเด็จพระราชินีมาโมฮาโต ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท ทรงมีพระราชโอรสด้วยกัน 2 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและสมเด็จพระราชินีมาโมฮาโตแห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ

มเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ (Queen 'Masenate Mohato Seeiso) เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3แห่งเลโซโท และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งประเทศเลโซโท.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและสมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลโซโท

ลโซโท (โซโทและLesotho) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: Mmušo wa Lesotho; Kingdom of Lesotho) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและประเทศเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและนิติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท

้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท (His Royal Highness Prince Seeiso of Lesotho).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและเจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ

้าชายเลโรโทรี เซเอโซ เป็นพระราชบุตรพระองค์สุดท้องและพระราชโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท กับสมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ พระองค์มีพระเชษฐภคินี 2พระองค์ แต่ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ประเทศเลโซโท เจ้าชายยังได้เปรียบในการสืบราชสันตติวงศ์ก่อนเจ้าหญิง พระองค์จึงเป็น รัชทายาทแห่งเลโซโท ตั้งแต่แรกพระราชสม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและเจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ · ดูเพิ่มเติม »

เทนนิส

การแข่งขันยูเอสโอเพน เทนนิส (tennis) เป็นกีฬาที่เล่นในร่มหรือกลางแจ้ง แบ่งเป็น 2 ฝ่ายแข่งกัน โดยมีผู้เล่นในประเภทเดี่ยวฝ่ายละ 1 คน และผู้เล่นในประเภทคู่ฝ่ายละ 2 คน ใช้ไม้เทนนิสตีส่งลูกไปมาเหนือตาข่ายภายในเขตที่กำหนด โดยพยายามตีลูกให้ลงในแดนคู่แข่ง จนคู่แข่งไม่สามารถตีลูกกลับมาลงในแดนของเราได้ เทนนิสเป็นเกมกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งใช้ไม้แร็กเก็ต ถือกำเนิดในยุโรปช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ช่วงแรกๆนั้นเทนนิสได้แพร่ขยายไปยังกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นสูง แท้จริงแล้วเทนนิสเป็นกีฬาสากลและเป็นเกมที่เล่นกันเกือบทุกประเทศทั่วโลก ตั้งแต่ปี..1926 ซึ่งมีการจัดทัวร์นาเมนต์ครั้งแรก เทนนิสจึงได้กลายเป็นกีฬาอาชีพ เทนนิสได้ถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิก ณ โซล ปี..1988.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและเทนนิส · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทและ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »